442 ผลลัพธ์ สำหรับ *ยึด*
ภาษา
หรือค้นหา: ยึด, -ยึด-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ยึดพื้น | (n) press-up, See also: S. push-up |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ยึด | (v) fix, See also: stick, secure, attach, fasten, Syn. เหนี่ยว, รั้ง, Ant. ปล่อย, Example: มีตะปูยึดแผ่นไม้ไว้ 2 ตัว, Thai Definition: ถือเอาไว้, ทำให้ไม่เคลื่อน |
ยึด | (v) confiscate, See also: seize, expropriate, sequester, sequestrate, impound, Example: รถของเขาถูกยึดเพราะหาเงินมาผ่อนไม่ทัน, Thai Definition: ถือสิทธิครอบครองเพราะอีกฝ่ายหนึ่งผิดสัญญา |
ยึดติด | (v) adhere to, See also: stick to, cleave, cling to, Ant. ปล่อยวาง, Example: การตั้งคำถามต่อสาธารณะเช่นนี้ ชี้ให้เห็นว่าเขากำลังยึดติดกับอดีต, Thai Definition: ติดอยู่กับสิ่งนั้นๆ ตลอด |
ยึดถือ | (v) hold, See also: cling to, seize, adhere to, stick, Syn. นับถือ, ยึดมั่น, Ant. ปล่อยวาง, Example: เมื่อเราเลือกทำอะไร จะต้องอาศัยคุณค่าที่ตนยึดถือเป็นเครื่องกำหนดทั้งสิ้น |
ยึดครอง | (v) occupy, See also: acquire, take possession of forcefully, hold, possess, Syn. ครอบครอง, ยึดกุม, ครอง, กุม, ถือครอง, Example: ในคริสต์ศตวรรษที่7 ดัตช์เข้ายึดครองปัตตาเวียอาณาจักรโบราณของอินโดนีเซีย, Thai Definition: เข้าถือสิทธิครอบครอง |
ยึดมั่น | (v) hold fast to, See also: persist in, adhere to, cling to, stick to, insist on, Syn. ถือมั่น, Example: เขายึดมั่นในทิฐิมานะของตนมากไม่ยอมฟังผู้อื่นเลย |
ยึดหลัก | (v) hold to one's principles, See also: one's principles, stick to, Example: เราเคารพในความคิดเห็นของท่าน และยึดหลักของการไม่เบียดเบียน, Thai Definition: ถือเป็นหลัก |
ยึดหลัก | (v) hold to one's principles, See also: one's principles, stick to, Example: เราเคารพในความคิดเห็นของท่าน และยึดหลักของการไม่เบียดเบียน, Thai Definition: ถือเป็นหลัก |
หลักยึด | (n) pillar (of a nation), See also: basic principle, Syn. เครื่องยึดเหนี่ยว, Example: สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันการเมืองที่มั่นคงที่สุด และเป็นหลักยึดไม่ให้สังคมไทยตกอยู่ในสภาพอนาธิปไตย ในกรณีที่มีวิกฤตการณ์ทางการเมือง |
เอ็นยึด | (n) ligament, Example: ปรอทแก้วตาที่อยู่หลังม่านตา มีรูปร่างเป็นเลนส์นูน ตรงบริเวณศูนย์สูตรมีรูปเรียว และมีเอ็นยึดกับส่วนซิเลียรีโพรเซส |
ยึดอำนาจ | (v) seize the power, Example: จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ยึดอำนาจอีกครั้งหนึ่ง ในวันที่ 20 ตุลาคม 2501, Thai Definition: ใช้กำลังและยุทธวิธีถือเอาอำนาจ |
ยึดทรัพย์ | (v) seize property, See also: seize assets, Syn. ยึดทรัพย์สิน, Ant. ไถ่ถอนทรัพย์, Example: คณะกรรมการตรวจสอบทรัพย์สินสามารถยึดทรัพย์นักการเมืองได้เพียงรายหรือสองราย, Thai Definition: ยึดทรัพย์สินของจำเลยเพื่อนำมาขายทอดตลาดใช้หนี้ตามคำพิพากษา |
การยึดมั่น | (n) clinging (to), See also: adherence, putting one's faith, having faith in, adhesion, Syn. ความยึดมั่น, การตั้งมั่น, ความถือมั่น, Example: การยึดมั่นในพุทธศาสนาของคนไทยส่งผลให้คนไทยรู้จักเรื่องบาปบุญคุณโทษ |
ยึดเหนี่ยว | (v) trust (in), See also: count on, repose one's trust in, Example: ลูกนั้นเปรียบเสมือนกับตัวกลางที่จะประสาน และยึดเหนี่ยวความเป็นครอบครัว และสายสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น |
ยึดเหนี่ยว | (v) trust (in), See also: count on, repose one's trust in, Example: ลูกนั้นเปรียบเสมือนกับตัวกลางที่จะประสาน และยึดเหนี่ยวความเป็นครอบครัว และสายสัมพันธ์ของสมาชิกในครอบครัวให้แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น |
การยึดอำนาจ | (n) seizing power, See also: taking over power, Example: การยึดอำนาจของผู้ก่อการร้ายสร้างความเดือดร้อนกับประชาชนทั่วไปเป็นอย่างมาก |
เข้ายึดครอง | (v) seize, See also: capture, Syn. ยึดครอง, Ant. ปลดปล่อย, Example: รัสเซียส่งทหารเข้ายึดครองฮังการีในปีค.ศ.1956, Thai Definition: เข้าถือสิทธิครอบครอง |
สิ่งยึดเหนี่ยว | (n) restraint, Syn. เครื่องยึดเหนี่ยว |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ยึด | ก. จับไว้ให้แน่น เช่น ยึดราวบันไดไว้ให้ดี, ถือเอาไว้ เช่น ยึดธรรมะเป็นที่พึ่ง, เหนี่ยว, รั้ง, เช่น เพื่อนยึดตัวไว้ เลยมาไม่ทัน |
ยึด | เข้าครอบครอง เช่น ยึดพื้นที่, ใช้อำนาจกฎหมายริบเอาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมา เช่น ยึดใบขับขี่ ยึดทรัพย์. |
ยึดครอง | ก. เข้าถือสิทธิครอบครอง. |
ยึดถือ | ก. จับถือ, เอามารักษา, นับถือ เช่น ยึดถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึ่ง. |
ยึดทรัพย์ | ก. การที่เจ้าพนักงานเอาทรัพย์สินไปจากการครอบครองของบุคคล เพราะเหตุที่กระทำการฝ่าฝืนกฎหมายหรือเพื่อบังคับคดี. |
ยึดมั่น | ก. ยึดถืออย่างมั่นคง ไม่เปลี่ยนแปลงง่าย ๆ เช่น ยึดมั่นในหลักการ ยึดมั่นในตัวบุคคล. |
ยึดหัวหาด | ก. ยึดชายฝั่งทะเลซึ่งอยู่ในความครอบครองของข้าศึกเพื่อสะดวกในการยกพลขึ้นบก, โดยปริยายหมายถึงยึดจุดสำคัญหรือบุคคลสำคัญเป็นต้นเพื่อที่จะทำให้แผนการขั้นต่อไปประสบความสำเร็จ เช่น ต้องยึดหัวหาดในพรรคให้ได้ก่อน. |
ยึดเหนี่ยว | ก. อาศัยเป็นที่พึ่ง. |
ยึดอำนาจ | ก. ใช้กำลังเข้าแย่งอำนาจในการบริหารบ้านเมือง, โดยปริยายใช้ในความคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ตอนนี้ลูกยึดอำนาจในบ้านหมดแล้ว. |
สิทธิยึดหน่วง | น. สิทธิที่ผู้ครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่น และมีหนี้อันเป็นคุณประโยชน์แก่ตนเกี่ยวด้วยทรัพย์สินซึ่งครองนั้น ในอันที่จะยึดทรัพย์สินนั้นไว้จนกว่าจะได้รับชำระหนี้. |
เส้นยึด | น. อาการที่เส้นตึงหรือแข็งยึดทำให้เคลื่อนไหวไม่สะดวก. |
กงฉาก | น. เครื่องมือทางช่างชนิดหนึ่ง สำหรับหามฉากในการปักผังหรือกำหนดผังเสา โดยใช้ไม้แบนที่มีความยาวพอสมควรมาประกอบให้เป็นมุม ๙๐ องศา แล้วยึดปลายทั้ง ๒ ข้างด้วยไม้อีกชิ้นหนึ่ง. |
กบฏ | เป็นฐานความผิดอาญา ที่เกี่ยวกับการล้มล้างรัฐธรรมนูญ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ และการแบ่งแยกราชอาณาจักรหรือยึดอำนาจปกครอง. |
กระไดลิง ๑ | น. บันไดเชือกที่ยึดเฉพาะส่วนบนไว้ เมื่อจะใช้จึงปล่อยลงมา ใช้ไต่ขึ้นลง, บันไดลิง ก็ว่า. |
กระทง ๑ | ไม้กระดานที่ยึดกราบเรือหรือพาดแคมเรือทั้ง ๒ ข้างเป็นตอน ๆ (เทียบ ม. กุดง) |
กระทงเพชร | น. ไม้ติดขวางรองแคร่เกวียนเพื่อยึดไม่ให้แคร่แยกออกไป. |
กระเบื้องกาบกล้วย | น. กระเบื้องมุงหลังคาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นกระเบื้อง ๒ แผ่นวางคร่อมกัน แผ่นคว่ำมีรูปร่างเหมือนกาบกล้วย ข้างใต้ตอนบนมีงวงหรือขอสำหรับยึดกับระแนง ส่วนแผ่นหงายที่อยู่ข้างล่างนั้นเป็นแผ่นแบนงอริมขึ้นทั้ง ๒ ข้าง มีขออยู่ตอนบนเพื่อเกี่ยวกับระแนง ปัจจุบันนิยมทำให้กระเบื้องแผ่นคว่ำและแผ่นหงายติดเป็นแผ่นเดียวกันเพื่อให้มีความคงทนมากขึ้น, กาบู ก็เรียก. |
กระโปก ๒ | น. เครื่องเกวียนสำหรับยึดเพลา ติดอยู่กับตัวทูบ. |
กอดเก้าอี้ | ก. ยึดตำแหน่ง, ไม่ยอมละตำแหน่ง, เช่น ไม่ว่างานของเขาจะล้มเหลวและก่อให้เกิดความเสียหายเพียงใด เขาก็กอดเก้าอี้แน่น ไม่ยอมลาออก. |
กะ ๓ | น. ส่วนของสมอแบบหนึ่ง ลักษณะคล้ายแขนยื่นออกไป ๒ ข้าง สำหรับช่วยยึดเกาะติดพื้นท้องน้ำ. |
กะ ๔ | น. ชื่อเงื่อนชนิดหนึ่ง ใช้สำหรับผูกเรือเพื่อคล้องกับที่ยึดหรือเสายึดเรือ เป็นเงื่อนที่แน่นแต่แก้ออกง่าย, ถ้าผูกเงื่อนชนิดทำห่วงไว้ก่อน เรียกว่า กะห่วง. |
กะพง ๒ | น. ชื่อหอยทะเลกาบคู่ชนิด Musculista senhousia (Benson) ในวงศ์ Mytilidae เปลือกบางรูปยาวรี สีเขียวหรือเขียวอมเหลือง มีลายเป็นเส้นสีนํ้าตาล อาศัยอยู่ตามพื้นท้องทะเลที่เป็นเลนปนทราย โดยยึดติดกันเองเป็นกระจุกหรือแผ่เป็นแผ่นใหญ่. |
กัก | ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป, เช่น กักรถ กักนํ้า กักไพ่. |
กักตัว | ก. ยึดไว้, ไม่ปล่อยไป. |
กันได | น. หลักฐานที่ยึดถือ เช่น กรมธรรม์กันได (กฎหมาย เล่ม ๒). |
กาบู | น. กระเบื้องมุงหลังคาชนิดหนึ่ง มีลักษณะเป็นกระเบื้อง ๒ แผ่นวางคร่อมกัน แผ่นคว่ำมีรูปร่างเหมือนกาบกล้วย ข้างใต้ตอนบนมีงวงหรือขอสำหรับยึดกับระแนง ส่วนแผ่นหงายที่อยู่ข้างล่างนั้นเป็นแผ่นแบนงอริมขึ้นทั้ง ๒ ข้าง มีขออยู่ตอนบนเพื่อเกี่ยวกับระแนง ปัจจุบันนิยมทำให้กระเบื้องแผ่นคว่ำและแผ่นหงายติดเป็นแผ่นเดียวกันเพื่อให้มีความคงทนมากขึ้น, กระเบื้องกาบกล้วย ก็เรียก. |
กุญแจ ๑ | น. เครื่องสำหรับใส่ประตูหน้าต่างเป็นต้น เพื่อยึดหรือสลักไม่ให้เปิดเข้าออกได้ เวลากดหรือไขออกมีเสียงลั่นดังกริ๊ก มีลูกไข เรียกว่า ลูกกุญแจ, ประแจ ก็เรียก. |
เกา | ก. เอาเล็บหรือสิ่งที่มีลักษณะคล้ายเล็บครูดผิวหนังเพื่อให้หายคันเป็นต้น, อาการที่สมอเรือครูดไปตามพื้นท้องน้ำ ไม่ยึดอยู่กับที่. |
เกาะ ๒ | ก. จับหรือยึดสิ่งใดไว้เพื่อทรงอยู่ เช่น นกเกาะกิ่งไม้ แมงมุมเกาะฝา, เอาสิ่งมีขอเป็นต้นเกี่ยวเข้ากับสิ่งอื่นเพื่อให้ติดอยู่ เช่น เอาขอเกาะต้นไม้, โดยปริยายหมายความถึงอาการที่เข้าไปติดแน่นอยู่ เช่น ปลิงเกาะ หรือเข้าเป็นหมู่หรือกลุ่มเดียวกัน เช่น ดินเกาะเป็นก้อน บินเกาะหมู่ วิ่งเกาะกลุ่ม |
แกน | น. วัตถุแข็งที่อยู่ตรงกลางของสิ่งอื่นสำหรับยึดให้อยู่, วัตถุแข็งที่มีสิ่งอื่นหุ้ม. |
แก่นสาร | น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร, หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร. |
ขยาย | (ขะหฺยาย) น. การนำทำนองเพลงของเดิมมาขยายขึ้น ๑ เท่าตัวโดยยึด (เพิ่ม) ลูกตกเดิมเป็นหลัก เช่น อัตรา ๒ ชั้น ขยายขึ้นเป็นอัตรา ๓ ชั้น. |
ของกลาง | สิ่งของที่เจ้าพนักงานได้ยึดหรืออายัดไว้เพื่อใช้เป็นพยานหลักฐานในคดีอาญา. |
ข้างควาย | น. เรียกไม้ขนาบใกล้สันหลังคา ๒ ข้างจากหลบ มีไม้เสียบหนูยึดกลัดให้แน่น ว่า ไม้ข้างควาย. |
ขื่อ | น. ชื่อไม้เครื่องบนสำหรับยึดหัวเสาด้านขวาง |
เข้าปากไม้ | ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นมาบากหรือเจาะตรงปลายแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ใช้ลูกสลักไม้หรือปลิงเหล็กยึดปลายนั้นให้แน่น. |
เข้าไม้ ๑ | ก. นำไม้ตั้งแต่ ๒ ชิ้นขึ้นไปมาบากรับแล้วประกอบเข้าด้วยกัน ยึดไม้นั้นให้แน่นอยู่ในรูปแบบที่ต้องการด้วยการตอกตะปูหรือตอกอัดด้วยลูกสลักไม้ การต่อหรือประกอบอาจทำได้หลายวิธี. |
เขี้ยวตะขาบ | น. เหล็กปลายแหลม ๒ ข้าง รูปคล้ายตัว U หรือเขี้ยวของตะขาบ สำหรับตอกเพลาะกระดานยึดให้แน่นสนิท, ตะปลิง ตัวปลิง หรือ ปลิง ก็เรียก |
แขวน ๒ | (แขฺวน) น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, ค้างคาว หรือ โตงเตง ก็เรียก. |
ครรหิต | (คันหิด) ว. ถูกจับไว้, ถูกยึดไว้, ซึ่งถือไว้, เช่น ก็บ่มิครรหิตให้แล้ (ม. คำหลวง กุมาร). |
ครอบครอง | ก. ยึดถือไว้, มีสิทธิปกครอง |
ครอบครอง | ยึดถือทรัพย์สินไว้โดยเจตนาจะยึดถือเพื่อตน อันทำให้บุคคลได้มาซึ่งสิทธิครอบครอง ทั้งนี้จะยึดถือไว้เองหรือบุคคลอื่นยึดถือไว้ให้ก็ได้. |
คร่าว | (คฺร่าว) น. โครงสร้างซึ่งทำขึ้นด้วยวัสดุอย่างใดอย่างหนึ่งเช่นไม้ โลหะ เพื่อใช้ในการยึดแผ่นวัสดุที่ทำเป็นฝา รั้ว หรือฝ้าเพดาน ส่วนใหญ่จะยึดกับโครงสร้างที่สำคัญมีเสาคาน เป็นต้น คร่าวตีได้ทั้งในแนวตั้ง แนวนอน หรือเป็นตาราง. |
คว้าง | (คฺว้าง) ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว เช่น ลอยคว้าง หมุนคว้าง |
คว้างเคว้ง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. |
คันบวย | น. ตัวไม้ยึดช่อฟ้าต่อกับสันอกไก่. |
ค่านิยม | น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง. |
ค้างคาว ๔ | น. ตัวไม้โครงหลังคา เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวระหว่างเต้ากับจันทันระเบียง, แขวน หรือ โตงเตง ก็เรียก. |
คาน | น. เครื่องเรือนที่ยึดเสาและรองตง ทำด้วยไม้เป็นต้น, ไม้ทำอย่างรอดสำหรับรองรับของหนัก เช่น คานเรือ |
เคเบิล | น. เส้นลวดโลหะขนาดใหญ่ แข็งและเหนียว ใช้ผูกยึดของขนาดใหญ่ เช่นเรือ สะพานแขวน |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
periodontal; peridental | ๑. -ปริทันต์ [ มีความหมายเหมือนกับ paradental ๒ ]๒. -เอ็นยึดปริทันต์, -อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
politics, partisan; partisan politics | การเมืองแบบยึดแนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericarditis, adhesive | ถุงหุ้มหัวใจอักเสบยึดติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periodontal ligament | เอ็นยึดปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
periodontal ligament space | ช่องเอ็นยึดปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
partisan politics; politics, partisan | การเมืองแบบยึดแนวทางพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pupil, secluded | รูม่านตายึดติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
putsch | การพยายามยึดอำนาจปกครองรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
principle democrat | ผู้ยึดมั่นหลักการประชาธิปไตย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peridental; periodontal | ๑. -ปริทันต์ [ มีความหมายเหมือนกับ paradental ๒ ]๒. -เอ็นยึดปริทันต์, -อวัยวะปริทันต์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
palatal strap | แถบยึดด้านเพดาน(ปาก) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
phorocyte | เซลล์เนื้อเยื่อยึดเสริม, เซลล์เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เซลล์เนื้อเยื่อยึดต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phoroplast; tissue, connective | เนื้อเยื่อยึดเสริม, เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน, เนื้อเยื่อยึดต่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
possessory lien | การครอบครองโดยอาศัยสิทธิยึดหน่วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pleurisy, adhesive | เยื่อหุ้มปอดอักเสบยึดติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
party faithful | ผู้ยึดมั่นในพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
priority of liens | สิทธิยึดหน่วงลำดับก่อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
particular lien | สิทธิยึดหน่วงเฉพาะ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
precision attachment | สลักยึด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
precision rest | ส่วนพักสลักยึด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peritonitis, adhesive | เยื่อบุช่องท้องอักเสบยึดติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plaster, adhesive | ยาแผ่นปิดเหนียว, ผ้ายางยึด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
process democrat | ผู้ยึดมั่นกระบวนการประชาธิปไตย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prevailing-torque fasteners | ตัวยึดกันคลาย [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ligament | เอ็นยึด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ligament, periodontal | เอ็นยึดปริทันต์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
levy compulsory execution | การบังคับยึดทรัพย์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lingual bar | แท่งยึดด้านลิ้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lamina propria | เนื้อเยื่อยึดต่อใต้เยื่อบุผิว [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lateral ligament of temporomandibular articulation | เอ็นยึดด้านข้างข้อต่อขากรรไกร [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
locked occlusion | การสบ(ฟัน)ยึด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lien | สิทธิยึดหน่วง [ ดู right of retention ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lien, tax | สิทธิยึดหน่วงทางภาษี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lock | ปิดกั้น, ปิดตาย, ยึด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
lock | ปิดกั้น, ปิดตาย, ยึด [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lien | สิทธิยึดหน่วง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lien | การยึดหน่วง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
labial frenum | เนื้อยึดริมฝีปาก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lingual frenum; frenulum of the tongue | เนื้อยึดลิ้น [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restraint | การกัก, การยึดยั้ง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
resseiser | การยึดที่ดินกลับเป็นของรัฐ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retainer | ๑. ผู้มีสิทธิยึดหน่วง๒. การจ้างทนายความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retainer | ส่วนยึด [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reattachment | การยึดติดใหม่ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retain | ๑. ยึดถือไว้, ยึดหน่วง๒. จ้าง (ทนายความ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
radius arm; radius rod | แขนยึด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
radius rod; radius arm | แขนยึด [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of retention | สิทธิยึดหน่วง [ ดู lien ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retention | ๑. การจัดเข้าที่๒. การกักคั่ง๓. การยึดตรึง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recapture | การยึดคืน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
End paper | ใบยึดปก [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Dental bonding | การยึดติดทางทันตกรรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Adhesive | สารยึดติด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Cement | การอัดซีเมนต์เข้าไปในหลุมเจาะเพื่อยึดท่อกรุ , การอัดซีเมนต์เข้าไปในหลุมเจาะเพื่อยึดท่อกรุ (Casing) ให้ติดกับผนังหลุมเจาะและเพื่อป้องกันการรั่วซึมระหว่างชั้นหินที่ถูกเจาะผ่าน [ปิโตรเลี่ยม] |
Floater | แท่นเจาะในทะเลแบบลอยน้ำ ไม่มีขายึดติดกับท้องทะเล, แท่นเจาะในทะเลแบบลอยน้ำ ไม่มีขายึดติดกับท้องทะเล (ดูคำ Semi-submersible และ Drill ship) [ปิโตรเลี่ยม] |
Binding energy | พลังงานยึดเหนี่ยว, พลังงานยึดเหนี่ยวของโปรตอนและนิวตรอนในนิวเคลียส มีค่าเท่ากับพลังงานที่น้อยที่สุดสำหรับการแยกนิวเคลียสออกเป็นโปรตอนและนิวตรอน นอกจากนี้ยังหมายถึง พลังงานยึดเหนี่ยวของอิเล็กตรอนด้วย ซึ่งมีค่าเท่ากับพลังงานที่ต้องใช้เพื่อแยกอิเล็กตรอนออกมาจากอะตอมหรือโมเลกุล [นิวเคลียร์] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Decay, radioactive | การสลาย(กัมมันตรังสี), การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Disintegration, radioactive | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิวไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Electron Capture | การจับยึดอิเล็กตรอน, การสลายกัมมันตรังสีแบบหนึ่งของนิวไคลด์ โดยอิเล็กตรอนจากวงโคจรในสุด 1 ตัว ถูกจับยึดและรวมเข้ากับนิวเคลียส เกิดเป็นนิวไคลด์ชนิดใหม่ที่มีเลขมวลคงเดิม แต่มีเลขเชิงอะตอมลดลง 1 (ดู K-capture ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Radioactive decay | การสลายกัมมันตรังสี, การแปลงนิวเคลียสที่เกิดขึ้นเองของนิวไคลด์กัมมันตรังสีหนึ่งให้เป็นนิ วไคลด์อีกชนิดหนึ่ง หรือชนิดเดิมที่มีสถานะพลังงานต่างกัน กระบวนการนี้ทำให้จำนวนอะตอมกัมมันตรังสีของสารตั้งต้นลดลงตามเวลาที่ผ่านไป โดยมีการปล่อยอนุภาคแอลฟา หรืออนุภาคบีตา และหรือรังสีแกมมาออกมา หรือมีการจับยึดแบบนิวเคลียร์ (nuclear capture) หรือการสลัดอิเล็กตรอนออกจากวงโคจร หรือการแบ่งแยกนิวเคลียส คำนี้มีความหมายเหมือนกับ radioactive disintegration [นิวเคลียร์] |
Radiative capture | การจับยึดแบบปล่อยรังสี, กระบวนการจับยึดทางนิวเคลียร์โดยนิวเคลียสแล้วแผ่เฉพาะรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าออกมาทันที เช่น เมื่อนิวเคลียสจับยึดนิวตรอนแล้วปล่อยรังสีแกมมาออกมา [นิวเคลียร์] |
Nuclear reactions | ปฏิกิริยานิวเคลียร์, ปฏิกิริยาที่เกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอม เช่น ฟิชชัน ฟิวชัน การจับยึดนิวตรอน หรือ การสลายกัมมันตรังสี ซึ่งแตกต่างกับปฏิกิริยาเคมี ที่จำกัดอยู่เพียงการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของอิเล็กตรอนที่อยู่รอบๆ นิวเคลียส [นิวเคลียร์] |
Nuclear force | แรงนิวเคลียร์, แรงที่ยึดอนุภาคต่างๆ ภายในนิวเคลียสของอะตอมเข้าไว้ด้วยกัน [นิวเคลียร์] |
Neutron capture | การจับยึดนิวตรอน, กระบวนการที่นิวเคลียสของอะตอมดูดกลืนหรือจับยึดนิวตรอนเอาไว้ โอกาสที่วัสดุจะจับยึดนิวตรอนได้มากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพลังงานของนิวตรอนและธรรมชาติของวัสดุนั้น <br>(ดู cross section ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
K-capture | เค-แคปเชอร์, การที่นิวเคลียสจับยึดอิเล็กตรอนอนุภาคหนึ่งที่อยู่วงโคจรในสุด (K-shell) และเกิดการสลายกัมมันตรังสีขึ้น <br>(ดู electron capture ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Fertile material | วัสดุเฟอร์ไทล์, วัสดุซึ่งสามารถแปลงให้เป็นวัสดุฟิสไซล์ได้ โดยการก่อกัมมันตภาพรังสีด้วยนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ วัสดุเฟอร์ไทล์ ได้แก่ ยูเรเนียม-238 และทอเรียม-232 ซึ่งเมื่อจับยึดนิวตรอนแล้วจะเปลี่ยนเป็นวัสดุฟิสไซล์ คือ พลูโทเนียม-239 และยูเรเนียม-233 ตามลำดับ [นิวเคลียร์] |
Fission-product poisoning | ภาวะพอยซันจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส, การดูดกลืน หรือ การจับยึดนิวตรอนโดยผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้ปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ลดลง (ดู <strong>poison</strong> ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Adhesives | สารยึดติด [TU Subject Heading] |
Bone plates | แผ่นยึดกระดูก [TU Subject Heading] |
Bone screws | ตะปูเกลียวยึดกระดูก [TU Subject Heading] |
Brand loyalty | ความยึดมั่นต่อชื่อตราผลิตภัณฑ์ [TU Subject Heading] |
Capture, (date) | การยึด, (ปี) [TU Subject Heading] |
Cementation | การยึดติดด้วยซีเมนต์ [TU Subject Heading] |
Commitment (Psychology) | ความยึดมั่น (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Dental abutments | หลักยึดฟัน [TU Subject Heading] |
Dental bonding | การยึดติดทางทันตกรรม [TU Subject Heading] |
Embassy takeovers | การยึดสถานทูต [TU Subject Heading] |
Fasteners | เครื่องยึด [TU Subject Heading] |
Ligaments | เอ็นยึด [TU Subject Heading] |
Management by objectives | การบริหารโดยยึดวัตถุประสงค์ [TU Subject Heading] |
Mutiny | การยึดอำนาจ [TU Subject Heading] |
Orthodontic anchorage procedures | การทำหลักยึดทางทันตกรรมจัดฟัน [TU Subject Heading] |
Possessory liens | สิทธิยึดหน่วง [TU Subject Heading] |
Priorities of claims and liens | สิทธิยึดหน่วงลำดับก่อน [TU Subject Heading] |
Restraint, Physical | การยึดยั้งร่างกาย [TU Subject Heading] |
Searches and seizures | การค้นและการยึด [TU Subject Heading] |
Tendon injuries | เอ็นยึดบาดเจ็บ [TU Subject Heading] |
Cohesion | แรงยึดกัน, Example: แรงดึงดูดโมเลกุลระหว่างอนุภาคในสารใดๆ ซึ่งจะทำให้อนุภาคนั้น เกาะอยู่ด้วยกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Consistency | การยึดตัว, Example: สมบัติของดินซึ่งมีผลมาจากการเกาะยึดกันเอง (cohesion) และการเกาะยึดวัตถุอื่น (adhesion) ของอนุภาคดิน การยืดตัวของดินผันแปรได้ตามระดับความชื้น วัดได้ด้วยการตรวจสอบความง่ายของการแตกหัก (rupture) หรือเปลี่ยนรูป (deformation) ของก้อนดิน [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
confiscation and seizure | การยึดและริบทรัพย์สิน [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Government in Exile | รัฐบาลพลัดถิ่น คือระหว่างที่สงครามยังดำเนินอยู่ ประเทศคู่สงครามหนึ่งอาจถูกกองทัพของประเทศฝ่ายศัตรูเข้ายึดครอง ในสถานการณ์เช่นนั้น ตัวหัวหน้าของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีของประเทศที่ถูกยึดครองอำนาจอาจไปตั้ง รรัฐบาลขึ้นชั่วคราวในดินแดนของประเทศพันธมิตรหนึ่ง ซึ่งยินยอมให้ทำเช่นนั้น รัฐบาลที่ตั้งขึ้นเป็นการชั่วคราวดังกล่าวเรียกว่า รัฐบาลพลัดถิ่น ตราบใดที่รัฐบาลพลัดถิ่นได้รับการรับรองฐานะเป็นตัวแทนของประเทศตน ย่อมดำเนินกิจการหน้าที่ของประเทศในส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเทศอื่นๆ ได้ รัฐบาลพลัดถิ่นจะยังคงสถานภาพของตนไว้ตราบเท่าที่ยังไม่มีความพยายามต่อไป ที่จะยึดเอาดินแดนของตนที่ข้าศึกครองอยู่กลับคืนมาให้ได้ ตัวอย่างของรัฐบาลพลัดถิ่นที่เคยมีมาแล้วคือ รัฐบาลของประเทศโปแลนด์ เบลเยียม เนเธอร์แลนด์ กรีซ และยูโกสลาเวีย ซึ่งได้ไปตั้งอยู่ในประเทศอังกฤษ เมื่อระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง ตอนที่ดินแดนของประเทศเหล่านี้ได้ถูกกองทัพของเยอรมนีเข้ายึดครอง [การทูต] |
High Seas | ทะเลหลวง คือทุกส่วนของทะเลที่มิได้อยู่ในทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ของประเทศใด โดยที่ถือว่าทะเลหลวงเป็นทรัพย์สินร่วมกันของทุกชาติ รัฐจะยึดเอาไปทำประโยชน์ของตนเองฝ่ายเดียวไม่ได้ และจะถือว่าส่วนหนึ่งส่วนใดของทะเลหลวงอยู่ใต้อำนาจอธิปไตยของตนไม่ได้เช่นกัน [การทูต] |
Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] |
Jus Soli | คือหลักความเชื่อถือซึ่งหลายประเทศยึดถืออยู่ คือบุคคลชาติใดก็ตาม ถือกำเนิด ณ ที่ไหนก็ได้สัญชาติของที่นั้น คนสวีเดนที่เกิดในประเทศไทยจะถือว่าได้สัญชาติไทยไปในตัวผิดกับหลักความ เชื่อถืออีกอันหนึ่งเรียกว่า Jus Sanguinis ซึ่งให้ถือสัญชาติของบุคคลตามสัญชาติของบิดามารดาของบุคคลนั้น ไม่ถือตามสถานที่เกิด [การทูต] |
National Holiday | วันชาติ คือสถานเอกอัครราชทูตทีมีอยู่ทั่วโลก จะนิยมฉลองวันชาติของประเทศของตน ส่วนมากจะถือเอาวันครบรอบปีแห่งการประกาศเอกราช หรือวันครบรอบปีของเหตุการณ์ที่ทรงความสำคัญอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์ของ ประเทศตนเป็นวันชาติ ส่วนในประเทศที่มีระบอบกษัตริย์ ก็จะยึดเอาวันพระราชสมภพชองกษัตริย์หรือราชินีเป็นวันชาติของประเทศ ในวันชาติ สถานเอกอัครราชทูตจะมีธรรมเนียมจัดงานเลี้ยงรับรอง (Reception) ขึ้นในสถานเอกอัครราชทูตของตนหรือหากเป็นการไม่สะดวกที่จัดงานดังกล่าวขึ้น ในสถานทูต ก็มักไปจัดกัน ณ โรงแรมที่เหมาะสม ในงานเลี้ยงรับรองนี้จะเชิญข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ในกระทรวงการต่างประทเศ หัวหน้าคณะทูตข้าราชการในสถานเอกอัครราชทูตอื่น ๆ นักหนังสือพิมพ์ เจ้าหน้าที่สื่อมวลชน บุคคลชั้นนำด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม บรรดาคนชาติเดียวกับเอกอัครราชทูตที่กำลังอาศัยอยู่ในประเทศนั้น ตลอดจนบุคคลสำคัญในสังคม รวมทั้งมิตรสหายของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่สมควรเชิญ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บุกยึด | [buk yeut] (v, exp) FR: envahir ; occuper |
เอ็นยึด | [enyeut] (n) EN: ligament FR: ligament [ m ] |
การสึกหรอแบบยึดติด | [kān seukrø baēp yeuttit] (n, exp) EN: adhesion |
การถูกยึด | [kān thūk yeut] (n, exp) EN: forfeiture |
การยึด | [kān yeut] (n) EN: seizure ; confiscation FR: saisie [ f ] ; prise [ f ] |
การยึดอำนาจ | [kān yeut amnāt] (n, exp) EN: seizing power FR: prise de pouvoir [ f ] |
การยึดจำนอง | [kān yeut jamnøng] (n, exp) EN: foreclosure |
การยึดคืน | [kān yeut kheūn] (n, exp) EN: repossession |
การยึดครอง | [kān yeutkhrøng] (n) EN: occupation FR: occupation [ f ] |
การยึดครองทางทหาร | [kān yeutkhrøng thāng thahān] (n, exp) EN: military occupation FR: occupation militaire [ f ] |
การยึดมั่น | [kān yeutman] (n) EN: clinging (to) |
การยึดทรัพย์ | [kān yeut sap] (n, exp) EN: seizure |
คำสั่งยึด | [khamsang yeut] (n, exp) EN: requisition order |
เขตยึดครอง | [khēt yeutkhrøng] (n, exp) EN: occupied area |
พนักงานยึดทรัพย์ | [phanakngān yeutsap] (n, exp) EN: bailiff FR: huissier [ m ] |
ซึ่งยึดติด | [seung yeuttit] (adj) EN: adhesive FR: adhésif |
สิทธิยึดหน่วงทางภาษี | [sitthi yeut nūang] (n, exp) EN: retaining lien ; right of retention |
สิทธิยึดหน่วงทางภาษี | [sitthi yeut nūang thāng phāsī] (n, exp) EN: tax lien |
ยึด | [yeut] (v) EN: distrain (upon) ; hold ; hold back ; control ; seize ; grap ; capture ; confiscate ; keep ; retain ; expropriate ; sequester ; sequestrate ; impound FR: saisir ; s'emparer ; confisquer ; attraper |
ยึด | [yeut] (v) EN: fix ; stick ; secure ; attach ; fasten |
ยึดอำนาจ | [yeut amnāt] (v, exp) FR: prendre le pouvoir |
ยึดอำนาจรัฐ | [yeut amnāt rat] (v, exp) EN: wrest state power ; seize state power |
ยึดให้แน่น | [yeut hai naen] (v) EN: fasten |
ยึดของหนีภาษี | [yeut khøng nī phāsī] (v, exp) EN: seize smuggled goods |
ยึดครอง | [yeutkhrøng] (v) EN: occupy ; acquire ; take possession of forcefully ; hold ; possess FR: occuper un territoire |
ยึดมั่น | [yeutman] (v) EN: hold fast to |
ยึดแน่น | [yeutnaen] (v) FR: agripper |
ยึดเงิน | [yeut ngoen] (v, exp) EN: hold back a sum of money |
ยึดทรัพย์ | [yeutsap] (v, exp) EN: seize property ; seize assets FR: confisquer ; séquestrer ; saisir |
ยึดถือ | [yeuttheū] (v) EN: hold ; hold on ; cling to ; seize ; adhere to ; stick FR: détenir ; retenir |
ยึดถือ | [yeuttheū] (adj) EN: abiding |
ยึดติด | [yeuttit] (v) EN: adhere to ; stick to ; cleave; cling to FR: adhérer |
ยึดไว้ | [yeut wai] (v) EN: impound FR: retenir |
Longdo Approved EN-TH
stiffener | (n) แผ่นเสริมแรง, แผ่นเสริมกำลัง, ชิ้นส่วนช่วยยึด, See also: stiffened, stiff |
velcro | (n) ตีนตุ๊กแกที่ใช้ยึดผ้า, เทปหนามเตยซึ่งประกอบด้วยเทปด้านตะขอและเทปด้านเส้นใยคู่กัน |
bracket | (n) |โยธา| ฉาก, ฉากยึด, แป้นหูช้าง, แผ่นเหล็กหูช้าง, ที่เท้าแขน |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
adhere | (vi) ยึดมั่น, See also: ตั้งมั่น, มุ่งมั่น |
adherence | (n) การยึดมั่น, See also: การถือมั่น, Syn. attachment |
adherent | (adj) ซึ่งติดแน่น, See also: ยึด, Syn. attached |
adhesive | (adj) ซึ่งติดแน่น, See also: ยึด, Syn. clinging |
Anabaptist | (n) ผู้ยึดถือนิกายโปรเตสแตนต์ที่มีการล้างบาป |
anchor | (adj) ซึ่งยึดติด, See also: ซึ่งยึดติดอย่างมั่นคง |
anchor | (n) ที่ยึดเหนี่ยว, See also: เครื่องยึดเหนี่ยว, Syn. support, hold, fastener |
annex | (vt) ยึดครองบริเวณ, See also: ครอบครองอาณาเขต |
appropriate | (vt) นำเอามาใช้ส่วนตัว, See also: ยึดเอา, นำมาใช้ประโยชน์โดยมิชอบ, Syn. seize, take possession of |
attach | (vt) ทำให้ติดกัน, See also: ต่อ, ยึดติด, Syn. join, append |
attachment | (n) การผูกติด, See also: การเชื่อมต่อ, การยึดติด |
attachment | (n) อุปกรณ์ยึดติด, See also: อุปกรณ์ติดตั้ง, Syn. fastening |
adhere to | (phrv) ศรัทธาต่อ (ความคิด, ความเชื่อ, ความเห็น), See also: เชื่อมั่นต่อ ความเชื่อ, ความคิด, แผนงาน อย่างแน่วแน่, ยึด, ยึดตาม, ทำตาม, Syn. cleave to, cling onto, cling to, hold to, keep to, stick to, stay with, Ant. depart from, deviate from |
annex to | (phrv) เข้ายึดครอง, See also: ยึด |
attach to | (phrv) ติดกับ, See also: ยึดกับ, ติดตรงที่, Syn. affix to |
bailiff | (n) เจ้าพนักงานที่ยึดทรัพย์สิน (ของลูกหนี้) (ทางกฎหมาย), Syn. dispossessor, sheriff |
beachhead | (n) การใช้กำลังยึดชายหาด (ทางทหาร), See also: การยึดหัวหาด, Syn. bridgehead |
bezel | (n) หนามเตย, See also: หนามเตยที่ยึดเพชรพลอย, กระเปาะ, Syn. bevel |
brace | (vt) รัด, See also: มัด, ยึด, ค้ำ |
bridge | (n) ที่ยึดฟันปลอม |
buck | (n) โครงที่ใช้สำหรับยึดไม้ที่เลื่อย |
base on | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดเป็นหลัก, Syn. found on, ground on |
base upon | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดเป็นหลัก, Syn. found on, ground on |
be in line with | (idm) เป็นไปตาม (ความคิด, หลักการ, กฎเกณฑ์), See also: ยึดตาม, Syn. be out of, Ant. be out of |
be wedded to | (phrv) ยึดติดกับ |
bed in | (phrv) ทำให้ยึดแน่นกับดิน (เช่น ปลูกพืช, ตั้งฐานปืน), See also: ทำให้แน่น |
build in | (phrv) ทำให้ติดกับ, See also: ทำให้เป็นส่วนที่ติดแน่นกับ, ทำให้ยึดกับ |
build on | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build upon |
build upon | (phrv) ตั้งอยู่บน, See also: ยึดบางสิ่งเป็นพื้นฐาน, Syn. build on |
carry | (vt) ยึด (รองรับน้ำหนัก) |
clutch | (n) การยึด, See also: การฉวย, การคว้า, การเกาะ, การกำแน่น, การเกาะแน่น, Syn. snatch, grasp, clasp, catch |
clutch | (vi) พยายามยึดไว้, Syn. hold |
colonize | (vi) บุกเบิกอาณานิคม, See also: สร้างอาณานิคม, ตั้งอาณานิคม, ยึดเป็นอาณานิคม, อพยพไปตั้งถิ่นฐาน, Syn. settle, migrate, immigrate, transplant |
colonize | (vt) บุกเบิกอาณานิคม, See also: สร้างอาณานิคม, ตั้งอาณานิคม, ยึดเป็นอาณานิคม, อพยพไปตั้งถิ่นฐาน, Syn. settle, transplant, pioneer |
confiscable | (adj) ที่ถูกยึดทรัพย์, Syn. confiscable |
confiscable | (adj) ที่ถูกยึดทรัพย์, Syn. confiscable |
confiscate | (vt) ยึดทรัพย์ |
catch of | (phrv) ยึด, See also: คว้า, จับ, Syn. catch hold of, get of |
cede to | (phrv) ถูกยึดครอง, See also: ถูกครอบครอง |
cling onto | (phrv) ยึดติดกับ, See also: เกาะติดกับ, Syn. keep by, stay by, stick to, stick with |
cling to | (phrv) ยึดติดกับ, See also: ติดกับ, เกาะติดกับ, Syn. keep by, stay by, stick to |
cling together | (phrv) เกาะติดกัน, See also: ขึดติดกัน, ติดกัน, ยึดติดกัน, Syn. stick together |
clutch to | (phrv) ยึดแน่นกับ, See also: เกาะไว้กับ, กำไว้ |
confiscate from | (phrv) ยึดจาก, See also: ริบมาจาก |
dispossess of | (phrv) ยึดทรัพย์จาก, See also: ปลดทรัพย์จาก |
distrain upon | (phrv) ยึดทรัพย์, See also: ยึด, ริบ |
expropriate from | (phrv) ยึดมาจาก, See also: ริบจาก, บังคับเอามาจาก |
fasten on | (phrv) ติดแน่น, See also: ยึดแน่น |
fasten on | (phrv) ยึดติดกับ, See also: ยึดมั่นใน, Syn. fasten onto, hook onto, latch onto, seize on |
fasten to | (phrv) ทำให้ติดแน่นอยู่กับ, See also: ทำให้ยึดแน่นอยู่กับ |
Hope Dictionary
abiding | (อะไบ' ดิง) adj. ยึดถือ, ทน -abidingness n., Syn. enduring |
acquire | (อะไคว' เออ) vt.ได้มา, เข้าถือสิทธิ์, เข้ายึด, ได้เรียนรู้, Syn. obtain, get, reap |
activist | (แอค' ทิวิสทฺ) n. ผู้ดำเนินการที่มีความกระตือรือร้น, ผู้ยึดถือทฤษฎี -activism n. |
adhere | (แอดเฮียร์') vi. ติด, เกาะติด, ยึดมั่น, ถือทิฐิ, ร่วมเป็นภาค ี, Syn. cling, stick, join, unite, Ant. separate, split |
adherence | (แอดเฮีย' เรินซฺ') n. การยึดมั่น, ความเลื่อมใส, การถือทิฐิ, Syn. devotion |
adherent | (แอดเฮีย' เรินทฺ, -เฮอ' เรินทฺ) n. ผู้สนับสนุน, ผู้ยึดมั่น, สาวก, ผู้ติดตาม, Syn. follower |
aerial ladder | บรรไดยาที่ยึดออกได้ (มักติดกับรถ) |
ahimsa | (อะฮิม' ซา, อะฮีง' ซา) อหึงสา, หลักปฏิบัติของฮินดูที่ไม่ยึดถือความรุนแรง |
ahold | (อะโฮลด') ยึด, จับ -get ahold of ติดต่อได้กับ (a hold) |
alkyd resin | (แอล' คิด) chem. resin ชนิดหนึ่งที่ทำสีและตัวยึดติด., Syn. alkyd |
altruistic | (แอลทูรอิส' ทิค) adj. ซึ่งยึดหลักปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นเป็นที่ตั้ง |
amoral | (อะมอ' เริล) adj. ไร้ศีลธรรม, ไร้หรือไม่ยึดในกฎเกณฑ์. -amorality n. |
amplexicaul | (แอมเพลค' ซิคอล) adj. ยึดติดกับต้น (clasping the stem) |
anabaptist | (แอนนะแพบ' นิสทฺ) n. ผู้ยึดถือนิกายโปรแตสแตนท์ที่มีการล้างบาป (ในพิธีเจิมน้ำมนตร์) เมื่อเดิบโตเป็นผู้ใหญ่. -anabaptism n. |
anchor | (แอง' เคอะ) n., vt. สมอเรือ, สมอ, หลัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ตำแหน่งสำคัญของแนวป้องกันในทางทหาร, ทอดสมอ, ปล่อยหลัก -anchorable adj., Syn. support, prop, security |
anchorage | (แอง' เคอะเรจฺ) n. ที่ทอดสมอ, ภาษีที่จอดเรือ, ภาวะที่ยึดเหนี่ยว, วิธีการยึดเหนี่ยว, ตัวค้ำ, Syn. anchor |
angary | (แอง' กะรี) n สิทธิของรัฐที่ทำสงครามในการยึดครองหรือทำลายทรัพย์สินของประเทศที่เป็นกลางแล้ว, รอไว้ชดใช้ค่าเสียหาย หรือสินไหมทดแทนในภายหลัง |
anglo-catholic | (แอง' โกลแคธ' โธลิค) n. adj, ผู้นับถือนิกาย Church of England แต่ยึดถือลักษณะของคาธอลิค. -Anglo-Catholicism (opposing a Protestant designation) |
annex | (อะเนคซฺ', แอน' เนคซฺ) vt. ผนวก, เพิ่มเติม, ประกอบ, แนบเข้า, ยึด. -n. สิ่งที่ผนวกเข้า, ส่วนของอาคารที่เสริม, ภาคผนวก, ส่วนผนวก, Syn. add, addition, Ant. deduct, split |
aponeurosis | (แอพพะนิวโร'ซิส) n. (Pl. -ses) แผ่นกล้ามเนื้อยืดต่อที่ยึดกล้ามเนื้อกับกระดูกหรือเนื้อเยื่ออื่น. -aponeurotic adj. |
arteriosclerosis | (อาร์เทอรี่โอสคละโร'ซิส) n. ภาวะผนังเส้นโลหิตแดงหนาและมีความยึดหยุ่นน้อยลง -arteriosclerotic adj. |
assume | (อะซูม') vt., vi. สันนิษฐาน, นึกเอา, สมมุติ, รับ, ครอง, ยึดเอาดื้อ ๆ , ประจำ, เข้ารับตำแหน่ง, แสดง, ปรากฎ, เสแสร้ง, Syn. embrace, adapt, don, Ant. renounce, abjure |
attachment | (อะแทช'เมินทฺ) n. การติด, การผูกติด, ภาวะที่ผูกติด, ความรู้สึกผูกพัน, การอุทิศ, สิ่งยึดติด, สิ่งที่ผูกพัน, อุปกรณ์ติดตั้ง, การยึดทรัพย์, Syn. connection, device, affinity |
attainder | (อะเทน'เดอะ) n. การสูญเสียสิทธิเนื่องจากถูกลงโทษประหารชีวิต, การยึดทรัพย์ของผู้ที่ศาลลงโทษประหารชีวิต, การเพิกถอนสิทธิ |
bailiff | (เบ'ลิฟ) n. ตำรวจศาล, พนักงานส่งหมายจับกุม/ยึดทรัพย์, ผู้ดูแลผลประโยชน์ของเจ้าของที่ดิน, ปลัดอำเภอ, See also: bailiffship n. |
bastille | (เบสทีล') n. คุกและป้อมปราการที่ขังนักโทษการเมืองในกรุงปารีส และถูกพวกกบฏยึดได้เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789, คุก, ป้อมปราการ, Syn. bastile |
bind | (ไบดฺ) { bound, bound, binding, binds } vt., vi., n. (การ) ผูก, มัด, พัน, เข้าปก, เย็บเล่ม, เชื่อมผนึก, ทำให้ท้องผูก, ผูกพัน, ยับยั้ง, ยึดแน่น, แข็งตัว, See also: bindable adj. ดูbind, Syn. tie |
bite | (ไบทฺ) { bit, bitten/bit, biting, bites } v. กัด, กิน, ตอด, กินอาหาร, ต่อย (แมลง) , ยึดแน่น, เกาะแน่น, โกง, มีผลต่อ, งับ, ติดเหยื่อ, ยึด, ติด, ทำได้ผล n. การกัด, แผลกัด, ความคม, ความได้ผล, ชิ้นอาหาร, มื้อน้อย ๆ, Syn. nibble |
buoyage | (บอย'อิจฺ) n. กลุ่มทุ่นลอยน้ำ, การทำให้ลอย, ค่าธรรมเนียมการยึดเกาะทุ่น |
canoness | (แคน'นะนิส) n. คริสเตียนหญิงที่ยึดถือวินัยศาสนา |
capture | (แคพ'เชอะ) n. การจับได้, การยืดได้, สิ่งที่ถูกยึด, คนที่ถูกจับ, เชลย vt. จับได้, ยืดได้, เข้ายึดได้, ตีได้, ทำให้สนใจ, ทำให้หลงไหล, See also: capturer n. ดูcapture, Syn. take เก็บภาพจับภาพ ข้อมูล หมายถึง การสั่งเก็บภาพที่แสดงอยู่บนจอภาพทั้งหมด หรือ เฉพาะบางส่วนเอาไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ถ้าเป็นเครื่องแมคอินทอช ใช้วิธีกดแป้น Command + Shift + 3 ภาพที่เกิดจะถูกนำไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลชื่อ Picture 1, Picture 2.... เรียงไปตามลำดับ ส่วนพีซี ใช้วิธีกดแป้น Print Screen ภาพที่อยู่บนจอจะถูกนำไปเก็บไว้ในคลิปบอร์ด clipboard เราอาจสั่งเก็บเป็นแฟ้มข้อมูลได้โดยกำหนดชื่อให้เป็น ภาพ ๆ ไป แฟ้มเหล่านี้จะเรียกมาดูได้ในหลายโปรแกรม เป็นต้นว่า PageMaker, Microsoft Word อย่างไรก็ตาม หากจะเลือกเก็บเฉพาะบางส่วนของภาพที่ปรากฏบนจอ จะต้องใช้โปรแกรมพิเศษ |
cement | (ซิเมนทฺ') { cemented, cementing, cements } n. ซีเมนต์, ปูนซีเมนต์, น้ำยายางสำหรับเชื่อมติดสิ่งของ, สิ่งยึดเหนี่ยว, พันธะ vt. ยึดเกาะ, พอกด้วยน้ำปูนซีเมนต์, ใช้น้ำปูนซีเมนต์ฉาบ, ผนึก. เป็นส่วนที่หุ้มเนื้อฟันที่รากฟัน, See also: cementer n., Syn. seal, Ant. separate |
chauvinism | (โช'วะนิซซีม) n. การแสดงความรักชาติอย่างรุนแรงที่ชอบต่อสู้วิวาท, การยึดถืออุดมการณ์อย่างอคติ, See also: chauvinist n. chauvinistic adj. |
cherish | (เชอ'ริช) { cherished, cherishing, cherishes } vt. ทะนุถนอม, รัก, ยึดมั่น, สงวนในดวงใจด้วยความรัก., See also: cherishingly adv., Syn. sustain, Ant. neglect |
clasp | (คลาสพฺ) { clasped, clasping, clasps } n. เข็มขัด, กลัด, ขอเกี่ยว, กระดุม, ที่หนีบ, การโอดกอด, การจับมือกัน, การประสานกัน, วงแขน, การพันกันแน่น vt. กลัด, กลัดกระดุม, กอด, กำหนีบ, ยึดติด |
classicist | (แคลส'ซิซิสทฺ) n. ผู้เลื่อมใสและยึดถือเอกลักษณ์ของคลาสซิค, ผู้ศึกษาเกี่ยวกับคลาสซิค., See also: classicistic adj. ดูclassicist, Syn. classicalist |
cleat | (คลีท) { cleated, cleating, cleats } n. เสาหลัก, หลักผูกเชือก vt. ใช้หลักยึด, ผูกกับหลัก |
cleave { cleaved/cleft | (คลีฟว) vi. ยึด, เกาะติด, ยังซื่อสัตย์ต่อ -vt. แยกออก, ผ่า, เดินฝ่า, บินฝ่า |
cleaved/cleft } | (คลีฟว) vi. ยึด, เกาะติด, ยังซื่อสัตย์ต่อ -vt. แยกออก, ผ่า, เดินฝ่า, บินฝ่า |
clinch | (คลินชฺ) v., n. (การ) ตอกติด, ยึดติด, กำหนดแน่นอน, โอบกอด, กอดจูบอย่างรุนแรง, Syn. clench |
cling | (คลิง) { clung, clung, clinging, clings } v. ยึด, ติดกับ, ทำให้เกิดเสียงกังวาน n. เสียงกังวาน |
clutch | (คลัทชฺ) { clutched, clutching, clutches } v. คว้า, กำ, เกาะ, ฉวย, ยึด, พยายามคว้า n. ก้ามปู, คลัตช์ (เครื่องเกาะเพลาในรถยนต์) , อุปกรณ์กำ, การกำ, การเกาะ, การคว้า -clutchy adj. ดูclutch, Syn. grasp |
cohesive | (โคฮี'ซิฟว) adj. ซึ่งยึดติด, ซึ่งติดเกาะ, ซึ่งเกาะกัน, เกี่ยวกับโมเลกุลที่ยึดเกาะของสาร. |
collar | (คอล'ละ) n. ปลอกคอ, ปกเสื้อ, คอเสื้อ, สิ่งที่คล้ายวงแหวน, แถบหนังหรือโลหะที่ยึดรอบคอสัตว์, แอก, วงแหวนของเสา, สร้อยคอประดับ -Id. (be hot under the collar โกรธ) |
commandeer | (คอมมันเดียร์') { commandeered, commandeering, commandeers } vt. เกณฑ์พลเรือนเข้าทำการรบหรือทำงานให้กับหน่วยทหาร, ยึดทรัพย์สินเอกชนเพื่อประโยชน์ทางทหารหรือเพื่อสาธารณประโยชน์, Syn. draft, conscript, impress |
confiscable | (คัสฟิส'คะเบิล) adj. ยึดได้, ริบได้ |
confiscate | (คอน'ฟิสเคท) { confiscated, confiscating, confiscates } v. ยึด, ริบ., See also: confiscation n. ดูconfiscate confiscator n. ดูconfiscate confiscatory adj. ดูconfiscate, Syn. appropriate, seize |
connective tissue | เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เนื้อเยื่อชนิดนี้มีเซลล์น้อยแต่มี matrix มาก เนื้อเยื่อชนิดนี้พบได้ทั่วไปใปมากกว่าเนื้อเยื่อชนิดอื่นทำหน้าที่ให้เนื้อเยื่ออื่นยึดเกาะติดกัน รองรับและห่อหุ้มเนื้อเยื่ออื่น ๆ ช่วยให้อาหารให้แก่เนื่อเยื่อที่เกาะอยู่ ป้องกันและให้ความปลอดภัยแก่ร่างกายโดยทำหน้าที่ซึม ทำลายวัตถุที่แปลกปลอม ยังช่วยซ่อมแซมเนื้อเยื่อทีสึกหรอ แบ่งออกเป็น สองชนิดคือ 1.embryonic 1.1 mesenchyme เจริญมาจากชั้น mesoderm จะพบใน embryo และเจริญขึ้นอย่างรวดเร็วเป็น connective tissue ชนิดต่าง ๆ 1.2 mucous connective tissue ลักษณะคล้ายเมือกข้นที่ขับจากต่อมน้ำมูก (mucin) มีกลุ่มของอเส้นใยละเอียดสีขาว พบได้ที่สายสะดือเด็กเรียกว่า wharton's jelly 2. adult 2.1 เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแท้ 2.2 เลือดและน้ำเหลือง 2.3 กระดูกอ่อน 2.4 กระดูกแข็ง |
conquer | (คอง'เคอะ) { conquered, conquering, conquers } vt. ปราบ, เอาชนะด้วยกำลัง, ได้มาโดยกำลัง, พิชิต, ยึดได้, เอาชนะด้วยอำนาจทางใจ. vi. ได้ชัยชนะ ., See also: conquerableness n. ดูconquer conqueringly adv. ดูconquer, Syn. overcome, p |
consistency | (คันซิส'เทินซี) n. ความเหนียวแน่น, ระดับความเข้มข้น, ความยึดมั่น, ความสอดคล้อง, Syn. consistence |
Nontri Dictionary
abide | (vt) ทนทาน, ยึดถือ, รอคอย |
acquire | (vt) ได้มา, ได้รับ, หามาได้, เข้ายึด |
acquisition | (n) การครอบครอง, การเข้าถือสิทธิ์, การเข้ายึด, สิ่งที่ได้มา |
adhere | (vi) เกาะติด, ยึดมั่น |
adherence | (n) การยึดมั่น, การติดตาม, ความเลื่อมใส |
adhesive | (adj) ติดแน่น, ซึ่งยึดติด, เหนียวแน่น |
annex | (vt) เพิ่ม, ผนวก, แนบท้าย, ยึด |
appropriate | (vt) ยึดครอง, จัดสรรไว้, ตั้งเงินไว้ |
arrogate | (vt) ยึดครอง, ถือสิทธิ์, แอบอ้างสิทธิ์, เหมาเอาว่า, ทึกทัก |
booty | (n) ของที่ยึดได้, ของโจร, ของขโมย, ของร้อน |
captor | (n) ผู้จับกุม, ผู้เข้ายึด |
capture | (n) การจับกุม, การเข้ายึด |
capture | (vt) จับกุม, เข้ายึด, จับขัง, ตีได้ |
cement | (vt) อุดด้วยปูนซีเมนต์, เชื่อม, ทำให้ยึดแน่น, ประสาน |
cherish | (vt ) ทะนุถนอม, เลี้ยง, รัก, สงวนไว้, ยึดมั่น |
cleave | (vi) ยึดติด, ยังซื่อสัตย์ต่อ |
clinch | (n) การรัดแน่น, การตอกติด, การยึดติด |
clinch | (vi, vt) ตอกติด, ยึดติด, รัดแน่น, กอดแน่น |
cling | (vi) ติดกับ, ยึด, เกาะแน่น, เกาะกับ |
clutch | (vt) กำแน่น, คว้า, ฉวย, เกาะ, ยึด |
confiscate | (vt) ยึดทรัพย์, ยึดเอา, ริบ |
confiscation | (n) การยึดทรัพย์, การริบ |
consistency | (n) ความมั่นคง, ความยึดมั่น, ความคงเส้นคงวา, ความไม่เปลี่ยนแปลง |
detention | (n) การกักกัน, การกักขัง, การหน่วงไว้, การคุมขัง, การยึดทรัพย์ |
dispossess | (vt) ไล่ออก, ขับไล่, ปลด, ริบทรัพย์, ยึดเอา, ชิง |
expropriate | (vt) ริบ, ยึด, เวนคืน, บังคับเอา |
extension | (n) การขยายออก, การยืดเวลา, โทรศัพท์สายพ่วง, การแผ่ออก, คำสั่งยึดทรัพย์ร |
faith | (n) ความศรัทธา, ความเลื่อมใส, ความเชื่อ, ศาสนา, ความยึดมั่น |
faithful | (adj) ศรัทธา, เลื่อมใส, ซื่อสัตย์, ยึดมั่น, เชื่อถือ |
faithfulness | (n) ความน่าเชื่อถือ, ความมีสัจจะ, ความซื่อสัตย์, ความยึดมั่น |
fasten | (vt) ผูก, ตรึง, ทำให้แน่น, รัด, มัด, ยึด, กลัด, ให้ความสนใจ |
fix | (vi) อยู่กับที่, ประจำที่, ยึด, ไม่เคลื่อนไหว, ติดแน่น, เกาะแน่น |
fixture | (n) เครื่องติดตั้ง, ของประจำที่, กำหนดการ, สิ่งยึดติด |
foreclose | (vi, vt) กีดกั้น, ยึด, ริบ, ถอนสิทธิ์, ตัดสิทธิ์, ขัดขวาง, ขจัด, ป้องกัน |
grapple | (vt) ยึดแน่น, ต่อสู้, สู้ประชิดตัว |
grip | (vt) จับแน่น, ยึด, เกาะ, กำ |
gripe | (vt) ดึง, ผูก, ทำให้จุก, ทำให้เจ็บปวด, กดขี่, รบกวน, ยึด, จับ, กุม |
hold | (n) การถือ, ที่ยึด, ที่จับ, ที่เก็บสินค้าใต้ท้องเรือ |
hold | (vt) ถือ, จับ, ยึด, เกาะ, มี, บรรจุ, มัด, ครอบครอง, เก็บ, เหนี่ยวรั้ง |
holdfast | (n) ตะขอ, เครื่องยึดจับ |
hug | (n) การกอด, การรัด, การยึดมั่น, การปลอบ |
hug | (vt) กอด, รัด, ปลอบ, ยึดติด |
idealism | (n) การยึดถืออุดมการณ์ |
impress | (vt) กด, พิมพ์, ทำให้ซาบซึ้ง, ประทับตรา, ยึด |
intercept | (vt) ตัดตอน, กีดกั้น, สกัด, ขวาง, ยึด, ยับยั้ง |
intrench | (vt) ยึดที่มั่น, ตั้งมั่น, ขุดสนามเพลาะ |
jaw | (n) กราม, ขากรรไกร, ที่ยึด, ที่จับ |
manacle | (n) ตรวน, กุญแจมือ, โซ่, เครื่องยึดเหนี่ยว |
occupancy | (n) การครอบครอง, การยึดครอง, การพักอาศัย |
occupant | (n) ผู้ครอบครอง, ผู้ยึดครอง, ผู้เช่า, ผู้พักอาศัย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
consumerism | (n) การยึดติดกับคุณค่าทางวัตถุหรือทรัพย์สิน |
Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง |
distress | การยึดทรัพย์สินเป็นการประกันการชำระเงิน |
excuss | [Ex`cuss´] (vt) 1)ทิ้ง, สลัดทิ้ง, สะบัด; 2) พินิจ, ตรวจสอบอย่างละเอียด, สืบสวน, แกะรอย, ถอดรหัส; 3) ยึดจับ, บังคับคดี (กฎหมาย), See also: to discard, 2To inspect; to investigate, to decipher, 3To seize a, Syn. 1To shake off |
fundamentalist | [げんりしゅぎしゃ] (n) ผู้คนที่ยึดถือหลักความเชื่อดั้งเดิมของคริสต์ศาสนา |
keep one's principle | (prep) ยึดมั่นในหลักการ |
levy | การบังคับยึดทรัพย์ |
lien | สิทธิยึดหน่วง |
lien | สิทธิ์ยึดหน่วง |
lien | (n) สิทธิยึดหน่วง |
Life Saver | [ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ |
lynchpin | (n, slang) เข็มหรือแกนที่ยึดไว้ไม่ให้หลุด ไพ่ใบสุดท้าย หรือ สิ่งสำคัญที่ทำให้หลักคงอยู่ได้ |
Rail Fastener | (jargon) เครื่องยึดเหนี่ยวราง |
scrum | (n) สกรัม, สถานการณ์ที่กลุ่มคนแต่ละฝ่ายผลักดันอีกฝ่ายเพื่อยึดครองพื้นที่หรือให้ได้มาซึ่งบางสิ่งบางอย่าง |
seizure | (n) การยึดทรัพย์ |
take a stand | ยึดหลัก ยืนหยัด (declare one position, assert one's point of view)Ex, He took a stand against unfair practices. |
War Ensign | ธงชัยสมรภูมิ เป็นธงที่ถูกชักไว้บนเรือรบเพื่อแสดงสัญชาติของเรือรบ อาจมีการชักธงนี้ไว้บนบกในดินแดนที่กองทัพเจ้าของธงยึดครองอยู่ อาทิ เมื่อเยอรมนีเข้ายึดกรุงปารีสในปี ค.ศ. 1940 มีการชักธงชัยสมรภูมิเยอรมันไว้บนยอดหอไอเฟลเพื่อสื่อว่า ประเทศฝรั่งเศสเป็นดินแดนที่อยู่ภายใต้การยึดครองของกองทัพเยอรมัน |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
定着 | [ていちゃく, teichaku] (n, vt) ยึดติด, เป็นที่ยอมรับ |
補そく | [ほそく, hosoku] (aux, verb) จับ.ยึดครอง |
占拠 | [せんきょ, senkyo] ยึดครอง |
陥落 | [かんらく, kanraku] ถูกโค่นล้ม, โดนยึดอำนาจ(แพ้) |
命綱 | [いのちづな, inochizuna] (n) 1.เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เวลาทำงานในที่สูง หรือบนเรือ <BR>2.ฟางเส้นสุดท้าย (มีความหมายว่า เป็นสิ่งยึดเหนี่ยวสุดท้าย ถ้าไม่มีสิ่งที่พูดมาข้างต้น จะไม่สามารถทำให้ลุล่วงสำเร็จไปได้ หรือว่าทำให้ตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก หรืออันตรายถึงชีวิต) |
固定 | [こてい, kotei] (n) คงที่, ตรึงอยู่กับที่, ยึดไว้ไม่ไห้ขยับเขยื้อน |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
準じる | [じゅんじる, junjiru] TH: ยึดตาม EN: to follow |
準じる | [じゅんじる, junjiru] TH: ยึดตามแบบ EN: to apply to |
基づく | [もとづく, motoduku] TH: ยึดตาม EN: to base on |
占める | [しめる, shimeru] TH: ยึดครอง EN: to hold |
掴む | [つかむ, tsukamu] TH: ยึดไว้ EN: to seize |
踏まえる | [ふまえる, fumaeru] TH: ยึดเป็นเกณฑ์ EN: to be based on |
こだわる | [こだわる, kodawaru] TH: ยึดติดกับเรื่องใดเป็นพิเศษ EN: to be particular about |
こだわる | [こだわる, kodawaru] TH: ยึดติด |
捕まえる | [つかまえる, tsukamaeru] TH: ยึด EN: to seize |
Longdo Approved DE-TH
Ordner | (n) |der, pl. Ordner| แฟ้มใส่เอกสารที่มีห่วงยึด |
stecken | (vt) |steckte, hat gesteckt, etw.(A) in etw.(A)| แทง, เสียบ, ทิ่ม, ปัก, ตอก, ยึดติด เช่น den Stecker in die Steckdose stecken เสียบปลั๊กไฟในเบ้าปลั๊ก(ตัวเมีย) |
Verbindungselement | (n) |das, pl. Verbindungselemente| ชิ้นส่วนที่ใช้ในการต่อเชื่อมวัตถุสองสิ่งเข้าด้วยกัน เช่น น๊อตกับสกรู ที่ใช้ในการยึดชิ้นส่วนสองชิ้นเข้าด้วยกัน อาจเป็นวัสดุอื่นก็ได้ เช่น กาว เชือก หมุดย้ำ เข็มกลัด อะไรที่สามารถยึดของสองสิ่งเข้าด้วยกัน |
Longdo Approved FR-TH
remplir | (vt) 1)เติมสิ่งใดสิ่งหนึ่งลงในภาชนะจนเต็ม, ยึดครองพื้นที่ว่าง Image: |
tenir | (vt) ถือ, ยึด, จับ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.8296 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม