ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: -เวสน์-, *เวสน์* |
(เนื่องจากผลลัพธ์จากการค้นหา เวสน์ มีน้อย ระบบได้ทดลองค้นหาใหม่โดยใส่ดอกจันทน์ (wild-card) ให้โดยอัตโนมัติ: *เวสน์*) |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| เวสน์, เวสม์ | น. เรือน, ที่อยู่. | ปเวส, ปเวสน์ | (ปะ-) น. ประเวศ, ประเวศน์. | กมัณฑลุ | (กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค). | กระไส | น. ทราย เช่น สีคงคาขุ่นเป็นเปือกเทือกกระไส (ม. กาพย์ วนปเวสน์), ประทับทอดจอดอ่าวเข้าไม่ได้ โขดกระไสติดช่องร่องวิถี (นิ. เกาะแก้วกัลกตา). | กรุ่ม | (กฺรุ่ม) ก. ขันบ่อย ๆ (ปรกติใช้แก่นกเขา แต่ใช้แก่นกอื่นก็มีบ้าง) เช่น บางพวกจับเป็นคู่คูขันกันโดยธรรมดา เวลากรุ่มกำลังที่ตั้งขึ้นตามฤดู (ม. ร. ๔ วนปเวสน์) | กฤษฎีกา | (กฺริดสะ-) น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกำหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์) | กษัตรีย์ | เจ้าผู้หญิง เช่น อันว่าพระมหาสัตว์แลกษัตรีย์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กษิดิ, กษีดิ | (กะสิดิ, กะสีดิ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร), อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่าพระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร) (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์). | กัตรทัณฑ์ | (กัดตฺระ-) น. ไม้เท้าคนแก่ เช่น แล้วทรงธารพระกรกัตรทัณฑ์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | กัลพุม | พุ่ม เช่น จับพฤกษางกูรกัลพุม โดยกุสุมฤดูกาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กานน | (-นน) น. ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กิงบุรุษ | น. กินนร เช่น และเป็นที่เขานิยมว่ามีนกอย่างหนึ่งซึ่งเรียกว่ากิงบุรุษ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | กินริน, กินรี | (กินนะริน, กินนะรี) น. กินนรเพศหญิง เช่น ดุจกินรินแน่ง พักตราแพ่งมานุษย์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กินรีแอ่นกินรากร (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กิรินท | (-ริน) น. ช้างสำคัญ เช่น อ้าบัดนี้แม่มาเดอรดิน สีพิกากิรินทไกรอาศน กวยนแก้วราชรจนา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กุณิ, กุณี | กระเช้า เช่น แลมีมือกุกุณีแลขอขุดธงง ก็ท่องยงงไพรกันดาร เอามูลผลาหารในพนาลี (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แกล้ง | ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | โกณก, โกณะ | (-นก) น. มุม, เหลี่ยม, เช่น เปนจดูรโกณก ครรโภทกเพ็ญพยง (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แครง ๓ | (แคฺรง) ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น อย่างแครงครวญ (กล่อมช้างของเก่า), สงครามแครง ฟ้งเฟือด (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แครง ๔ | (แคฺรง) ก. ตกแต่ง เช่น ธก็ผลัดแผลงแครงเครื่องอันบริสุทธิ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | จงกล | (-กน) น. บัว, บัวสาย, เช่น อันประดับด้วยอรพินธุเนานึก บุณฑรึกจงกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์) | ฉิน ๒ | ว. ฉัน, เช่น, คล้าย, เหมือน, เช่น ทิพฉายฉวงฉินฉัตร ใบชรอัดอรชร (ม. คำหลวง วนประเวสน์). | ชคดี | (ชะคะดี) น. แผ่นดิน เช่น แลเนืองนองด้วยมนุษยชาติ เดียรดาษชคดี (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชคัตตรัย | (ชะคัดไตฺร) น. โลก ๓ เช่น ชคัตตรยาพดง ว่า ผู้เป็นยอดของโลก ๓ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชมเลาะ | ก. ทะเลาะ เช่น ความชมเลาะกันก็จแรก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชร ๒ | (ชอน) น. น้ำ เช่น ชรเซาะเขาเราตกแต่ง (คำฤษฎี), ชรธารา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แชะ ๑ | ว. แฉะ เช่น มีชลไหลบเอื้อน บเปื้อนแชะชํชล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ดนุช | น. “ผู้บังเกิดแต่ตน”, ลูก, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช สองวิสุทธเพาพาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ตรมวล | (ตฺรม-วน) น. ตำบล เช่น เขาแก้วว่าวงกาจล ตรมวลใดท้าวธบอก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ตัณหักษัย | (ตันหักไส) ก. สิ้นตัณหา, หมดตัณหา, เช่น แด่ท้าวผู้ตัณหักษัย (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ทรเหล | (ทอระเหน) น. ความลำบากในการเดินทางไป เช่น เขาก็บอกความทุกข์ทรเหล แก่ตูผู้บันเดนบันเดอรเทา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ท้าทาย | ก. ชวนวิวาท เช่น เพราะเขาว่าท้าทายว่าจะทำอันตรายแก่ท่านไท้บรมนาถราชบิดา (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์) | ธรรมธาดา | น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นานัคครส | (นานักคะรด) น. รสเลิศต่าง ๆ เช่น นานัคครสโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นิสัชชาการ | น. อาการนั่ง. (ป.), ในบทกลอนใช้ว่า นิสัชชนาการ ก็มี เช่น จึงเสด็จนิสัชชนาการนั่งในร่มไม้ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นุ ๑ | ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บทวาร | (บดทะวาน) น. ชั่วก้าวเท้า, ระยะก้าวเท้า, เช่น ทางเล็ก ควรบทวารผู้หนึ่งจะพึงไป (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | บังคล | ก. มอบให้ เช่น เป็นบังคลแก่ท่านแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บัพพาช | (บับพาด) ก. ขับไล่ เช่น พระสญชัยยินราษฎร์ แกล้งบัพพาชกูไกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บางสุ | น. บงสุ์, ฝุ่น, ละออง, ธุลี, (โบ) ใช้ว่า บางษุ ก็มี เช่น มหาบางษุกุลพัษตรจีวรา (นันโท), เมื่อน้นนนางก็ลูบบทบางษุบาท (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บาทบ | (บา-ทบ) น. ต้นไม้ เช่น บรรดาที่เป็นบาทบชักตรลบเอารสวารี (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | ปฏิคคหิต, ปฏิคหิต- | (ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ-) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ประเดยก | (ปฺระดะเหฺยก) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ไปศาจ | น. ปิศาจ เช่น ก็ยังไปศาจผีเสื้อเนื้อแลนก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | พิดาน | น. เพดาน เช่น ด้วยพิดานดาวทอง (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ยุกดิ, ยุกติ | ก. ชอบ เช่น รุ่งนั้นธก็เสด็จโดยอุตราภิมุข ดำเนอรยุกติยูรยาตร (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ลบม | (ละบม) ก. ระบม เช่น นางก็ถวายบังคม ลบมพิลาลศกำสรดไปมา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | เลียง ๒ | ว. เย็น เช่น นํ้าล้นเลียงเอมโอช (ม. คำหลวง วนปเวสน์). |
| | ปเวส, ปเวสน์ | (ปะ-) น. ประเวศ, ประเวศน์. | เวสน์, เวสม์ | น. เรือน, ที่อยู่. | กมัณฑลุ | (กะมันทะ-) น. กะโหลกนํ้าเต้า, เต้านํ้า, หม้อนํ้า, ภาชนะใส่นํ้าเล็ก ๆ เป็นบริขารเครื่องใช้ประจำของนักบวชนอกพระพุทธศาสนา ทำด้วยไม้หรือดิน, เช่น กมัณฑลุภาชน์ ว่า ภาชนะใส่น้ำ คือ เต้านํ้า (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์), ใช้ว่า กมัณฑลู ก็มี เช่น บัดนี้คาวียุพราชาชัยลีลา ก็เอากมัณฑลูลง (เสือโค). | กระไส | น. ทราย เช่น สีคงคาขุ่นเป็นเปือกเทือกกระไส (ม. กาพย์ วนปเวสน์), ประทับทอดจอดอ่าวเข้าไม่ได้ โขดกระไสติดช่องร่องวิถี (นิ. เกาะแก้วกัลกตา). | กรุ่ม | (กฺรุ่ม) ก. ขันบ่อย ๆ (ปรกติใช้แก่นกเขา แต่ใช้แก่นกอื่นก็มีบ้าง) เช่น บางพวกจับเป็นคู่คูขันกันโดยธรรมดา เวลากรุ่มกำลังที่ตั้งขึ้นตามฤดู (ม. ร. ๔ วนปเวสน์) | กฤษฎีกา | (กฺริดสะ-) น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกำหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์) | กษัตรีย์ | เจ้าผู้หญิง เช่น อันว่าพระมหาสัตว์แลกษัตรีย์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กษิดิ, กษีดิ | (กะสิดิ, กะสีดิ) น. แผ่นดิน. (ส. กฺษิติ), ในบทกลอนใช้เป็นส่วนหน้าสมาส แปลว่า พระเจ้าแผ่นดิน เช่น กษิดินทรทายทานแล้ว. (ส. กฺษิติ + อินฺทฺร), อนนว่ากษีดิศรสุริยทงงหลาย. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร), อนนว่าพระแพศยันดรกษิดิศวร์. (ส. กฺษิติ + อีศฺวร) (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์, วนปเวสน์). | กัตรทัณฑ์ | (กัดตฺระ-) น. ไม้เท้าคนแก่ เช่น แล้วทรงธารพระกรกัตรทัณฑ์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | กัลพุม | พุ่ม เช่น จับพฤกษางกูรกัลพุม โดยกุสุมฤดูกาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กานน | (-นน) น. ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กิงบุรุษ | น. กินนร เช่น และเป็นที่เขานิยมว่ามีนกอย่างหนึ่งซึ่งเรียกว่ากิงบุรุษ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | กินริน, กินรี | (กินนะริน, กินนะรี) น. กินนรเพศหญิง เช่น ดุจกินรินแน่ง พักตราแพ่งมานุษย์ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์), กินรีแอ่นกินรากร (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กิรินท | (-ริน) น. ช้างสำคัญ เช่น อ้าบัดนี้แม่มาเดอรดิน สีพิกากิรินทไกรอาศน กวยนแก้วราชรจนา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | กุณิ, กุณี | กระเช้า เช่น แลมีมือกุกุณีแลขอขุดธงง ก็ท่องยงงไพรกันดาร เอามูลผลาหารในพนาลี (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แกล้ง | ตั้งใจ, จงใจ, เช่น แกล้งประกาศแก่สงฆ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | โกณก, โกณะ | (-นก) น. มุม, เหลี่ยม, เช่น เปนจดูรโกณก ครรโภทกเพ็ญพยง (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แครง ๓ | (แคฺรง) ว. อึกทึก, กึกก้อง, เช่น อย่างแครงครวญ (กล่อมช้างของเก่า), สงครามแครง ฟ้งเฟือด (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แครง ๔ | (แคฺรง) ก. ตกแต่ง เช่น ธก็ผลัดแผลงแครงเครื่องอันบริสุทธิ์ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | จงกล | (-กน) น. บัว, บัวสาย, เช่น อันประดับด้วยอรพินธุเนานึก บุณฑรึกจงกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์) | ฉิน ๒ | ว. ฉัน, เช่น, คล้าย, เหมือน, เช่น ทิพฉายฉวงฉินฉัตร ใบชรอัดอรชร (ม. คำหลวง วนประเวสน์). | ชคดี | (ชะคะดี) น. แผ่นดิน เช่น แลเนืองนองด้วยมนุษยชาติ เดียรดาษชคดี (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชคัตตรัย | (ชะคัดไตฺร) น. โลก ๓ เช่น ชคัตตรยาพดง ว่า ผู้เป็นยอดของโลก ๓ (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชมเลาะ | ก. ทะเลาะ เช่น ความชมเลาะกันก็จแรก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ชร ๒ | (ชอน) น. น้ำ เช่น ชรเซาะเขาเราตกแต่ง (คำฤษฎี), ชรธารา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | แชะ ๑ | ว. แฉะ เช่น มีชลไหลบเอื้อน บเปื้อนแชะชํชล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ดนุช | น. “ผู้บังเกิดแต่ตน”, ลูก, เช่น ใกล้หัตถ์ดลดนุช สองวิสุทธเพาพาล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ตรมวล | (ตฺรม-วน) น. ตำบล เช่น เขาแก้วว่าวงกาจล ตรมวลใดท้าวธบอก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ตัณหักษัย | (ตันหักไส) ก. สิ้นตัณหา, หมดตัณหา, เช่น แด่ท้าวผู้ตัณหักษัย (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ทรเหล | (ทอระเหน) น. ความลำบากในการเดินทางไป เช่น เขาก็บอกความทุกข์ทรเหล แก่ตูผู้บันเดนบันเดอรเทา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ท้าทาย | ก. ชวนวิวาท เช่น เพราะเขาว่าท้าทายว่าจะทำอันตรายแก่ท่านไท้บรมนาถราชบิดา (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์) | ธรรมธาดา | น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นานัคครส | (นานักคะรด) น. รสเลิศต่าง ๆ เช่น นานัคครสโภชนาหาร (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นิสัชชาการ | น. อาการนั่ง. (ป.), ในบทกลอนใช้ว่า นิสัชชนาการ ก็มี เช่น จึงเสด็จนิสัชชนาการนั่งในร่มไม้ (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | นุ ๑ | ตัดมาจากอุปสรรค อนุ เช่น ทราบนุสนธิ์ทุกแห่ง (ตะเลงพ่าย), โดยนุกรม (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บทวาร | (บดทะวาน) น. ชั่วก้าวเท้า, ระยะก้าวเท้า, เช่น ทางเล็ก ควรบทวารผู้หนึ่งจะพึงไป (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | บังคล | ก. มอบให้ เช่น เป็นบังคลแก่ท่านแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บัพพาช | (บับพาด) ก. ขับไล่ เช่น พระสญชัยยินราษฎร์ แกล้งบัพพาชกูไกล (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บางสุ | น. บงสุ์, ฝุ่น, ละออง, ธุลี, (โบ) ใช้ว่า บางษุ ก็มี เช่น มหาบางษุกุลพัษตรจีวรา (นันโท), เมื่อน้นนนางก็ลูบบทบางษุบาท (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | บาทบ | (บา-ทบ) น. ต้นไม้ เช่น บรรดาที่เป็นบาทบชักตรลบเอารสวารี (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์). | ปฏิคคหิต, ปฏิคหิต- | (ปะติกคะหิด, ปะติกคะหิตะ-) ก. รับเอา เช่น เราก็ปฏิคคหิตด้วยศรัทธา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ประเดยก | (ปฺระดะเหฺยก) ว. ปัจเจก เช่น เพราะกูเป็นประเดยก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ไปศาจ | น. ปิศาจ เช่น ก็ยังไปศาจผีเสื้อเนื้อแลนก (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | พิดาน | น. เพดาน เช่น ด้วยพิดานดาวทอง (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ยุกดิ, ยุกติ | ก. ชอบ เช่น รุ่งนั้นธก็เสด็จโดยอุตราภิมุข ดำเนอรยุกติยูรยาตร (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | ลบม | (ละบม) ก. ระบม เช่น นางก็ถวายบังคม ลบมพิลาลศกำสรดไปมา (ม. คำหลวง วนปเวสน์). | เลียง ๒ | ว. เย็น เช่น นํ้าล้นเลียงเอมโอช (ม. คำหลวง วนปเวสน์). |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |