ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: หรือไม่, -หรือไม่- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ |
| สก๊อย | [สะ-ก๊อย] (n, slang) วัยรุ่นหญิงที่มักนั่งท้ายมอเตอร์ไซค์ของเด็กแว้น มักใส่เสื้อยืดรัดติ้ว หรือไม่ก็สายเดี่ยว เสื้อกล้าม เกาะอก ชอบใส่กางเกงขาสั้นเอวต่ำ มักผัดหน้าให้ขาววอก และจะผูกผมเป็น 2 ข้าง ส่วนริมฝีปากจะแดงระเรื่อ เครื่องประดับชิ้นสำคัญ คือ หวี และการใช้โทรศัพท์มือถือและน้ำยาอุทัยทิพย์ที่ใช้ทาปากให้แดงอยู่เสมอ ส่วนใหญ่บริเวณน่องขาของสก๊อยมักมีรอยท่อไอเสียดาด และรอยแผลเป็นประปรายตามแข้งขาเนื่องจากอุบัติเหตุ | สักอย่าง | [สัก-อย่าง] สิ่งที่ไม่รู้แต่สิ่งนั้นกำลังกระทำอยู่หรือไม่ | สิทธิบัตร | (ทดสอบ) (ว่าส่งโดย Chrome และ ส่งโดย Firefox ต่างกันหรือไม่?) | แม่ง | [แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!! | โป๊ะแตก | (phrase, slang) ความลับถูกเปิดเผย โดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เช่น ผู้ชายที่แอ๊บแมนมาตลอดแล้วเผลอหลุดสาวแตก |
| เขร | [ขะ-เร๊] (n) น้อง (เรียกชื่อเล่นตามหรือไม่ก็ได้ เช่น เขรแนน เขรแพน) |
| หรือไม่ | (ques) or not, Syn. หรือเปล่า, ไหม, Thai Definition: คำถามที่ใช้เมื่อผู้ถามไม่ทราบเรื่องราวมาก่อน | หรือไม่ | (ques) or not, Syn. หรือเปล่า, ไหม, Thai Definition: คำถามที่ใช้เมื่อผู้ถามไม่ทราบเรื่องราวมาก่อน |
| กฎหมายปิดปาก | น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. | กร่อย | (กฺร่อย) ว. ไม่จืดสนิทหรือไม่หวานสนิท เพราะมีรสเค็มเจือ, โดยปริยายหมายความว่า หมดรสสนุกหรือหมดความครึกครื้น เช่น การแสดงที่ไม่สนุกทำให้คนดูรู้สึกกร่อย. | กระจับ ๒ | น. เครื่องสวมข้อตีนม้าสำหรับหัดให้เต้นสะบัดตีน ทำด้วยหวายหรือไม้ไผ่เหลาให้กลมขดรอบข้อตีนม้า ขัดเป็นเกลียวปล่อยชายทั้ง ๒ ข้างเสี้ยมแหลมยื่นออกจากวงราว ๒ นิ้ว เพื่อกันมิให้ตีนกระทบกันเอง. | กระดาก ๑ | ก. รู้สึกขวยเขิน, วางหน้าไม่สนิท, ตะขิดตะขวงใจไม่กล้าพูดหรือไม่กล้าทำเพราะเกรงจะได้รับความอับอาย. | กระถิน | น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นไม่มีหนามชนิด Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit ในวงศ์ Leguminosae ช่อดอกกลม สีนวล ฝักแบน ใบอ่อนและฝักอ่อนใช้เป็นอาหาร, กระถินไทย กระถินบ้าน กระถินยักษ์ หรือ สะตอเบา ก็เรียก, ปักษ์ใต้เรียก ตอเบา. | กระบี่ ๒ | น. อาวุธชนิดหนึ่ง ใบแบนยาว ปลายแหลม มีคมข้างหนึ่งหรือทั้ง ๒ ข้าง ด้ามสั้น ที่ด้ามถืออาจมีโกร่งหรือไม่มีก็ได้ มีฝัก. | กระผลีกระผลาม | (-ผฺลี-ผฺลาม) ว. รีบร้อนเกินไปโดยไม่ระมัดระวังหรือไม่ถูกกาลเทศะ. | กระสอบทราย | น. ถุงผ้าใบหรือหนัง ลักษณะคล้ายหมอนข้างขนาดใหญ่ เดิมบรรจุทราย ปัจจุบันบรรจุขี้เลื่อย เศษผ้า หรือฟองน้ำ อัดแน่น เป็นอุปกรณ์อย่างหนึ่งในการฝึกซ้อมของนักมวยเพื่อฝึกการชก เตะ ขึ้นเข่า เป็นต้น, โดยปริยายเรียกผู้ที่ถูกทำร้ายร่างกายอย่างบอบช้ำ เนื่องจากถูกชก เตะ ต่อย โดยไม่มีทางสู้หรือไม่กล้าต่อสู้. | กระอูบ | น. ผอบ, ภาชนะสำหรับใส่ของ มีเชิง ฝาครอบมียอด มักทำด้วยโลหะหรือไม้กลึงเป็นต้น เช่น จึงแก้เอาเสื้อและผ้าคาดศีรษะใส่ในกระอูบคำ (ประชุมพงศ. ๑๐). | กรับ ๑ | (กฺรับ) น. เครื่องตีชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกหรือไม้เนื้อแข็ง ๒ อัน ใช้ขยับหรือตีกระทบกันสำหรับให้อาณัติสัญญาณ หรือบอกจังหวะในการขับร้องและบรรเลงดนตรี. | กรับคู่ | น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่ซีกหรือไม้แก่นเป็นคู่ สำหรับตีเป็นจังหวะในการฟ้อนรำขับร้อง. | กลบ | (กฺลบ) ก. เอาสิ่งซึ่งเป็นผงโรยทับข้างบนเพื่อปิดบัง เช่น เอาขี้เถ้าไปกลบขี้แมว, เอาดินหรือสิ่งอื่น ๆ ใส่ลงไปในที่เป็นหลุมเป็นบ่อ หรือเป็นแอ่งเพื่อให้เต็มหรือไม่ให้เห็นร่องรอย, โดยปริยายหมายความว่า ปิดบัง เช่น กลบความ, ทดแทน เช่น ให้เอาสินไหมมากลบทรัพย์นั้นเสีย (กฎ. ราชบุรี). | ก่อกวน | ก. ก่อให้เกิดความรำคาญหรือไม่สงบ. | ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. | กะบัง ๒ | น. เครื่องมือจับสัตว์นํ้าชนิดหนึ่ง ใช้เสาหรือไม้ลำปักทางซ้ายและทางขวาเรียงกันเป็นลำดับ แล้วเอาเฝือกขนาบกับเสาทั้ง ๒ ข้างอย่างเดียวกับจิบ แต่ระหว่างกลางทำร้านซึ่งสานด้วยไม้ไผ่ตลอดเป็นทางเพื่อให้ปลาเสือกตัวขึ้นแล้วเลื่อนตกลงไปในถุงอวนหรือตาข่ายที่ดักไว้ปลายทาง ต้องจับในเวลาที่นํ้าไหลเชี่ยว, กะบังรังเฝือก ก็ว่า. | กะโล่ | ชื่อหมวกกันแดดชนิดหนึ่ง ทรงคลุ่ม มีปีกแข็งโดยรอบ โครงทำด้วยไม้ฉำฉาหรือไม้ก๊อกเป็นต้นแล้วหุ้มผ้า หรือทำด้วยใบลาน เรียกว่า หมวกกะโล่. | กัน ๓ | ก. กีดขวางไว้ไม่ให้เข้ามาหรือออกไป หรือไม่ให้เกิดมีขึ้น เช่น กันฝน กันสนิม กันภัย, แยกไว้ เช่น กันเงินไว้ ๕๐๐ บาทเพื่อจ่ายในสิ่งที่จำเป็น กันเอาไว้เป็นพยาน. น. ชื่อช้างศึกพวกหนึ่ง มีหน้าที่ป้องกันและล้อมทัพ, เรียกเรือซึ่งกำหนดให้เข้ากระบวนเสด็จทางชลมารค ตั้งเป็นแถวขนาบกระบวนเรือพระที่นั่งทั้ง ๒ ข้าง ทำหน้าที่ถวายอารักขา ว่า เรือกัน. | กั้นซู่รั้วไซมาน | น. เครื่องมือชนิดหนึ่งใช้จับปลา ลักษณะเป็นถุงตาข่ายยาว ใช้หลักขนาดใหญ่ ๒ ต้น ปักห่างกันประมาณ ๖ เมตร เพื่อกางปากถุงไว้ใต้น้ำสำหรับดักปลาที่ว่ายตามกระแสน้ำลง มีไม้จริงขนาดเล็กหรือไม้รวกปักเป็นระยะออกจากปากถุงเป็นปีก ๒ ข้าง ให้ปีกกางเฉียงออกทำมุมประมาณ ๔๕-๙๐ องศา, ซู่กั้นรั้วไซมาน หรือ รั้วไซมาน ก็เรียก. | กำพราก | (-พฺราก) น. ไม้รวกหรือไม้ไผ่ที่เสี้ยมปลายให้แหลม ใช้สำหรับขุด เรียกว่า ไม้กำพราก. | กำลังช้างเผือก | น. ชื่อพรรณไม้ ๒ ชนิดย่อยของชนิด Hiptage bengalensis (L.) Kurz ในวงศ์ Malpighiaceae ขึ้นตามป่าเบญจพรรณทั่วไป ใบเดี่ยว ค่อนข้างกลมมน ขอบหยักตื้น ๆ ออกตรงข้ามกัน ดอกสีขาวอมชมพู ชนิดย่อยแรก H. bengalensis (L.) Kurz subsp. bengalensisเป็นไม้เถาเนื้อแข็ง, โนรา ก็เรียก, และชนิดย่อยที่ ๒ H. bengalensis (L.) Kurz subsp. candicans (Hook. f.) Sirirugsa เป็นไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก, พญาช้างเผือก ก็เรียก. | กินดอง | น. พิธีอย่างหนึ่ง ทำเมื่อผัวเมียมีบุตรด้วยกันคนหนึ่ง หรือไม่มีบุตร แต่ได้ทำพิธีแปลงออกครบ ๓ ปี. | กุหลาบ | ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กในสกุล Rhododendron วงศ์ Ericaceae ขึ้นตามป่าเขาในระดับสูง เช่น กุหลาบแดง ( R. simsii Planch.) กุหลาบขาว ( R. ludwigianum Hoss.). | เกลี้ยง ๑ | (เกฺลี้ยง) ว. เรียบ ๆ ไม่ขรุขระหรือไม่มีลวดลาย | เกลียว | (เกฺลียว) ว. โดยปริยายหมายความว่า ขยันขันแข็ง เช่น หากินตัวเป็นเกลียว, นํ้าหนึ่งใจเดียวกัน เช่น เข้ากันเป็นเกลียว, ในลักษณะนี้ ถ้าไม่เข้าเกลียวกัน คือแตกพวกหรือไม่ถูกกัน หรือมีความเห็นไม่ลงรอยกัน ขัดแย้งกัน เรียกว่า ปีนเกลียว. | แก้ว ๕ | น. ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดกลางชนิด Murraya paniculata (L.) Jack ในวงศ์ Rutaceae ขึ้นตามป่าดิบ กิ่งก้านสีขาว ใบสีเขียวสดเป็นมัน ดอกสีขาว กลิ่นหอม เนื้อไม้แข็งใส เหนียว มีลาย ใช้ทำด้ามมีดและไม้ถือ. | ใกล้เกลือกินด่าง | ก. มองข้ามหรือไม่รู้ค่าของดีที่อยู่ใกล้ตัวซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่ตนกลับไปแสวงหาสิ่งอื่นที่ด้อยกว่า, อยู่ใกล้ผู้ใหญ่แต่กลับไม่ได้ดี. | ไก่ไห้ | ชื่อไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็กชนิด Opuntia ficusindica (L.) Mill. ในวงศ์ Cactaceae กิ่งแบนอวบ สีเขียว ไม่มีหนาม เป็นไม้ต่างประเทศ ปลูกกันเป็นไม้ประดับ, ว่านไก่ไห้ ก็เรียก. | ขนมเทียนใบตองแห้ง | น. ขนมที่ใช้แป้งอย่างขนมเทียน มีไส้หน้ากระฉีก หรือไม่มีไส้ก็มี ห่อด้วยใบตองแห้งพับเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบน ๆ. | ข่มขืนกระทำชำเรา | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำ ชำเราบุคคลอื่น ไม่ว่าผู้กระทำหรือผู้ถูกกระทำจะเป็นชายหรือหญิง และจะเป็นคู่สมรสของตนหรือไม่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย โดยผู้ถูกกระทำอยู่ในภาวะที่ไม่สามารถขัดขืนได้ หรือโดยทำให้ผู้ถูกกระทำเข้าใจผิดว่าตนเป็นบุคคลอื่น. | ขโมย | (ขะ-) ก. ลัก, โดยปริยายหมายความว่า ลอบทำสิ่งที่ตนไม่มีสิทธิ์หรือไม่ได้รับอนุญาต เช่น เด็กขโมยสูบบุหรี่ เขาขโมยอ่านจดหมายเพื่อน. | ขยัก | (ขะหฺยัก) ก. กักหรือเก็บไว้บ้างไม่ปล่อยไปจนหมดหรือไม่ทำให้หมด. | ขวาง | รำคาญหรือไม่ถูกใจ | ขัดแตะ | ก. เรียกรั้วหรือฝาเรือนที่ใช้ไม้รวกหรือไม้ไผ่ผ่าซีกขัดกัน ว่า รั้วขัดแตะ ฝาขัดแตะ, เรียกเรือนที่มีฝาเอาไม้ไผ่ซีกสอดขัดกับลูกตั้ง ว่า เรือนฝาขัดแตะ. | ข้าวตอก ๒ | น. ชื่อไม้พุ่มชนิด Serissa japonica (Thunb.) Thunb. ในวงศ์ Rubiaceae ใบเล็กรูปไข่ เมื่อขยี้มีกลิ่นเหม็น ดอกสีขาวเล็ก ๆ เป็นพรรณไม้ต่างประเทศ ปลูกเป็นไม้ดัดหรือไม้ประดับ. | เข็ดขี้อ่อนขี้แก่ | ก. หลาบจำไม่อยากหรือไม่กล้าทำอีก. | เขม่น | รู้สึกไม่ชอบหน้า หรือไม่พอใจ. | เข้ากระดูกดำ | ว. ติดแน่นจนถอนไม่ขึ้นหรือไม่รู้ลืม. | ไข่ ๑ | น. ตัวสืบพันธุ์ประกอบด้วยเซลล์สืบพันธุ์เพศเมีย อาหาร และสิ่งห่อหุ้มซึ่งอาจจะเป็นไข่ขาว วุ้น เยื่อถุงไข่ หรือเปลือก ส่วนมากมีรูปร่างกลม จะมีตัวอ่อนภายในหรือไม่ก็ได้, ฟอง ก็เรียก, ลักษณนามว่า ฟอง ลูก หรือ ใบ | คดีมโนสาเร่ | น. คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ไม่เกินสามแสนบาท หรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา และคดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นคำฟ้องไม่เกินเดือนละสามหมื่นบาทหรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา. | คนนอก | น. บุคคลผู้ไม่มีส่วนร่วมหรือไม่มีส่วนเกี่ยวข้อง, บุคคลซึ่งไม่ใช่สมาชิก. | คร้าน | (คฺร้าน) ว. มีความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคำ ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่กับคำ เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทำงาน. | ครีม | สิ่งที่มีนํ้ามันผสมอยู่และมีลักษณะเหนียวข้นคล้ายครีม จะมีครีมผสมอยู่ด้วยหรือไม่ก็ตาม เช่น ครีมทาหน้า ครีมใส่ผม. | คว้าง | (คฺว้าง) ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมและนํ้าเป็นต้นอย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว เช่น ลอยคว้าง หมุนคว้าง | คว้างเคว้ง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินคว้างเคว้งไม่รู้จะไปไหนดี, เคว้งคว้าง ก็ว่า. | คำกล่าวโทษ | น. การที่บุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ว่ามีบุคคลรู้ตัวหรือไม่ก็ดี ได้กระทำความผิดอย่างหนึ่งขึ้น. | คำร้องทุกข์ | น. การที่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ ว่ามีผู้กระทำความผิดขึ้น จะรู้ตัวผู้กระทำความผิดหรือไม่ก็ตามซึ่งกระทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เสียหาย และการกล่าวหาเช่นนั้นได้กล่าวโดยมีเจตนาจะให้ผู้กระทำความผิดได้รับโทษ. | ค้ำ | ก. เอาไม้ง่ามเป็นต้นยันไว้เพื่อไม่ให้ทรุด ไม่ให้ล้ม หรือไม่ให้เข้ามา. | เคย ๒ | ใช้เป็นคำประกอบหน้ากริยาแสดงว่ากริยานั้น ๆ ได้เป็นมาแล้ว เช่น เคยทำ = ได้ทำมาแล้ว เคยเห็น = ได้เห็นมาแล้ว, บางทีใช้พูดละกริยาที่ประกอบเสีย เหลือแต่ว่า เคย ก็มี เช่น เคยไปหรือไม่เคย ไม่เคยเลย. | เคว้งคว้าง | ว. อาการที่หมุนหรือลอยไปตามกระแสลมกระแสนํ้าเป็นต้น อย่างไม่มีจุดหมายหรือไม่มีที่ยึดเหนี่ยว, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาเดินเคว้งคว้างไม่รู้จะไปไหนดี, คว้างเคว้ง ก็ว่า. | เคหสถาน | ที่ซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัย เช่น เรือน โรง เรือ หรือแพ ซึ่งคนอยู่อาศัย และหมายความรวมถึงบริเวณของที่อยู่อาศัยนั้นด้วย จะมีรั้วล้อมหรือไม่ก็ตาม. |
| | Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] | พระเมรุพิมาน | อาคารถาวรที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งตั้งพระบรมศพ หรือพระศพเวลาถวายพระเพลิงอัญเชิญพระบรมศพหรือพระศพจากพระเมรุพิมานไปถวายพระเพลิงที่พระเมรุ (ขนาดน้อย) อีกแห่งใกล้ ๆ หรือไม่ไกลกันมาก [ศัพท์พระราชพิธี] | ทักษิโณทก | นํ้าที่หลั่งในเวลาทําทานเพื่ออุทิศผลให้แก่ผู้ตาย, นํ้าที่หลั่งลงเป็นการแสดงว่ามอบให้เป็นสิทธิ์ขาด, นํ้ากรวด คือนํ้าที่ใช้แทนสิ่งของที่ให้ซึ่งใหญ่โตหรือไม่มีรูปที่จะหยิบยกให้ได้ เช่นวัด ศาลา บุญกุศล เป็นต้น [ศัพท์พระราชพิธี] | Petroleum | สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, สารไฮโดรคาร์บอนที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติโดยมีธาตุสองชนิดเป็นองค์ประกอบหลัก ได้แก่คาร์บอนและไฮโดรเจน โดยอาจมีหรือไม่มีธาตุอโลหะอื่นๆ เช่น กำมะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยู่ด้วยก็ได้, Example: ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของปิโตรเลียมเอง และความร้อน ตลอดจนความกดดันตามสภาพแวดล้อมที่ปิโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บไว้ แบ่งตามสถานะสำคัญทางธรรมชาติได้ 2 ชนิด คือ น้ำมันดิบ และ ก๊าซธรรมชาติ [ปิโตรเลี่ยม] | Flaring | การเผาก๊าซทิ้ง, การเผาก๊าซทิ้งซึ่งเป็นก๊าซส่วนเกินที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์หรือไม่ได้นำมาซื้อขาย หรือเนื่องมาจากเหตุผลทางเทคนิค [ปิโตรเลี่ยม] | Radon breath analysis | การวิเคราะห์เรดอนจากลมหายใจ, การตรวจหาเรดอนในลมหายใจออก เพื่อหาว่ามีเรเดียมในร่างกายหรือไม่ และมีเป็นปริมาณเท่าใด (ดู personnel monitoring ประกอบ) [นิวเคลียร์] | Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] | consensus | ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] | Normal Diplomacy | การติดต่อทางการทูตโดยวิถีทางทูตตามปกติ มักจะกระทำกันดังนี้ เมื่อรัฐบาลต้องการจะหยิบยกปัญหาขึ้นกับอีกรัฐบาลหนึ่ง ตัวรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศจะส่งคำสั่งไปยังเอกอัครราชทูตของ ประเทศตนที่ประจำอยู่ในประเทศผู้รับส่งให้ยกเรื่องนั้นขึ้นเจรจากับรัฐบาล ของประเทศผู้รับ โดยปกติเอกอัครราชทูตจะมีหนังสือทางการทูต (Diplomatic Note) เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไปยังรัฐมนตรีวาการกระทรวงการต่างประเทศ ของประเทศผู้รับนั้นก่อน หรือไม่ก็ไปพบกับรัฐมนตรีด้วยตนเอง ณ กระทรวงการต่างประเทศ การเจรจากันอาจทำให้จำเป็นต้องมีการบันทึกของทูตแลกเปลี่ยนกันขึ้น ในรูปบันทึกช่วยจำ (Aide-Memoire ) ในบางกรณี เอกอัครราชทูตจำเป็นต้องไปพูดจา ณ กระทรวงการต่างประเทศ อีกหลายครั้งกว่าจะเสร็จเรื่อง ในระหว่างนั้น เอกอัครราชทูตมีหน้าที่จะต้องรายงานผลการเจรจาแต่ะครั้งไปยังกระทรวงการต่าง ประเทศของตน และบางคราวอาจจะต้องขอคำสั่งเพิ่มเติมอีกเมื่อเกิดกรณีใหม่โดยมิได้คาดหมาย มาก่อนเป็นต้น ในขณะเดียวกันกระทรวงการต่างประเทศของประเทศผู้รับก็จะส่งคำสั่งไปยังเอก อัครราชทูตของตน แนะว่าควรดำเนินการอย่างไรเกี่ยวกับปัญหาที่กำลังเจรจากันกับรัฐบาลของ ประเทศที่ตนประจำอยู่ผลการเจรจาอาจเป็นที่ตกลงกันได้ระหว่างรัฐบาลทั้งสอง ฝ่าย หรืออาจจะจบลงด้วยภาวะชะงักงัน ( Stalemate ) หรือรัฐบาลทั้งสองอาจจะตกลงกันว่าไม่สามารถตกลงกันได้ และปล่อยให้ปัญหาคาราคาซังไปก่อน จนกว่าจะมีการรื้อฟื้นเจรจากันใหม่ บางคราวปัญหาที่ยังตกลงกันไม่ได้นั้น อาจกลายเป็นปัญหาขัดแย้งกันอย่างรุนแรงต่อไปก็ได้ [การทูต] | Palestine Question | ปัญหาปาเลสไตน์ เมื่อวันที่ 2 เมษายน ค.ศ. 1947 ประเทศอังกฤษได้ขอให้สมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ทำการประชุมสมัยพิเศษเพื่อพิจารณาปัญหาปาเลสไตน์ สมัชชาได้ประชุมกันระหว่างวันที่ 28 เมษายน ถึงวันที่ 15 พฤษภาคม ค.ศ. 1947 และที่ประชุมได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษเกี่ยวกับปาเลสไตน์ขึ้น ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศสมาชิกรวม 11 ประเทศ ซึ่งหลังจากที่เดินทางไปตรวจสถานการณ์ในภาคตะวันออกกลาง ก็ได้เสนอรายงานเกี่ยวกับปัญหาดังกล่าว รายงานนี้ได้ตั้งข้อเสนอแนะรวม 12 ข้อ รวมทั้งโครงการฝ่ายข้างมาก (Majority Plan) และโครงการฝ่ายข้างน้อย (Minority Plan) ตามโครงการข้างมาก กำหนดให้มีการแบ่งดินแดนปาเลสไตน์ออกเป็นรัฐอาหรับแห่งหนึ่ง รัฐยิวแห่งหนึ่ง และให้นครเยรูซาเล็มอยู่ภายใต้ระบบการปกครองระหว่างประเทศ รวมทั้งให้ดินแดนทั้งสามแห่งนี้มีความสัมพันธ์ร่วมกันในรูปสหภาพเศรษฐกิจ ส่วนโครงการฝ่ายข้างน้อย ได้เสนอให้ตั้งรัฐสหพันธ์ที่เป็นเอกราชขึ้น ประกอบด้วยรัฐอาหรับและรัฐยิว อันมีนครเยรูซาเล็มเป็นนครหลวงต่อมาในวันที่ 29 พฤศจิกายน ค.ศ. 1947 สมัชชาสหประชาชาติได้ประชุมลงมติรับรองข้อเสนอของโครงการฝ่ายข้างมาก ซึ่งฝ่ายยิวได้รับรองเห็นชอบด้วย แต่ได้ถูกคณะกรรมาธิการฝ่ายอาหรับปฏิเสธไม่รับรอง โดยต้องการให้มีการจัดตั้งรัฐอาหรับแต่เพียงแห่งเดียว และทำหน้าที่คุ้มครองสิทธิของคนยิวที่เป็นชนกุล่มน้อย อนึ่ง ตามข้อมติของสมัชชาสหประชาชาติได้กำหนดให้อำนาจอาณัติเหนือดินแดนปาเลสไตน์ สิ้นสุดลงและให้กองทหารอังกฤษถอนตัวออกไปโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และอย่างช้าไม่เกินวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1948 นอกจากนั้นยังให้คณะมนตรีภาวะทรัสตีของสหประชาชาติจัดทำธรรมนูญการปกครองโดย ละเอียดสำหรับนครเยรูซาเล็มจากนั้น สมัชชาสหประชาชาติได้ตั้งคณะกรรมาธิการปาเลสไตน์แห่งสหประชาชาติขึ้น ประกอบด้วยประเทศโบลิเวีย เช็คโกสโลวาเกีย เดนมาร์ก ปานามา และฟิลิปปินส์ ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อเสนอแนะของสมัชชา ส่วนคณะมนตรีความมั่นคงก็ได้รับการขอร้องให้วางมาตรการที่จำเป็น เพื่อวินิจฉัยว่า สถานการณ์ในปาเลสไตน์จักถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพหรือไม่ และถ้าหากมีการพยายามที่จะใช้กำลังเพื่อเปลี่ยนแปลงความตกลงตามข้อมติของ สมัชชาเมื่อใด ให้ถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อสันติภาพ โดยอาศัยข้อ 39 ของกฎบัติสหประชาชาติเป็นบรรทัดฐาน [การทูต] | Persona non grata | เป็นศัพท์ที่ใช้กับนักการทูตหรือผู้แทนทางการทูต ที่ประจำอยู่ในประเทศซึ่งรัฐบาลของประเทศนั้นไม่ปรารถนาให้อยู่ต่อไปอีกแล้ว หลังจากที่ได้ไปประจำทำงานในตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้น หรือก่อนหน้าที่นักการทูตผู้นั้นจะเดินทางไปถึงดินแดนของประเทศผู้รับ (Receiving State) นักการทูตที่ถูกประกาศเป็น persona non grata หรือ บุคคลที่ไม่พึงปรารถนานั้น เป็นเพราะสาเหตุดังต่อไปนี้ คือ กล่าวคำดูหมิ่นรัฐบาลของประเทศที่ตนไปประจำอยู่ ละเมิดกฎหมายของบ้านเมืองนั้น แทรกแซงในการเมืองภายในของเขา เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับกิจการภายในประเทศของเขา ใช้ถ้อยคำก้าวร้าวต่อประเทศนั้น วิพากษ์ประมุขแห่งประเทศของเขากระทำการอันเป็นที่เสียหายต่อประโยชน์หรือต่อ ความมั่นคงของประเทศ และกระทำการอื่น ๆ ในทำนองนั้นตามปกติรัฐบาลของประเทศเจ้าภาพที่เป็นฝ่ายเสียหายจะขอร้องให้ รัฐบาลผู้ส่ง (Sending government) เรียกตัวนักการทูตผู้กระทำผิดกลับประเทศ ซึ่งตามปกติรัฐบาลผู้ส่งมักจะปฏิบัติตาม รัฐบาลของประเทศผู้เสียหายจะแจ้งให้นักการทูตผู้นั้นทราบว่า รัฐบาลจะไม่ทำการติดต่อเกี่ยวข้องเป็นทางการกับเขาอีกต่อไป หรืออาจจะบอกให้นักการทูตผู้นั้นออกไปจากประเทศโดยไม่เกรงใจแต่อย่างใดก็ได้ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 9 ดังต่อไปนี้ ?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ และโดยมิต้องชี้แจงถึงการวินิจฉัยของตนว่า หัวหน้าคณะผู้แทนหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่งที่ไม่พึงโปรด หรือว่าบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ของคณะผู้แทนเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีใดเช่นว่านี้ ให้รัฐผู้ส่งเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นกับคณะผู้แทนเสียก็ได้ตามที่เหมาะสมบุคคลอาจจะ ถูกประกาศให้เป็นผู้ไม่พึงโปรด หรือไม่พึงยอกรับได้ก่อนที่จะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธ หรือไม่นำพาภายในระยะเวลาอันสมควร ที่จะปฏิบัติตามข้อผูกพันของคนภายใต้วรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับสามารถปฏิเสธที่จะยอมรับนับถือบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นว่าเป็นบุคคล ในคณะผู้แทนก็ได้? [การทูต] | Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] | R.S.V.P. | โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไป ร่วมงานหรือไม่ เป็นคำย่อมาจากภาษาฝรั่งเศสที่ว่า Répondez s'il vous plaît ซึ่งระบุในบัตรเชิญเข้าร่วมงานต่าง ๆ แปลว่า โปรดตอบให้ผู้เชิญทราบด้วยว่าผู้ได้รับเชิญจะไปร่วมงานหรือไม่ [การทูต] | Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] | Alkalinity | ปริมาณด่างอิสระทั้งหมดในน้ำยาง แสดงเป็นปริมาณแอมโมเนีย เนื่องจากส่วนใหญ่จะรักษาสภาพน้ำยางข้นด้วยสารละลายแอมโมเนีย ค่านี้จะบ่งชี้ว่าการรักษาสภาพของน้ำยางเพียงพอหรือไม่ และจะปรับไล่แอมโมเนียออกปริมาณเท่าใดเมื่อจะนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ [เทคโนโลยียาง] | Ethylene propylene diene rubber | ยาง EPDM เป็นยางสังเคราะห์ที่พัฒนามาจากยาง EPM โดยเติมมอนอเมอร์ตัวที่สาม คือ ไดอีน ลงไปเล็กน้อยในระหว่างการเกิดปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ทำให้ยางที่ได้มีส่วนที่ไม่อิ่มตัว (พันธะคู่) อยู่ในสายโซ่โมเลกุล ยางชนิดนี้จึงสามารถคงรูปได้ด้วยกำมะถัน แต่ไดอีนที่เติมลงไปไม่ได้ไปแทรกอยู่ที่สายโซ่หลักของโมเลกุล ดังนั้นสายโซ่หลักก็ยังคงเหมือนเดิมหรือไม่มีผลต่อสายโซ่หลักมากนัก จึงทำให้ยาง EPDM ยังคงมีสมบัติเด่นในเรื่องการทนทานต่อการเสื่อมสภาพอันเนื่องมาจากความร้อน แสงแดด ออกซิเจน โอโซน สารเคมี กรด ด่างได้ดีมาก และมีความยืดหยุ่นตัวได้ดีที่อุณหภูมิต่ำเมื่อเทียบกับ ยางธรรมชาติ มักใช้ทำผลิตภัณฑ์ยางที่ใช้ภายนอกเนื่องจากทนต่อสภาพอากาศได้ดีและใช้ผลิต ชิ้นส่วนยานยนต์เป็นส่วนใหญ่ เช่น ยางขอบกระจก ยางปัดน้ำฝน ท่อยางของหม้อน้ำรถยนต์ เป็นต้น นอกจากนี้ยังใช้เป็นฉนวนหุ้มสายเคเบิล สายพานลำเลียง แผ่นยางกันน้ำ แผ่นยางมุงหลังคา [เทคโนโลยียาง] | Field or Fresh latex | น้ำยางธรรมชาติที่ได้จากต้นยางพารา มีลักษณะเป็นของเหลวสีขาวคล้ายน้ำนม มีสภาพเป็นคอลลอยด์หรือสารแขวนลอย มีความหนาแน่นอยู่ระหว่าง 0.975-0.980 กรัมต่อมิลลิลิตร มีค่า pH ประมาณ 6.5-7.0 ความหนืดของน้ำยางมีค่าประมาณ 12-15 เซนติพอยส์ โดยที่จะเติมหรือไม่เติมสารรักษาสภาพ (preservative) ก็ได้ ขึ้นกับระยะเก็บก่อนที่จะนำไปทำให้เข้มข้น หรือไปผ่านกระบวนการอื่นๆ ต่อไป [เทคโนโลยียาง] | Anemia, Hypoplastic | โลหิตจางจากไขกระดูกสร้างน้อยหรือไม่สร้าง [การแพทย์] | Assay, Quantal | แบบตรวจว่ามีหรือไม่มี [การแพทย์] | Cohesive | ไหลยากหรือไม่ไหล [การแพทย์] | Defects, Receptive | ความลำบากหรือไม่เข้าใจคำพูดหรือหนังสือ [การแพทย์] | Dichotomous Outcome | เหตุการณ์เป็นชนิดเกิดหรือไม่เกิด [การแพทย์] | Education, Formal or Nonformal | ความรู้ความเข้าใจไม่ว่าทางการหรือไม่เป็นทางการ [การแพทย์] | Ego Sense | ความรู้ในขอบเขตตนเองว่าควรได้อะไรบ้างหรือไม่ควร [การแพทย์] | Fingers, Clumsiness of | ใช้นิ้วมือทำงานได้ช้าหรือไม่ได้ [การแพทย์] | DNA marker | DNA marker, ท่อนดีเอ็นเอขนาดสั้นหรือไม่ใหญ่นัก [ชีวจริยธรรม] | statistical data | ข้อมูลสถิติ, ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่เราสนใจ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | trichotomy property | สมบัติไตรวิภาค, สมบัติที่กล่าวถึงการเท่ากันหรือไม่เท่ากัน เช่น ถ้า a และ b เป็นจำนวนจริงแล้ว a = b หรือ a < b หรือ a > b อย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | decay | สลาย, กระบวนการที่นิวเคลียสกัมมันตรังสีสลายไปเป็นนิวเคลียสอื่นซึ่งอาจเป็นนิวเคลียสกัมมันตรังสีหรือไม่เป็นก็ได้ พร้อมกับให้อนุภาคหรือรังสีออกมา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | thermal equilibrium | สภาพสมดุลทางความร้อน, สภาวะที่วัตถุหรือระบบไม่มีการถ่ายโอนพลังงานความร้อนภายในวัตถุหรือระบบ หรือไม่มีการถ่ายโอนพลังงานความร้อนระหว่างวัตถุหรือระบบกับสิ่งแวดล้อม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | set | เซต, กลุ่มของสิ่งของ หรือจำนวนซึ่งมีข้อจำกัดความแน่นอน สามารถบอกได้ว่าสิ่งของ หรือจำนวนนั้นอยู่ในกลุ่มหรือไม่ เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่าสมาชิก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | calcite | แคลไซต์, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนต (CaCO3) มีสีขาว สีเทาหรือไม่มีสี มีความแข็ง 3 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | orthoclase | ออร์โทเคลส, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของสารประกอบโพแทสเซียมอะลูมิเนียมซิลิเกต สูตรเคมีคือ K(AlSi3)O8 มีสีขาว สีเทา สีแดงเข้ม หรือไม่มีสี ความแข็ง 6 เกิดปนอยู่ในหินอัคนีชนิดต่าง ๆ เช่น หินแกรนิต ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องเคลือบและอุตสาหกรรมแก้วเป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | topaz | โทแพซ, แร่ชนิดหนึ่งเป็นผลึกของสารประกอบอะลูมิเนียมฟลูออโรซิลิเกต สูตรเคมีคือAl2SiO44(F.OH)2 ความแข็ง 8 มีสีเหลือง ชมพู น้ำเงิน เขียว หรือไม่มีสี สีที่นิยมใช้เป็นแร่รัตนชาติ คือ สีเหลือง เรียกว่า บุษราคัม [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | weed | วัชพืช, พื่ชที่ไม่มีประโยชน์หรือไม่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะพืชที่แย่งอาหารพืขที่เพาะปลูกในเรือกสวนไร่นา [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | boundary test | การทดสอบค่าที่ขอบ, การเตรียมข้อมูลสำหรับทดสอบโปรแกรม โดยการค้นหาว่าช่วงของข้อมูลที่ถูกต้องคืออะไร แล้วเตรียมข้อมูลทดสอบที่มีค่าอยู่ตรงขอบของช่วงดังกล่าวพอดี เพื่อเป็นการตรวจสอบว่าโปรแกรมจัดการกับข้อมูลดังกล่าวได้อย่างถูกต้องหรือไม่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | solution of the equation | คำตอบของสมการ, ค่าของตัวแปรในสมการที่ทำให้สมการเป็นจริง คำตอบของสมการอาจมีมากกว่าหนึ่งคำตอบ หรือไม่มีคำตอบเลยก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] | Limb Defects | แขนขาเล็กลีบหรือไม่มี [การแพทย์] |
| หรือไม่ | [reū mai] (x) EN: or not ? ; vel non FR: ou non ? ; si oui ou non | ว่า...หรือไม่ | [wā … reū mai] (x) FR: si oui ou non |
| longdo | (n) ชื่อของบริการนี้ มาจากภาษาไทยว่า ลองดู มาจากแนวคิดที่ว่า แนวคิดนี้อาจจะดีหรือไม่ดี ประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ก็ไม่แน่ ลองดูเลยดีกว่า | downplay | (vt) แสดงหรืออธิบายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยแสร้งว่าไม่สำคัญหรือไม่แย่นัก เช่น Homeland Security officials downplay need for antiterrorist center. | fitting box | (n) ห้องหรือตู้ในร้านขายเสื้อผ้า สำหรับให้ผู้ซื้อเสื้อผ้าเปลี่ยนจากเสื้อผ้าที่ตนสวมใส่ มาลองสวมใส่เสื้อผ้าที่จะซื้อเพื่อการตัดสินใจว่าพอเหมาะหรือเป็นไปตามที่ตนต้องการหรือไม่, See also: locker room American, Syn. changing room | woke | (adj, slang) ตื่นตัวกับเรื่องข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางสังคม เช่น การเหยียดผิว, ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม โดยอาจจะมีหรือไม่มีข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจน |
| ah | (int) ฮ้า (คำอุทานแสดงความรู้สึกยินดี, พอใจ, เสียใจหรือไม่เห็นด้วยกับคนอื่น), See also: ความเจ็บปวด, ความประหลาดใจ | animal-free | (adj) ซึ่งไม่ใช้หรือไม่ได้บรรจุผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบจากสัตว์ | anorexia | (n) ภาวะไร้ความอยากอาหารหรือไม่สามารถรับประทานอาหารได้ | account for preferences | (idm) สามารถอธิบายได้ว่าชอบหรือไม่ชอบ | account for tastes | (idm) สามารถอธิบายได้ว่าชอบหรือไม่ชอบ | bummer | (n) สถานการณ์ที่น่าผิดหวังหรือไม่พอใจ | be hell-bent on | (phrv) พยายามให้ได้ (บางสิ่ง) มาอย่างไม่ย่อท้อหรือไม่หยุดหย่อน (คำไม่เป็นทางการ) | breathe on | (phrv) มีความคิดที่แย่หรือไม่ดีเกี่ยวกับ, Syn. breathe upon | breathe upon | (phrv) มีความคิดที่แย่หรือไม่ดีเกี่ยวกับ, Syn. breathe on | contingent | (adj) ที่อาจจะเกิดหรือไม่เกิดขึ้น, Syn. possible | deal by | (phrv) ได้รับการปฏิบัติอย่างดีหรือไม่ด (มักใช้รูป passive voice) | draw a veil over | (phrv) ปฏิเสธที่จะคุยในเรื่อง (ผิดหรือไม่ถูกต้อง) | frown at | (phrv) ขมวดคิ้ว (ไม่พอใจหรือไม่เห็นด้วย) | defeatism | (n) แนวคิดหรือการกระทำของผู้ยอมรับหรือคาดว่าจะพ่ายแพ้หรือไม่ประสบความสำเร็จ, See also: การยอมรับความล้มเหลว | edentate | (n) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่ไม่มีฟัน, See also: สัตว์จำพวก Edentata มีฟันเล็กน้อยหรือไม่มีฟันเช่น ตัวกินมด | gabble off | (phrv) พูดเจื้อยแจ้วอย่างไม่รู้ความหมาย, See also: พูดรัวและไม่ใส่ใจหรือไม่สนใจ | gamble away | (phrv) เล่นไพ่อย่างต่อเนื่องหรือไม่หยุดหย่อน, Syn. game away | game away | (phrv) เล่นไพ่อย่างต่อเนื่องหรือไม่หยุดหย่อน, Syn. gamble away | get off | (phrv) เริ่ม (บางสิ่ง) ได้ดีหรือไม่ดี | get off | (phrv) บอกให้เลิกทำหรือไม่ทำ | glare at | (phrv) จ้องมองอย่างเกลียดชัง (แต่ไม่กลัวหรือไม่เกรง) | go badly | (phrv) ไม่สำเร็จ, See also: ดำเนินไปอย่างแย่ๆหรือไม่ดี, Ant. go well | go without | (phrv) เดินทางไปโดยปราศจาก, See also: ไปโดยไม่เอาหรือไม่มี | hold back | (phrv) ทำให้ถดถอย, See also: ถอยกลับ, ทำให้ไม่พัฒนาหรือไม่ก้าวหน้า, Syn. keep back | hoot down | (phrv) ปฏิเสธหรือไม่ยอมรับต่อสาธารณชน, Syn. howl down | hoot off | (phrv) ปฏิเสธหรือไม่ยอมรับต่อสาธารณชน, Syn. howl down | howl down | (phrv) ทำให้เสียงดังเพราะโกรธหรือไม่เห็นด้วย, Syn. hoot down | I don't know about | (idm) (ฉัน) สงสัยหรือไม่แน่ใจ | Hobson's choice | (idm) ทางเลือกระหว่างสิ่งที่เสนอมาให้หรือไม่ได้รับอะไรเลย | on the loose | (idm) วิ่งไปรอบๆ (อย่างอิสระหรือไม่ถูกล่าม) (คำไม่เป็นทางการ) | smell of the lamp | (idm) (หนังสือ) ที่ได้รับการปรับปรุงจนไม่เหลือรูปแบบเดิม หรือไม่เป็นธรรมชาติมากนัก | kick back | (phrv) จ่ายคืน (อย่างลับๆ หรือไม่ถูกกฎหมาย), See also: จ่ายเงินให้, Syn. pay off, rake off | land in | (phrv) ได้รับสิ่งยุ่งยากหรือไม่น่าพอใจ, Syn. end up, fetch up, finish up | live to | (phrv) ดำรงชีวิตอยู่ตามลำพัง (โดยไม่ต้องการเพื่อนหรือไม่ผูกมิตรกับคนอื่น) | live with | (phrv) เรียนรู้ที่จะยอมรับ (สิ่งที่ไม่ชอบหรือไม่ต้องการ) | lumber with | (phrv) บังคับให้ยอมรับ (สิ่งที่ไม่อยากทำหรือไม่ต้องการ), Syn. land with | jog | (n) พื้นผิวที่ไม่เรียบหรือไม่สม่ำเสมอ, See also: รอยบากหรือสิ่งที่นูนออกมา, Syn. projection, notch | knavery | (n) ความไม่ซื่อสัตย์ (คำเก่า), See also: พฤติกรรมไม่น่าไว้วางใจหรือไม่น่าเชื่อถือ, Syn. triclery, deception, Ant. honesty | maladministration | (n) การจัดการที่ไม่ดีหรือไม่ซื่อสัตย์, See also: การปรับตัวไม่ดี, การจัดการไม่มีประสิทธิภาพ, Syn. mismanagement, misrule | maldistribution | (n) การแบ่งปันที่ไม่เหมาะสมหรือไม่เพียงพอ | OK | (int) ใช้วางหลังประโยคบอกเล่าเพื่อถามว่าเห็นด้วยหรือตกลงหรือไม่ | oversight | (n) ความผิดพลาดเพราะละเลยหรือไม่สังเกต, Syn. mistake, error, Ant. correctness | palpitation | (n) อัตราการเต้นของหัวใจเร็วหรือไม่สม่ำเสมอ, Syn. tremble, pulsation | plateau | (n) ช่วงของการเจริญเล็กน้อยหรือไม่เจริญ, Syn. period, interval | ride roughshod over | (idm) ปฏิบัติกับ (บางคน) อย่างเลวร้ายหรือไม่คำนึงถึงความรู้สึก | blow-off | (sl) สิ่งที่ทำได้ง่ายหรือไม่เหนื่อยยาก | shrug | (vi) ยักไหล่เพื่อแสดงความไม่สนใจหรือไม่ทราบ, Syn. jerk | shrug | (vt) ยักไหล่แสดงความไม่สนใจหรือไม่ทราบ, Syn. jerk | time off | (n) ช่วงวันหยุดหรือไม่ไปทำงาน, Syn. holiday, vacation | unhealthiness | (n) การมีสุขภาพไม่ดีหรือไม่แข็งแรง, Syn. illness |
| abusage | (อะบิว' เซจ) n. การใช้ศัพท์อย่างฟุ่มเฟือย, ศัพท์ที่ผิดหรือไม่เหมาะสม | acampsia | การแข็งทื่อหรือไม่เคลื่อนตัวของข้อต่อ | achromatise | (อะโคร' มาไทซ) ทำให้ติดสีย้อมไ่ดีหรือไม่ได้ | alpha test | การทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะมีข้อความบ่งบอกไว้ว่า เป็น alpha version หมายความว่า รุ่นทดสอบรอบแรก ดู beta version ประกอบ | alpha version | รุ่นทดสอบรอบแรกหมายถึง การนำเอาโปรแกรมสำเร็จที่เขียนเสร็จใหม่ ๆ ไปให้ "กลุ่มลูกค้าประจำ" ทดลองใช้ดูก่อน หรือพูดง่าย ๆ ว่า ให้ช่วยเป็นผู้ตรวจสอบเบื้องต้นให้ เพื่อจะดูว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้นนั้นใช้ได้ดีหรือไม่ ยังขาดตกบกพร่องอะไรบ้าง หรือมีปัญหาในเรื่องใด โดยปกติแล้ว การทดลองนำไปใช้ครั้งแรกนี้ จะยังมีเรื่องที่ต้องแก้ไขอีกมาก โปรแกรมดังกล่าวจะต้องมีข้อความบ่งบอกไว้ว่าเป็นรุ่นทดสอบรอบแรก มีความหมายเหมือน alpha testดู beta version ประกอบ | ametropia | (แอมมิโทร' เพีย) n. ภาวะผิดปกติของตาที่มีภาพไม่ตกที่เรตินา เนื่องจากตาขาดอำนาจหักเหทำให้สายตาสั้นหรือสายตายาวหรือไม่ชัด. -ametropic adj. -ametrope n. | amoral | (อะมอ' เริล) adj. ไร้ศีลธรรม, ไร้หรือไม่ยึดในกฎเกณฑ์. -amorality n. | anesthetic | (แอนเนสเธท' ทิค) n., adj. เกี่ยวกับหรือสามารถทำให้เกิดการชาหรือไม่รู้สึกตัว, ยาชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, Syn. anodyne, analgesic | anorexia | (แอนนะเรค' เซีย) n. ภาวะไร้ความอยากอาหารหรือไม่สามารถรับประทานอาหารได้ -anorectic adj. (lack of appetite) | anti-intellectual | (แอนทีอินเทลเลค' ซวล) adj. , n. ซึ่งต่อต้านหรือไม่ชอบปัญญาชน, ผู้ที่ต่อต้านหรือไม่ชอบปัญญาชน | antisocial | (แอนทีโซ' เชียล) adj. ต่อต้านสังคม, เบื่อหน่ายสังคม, เป็นปฏิปักษ์ หรือไม่เป็นมิตรกับผู้อื่น. -antisocialistic adj. | apathetic | (แอพพะเธท'ทิค) adj. มีหรือแสดงอารมณ์เล็กน้อยหรือไม่มีอารมณ์, สนใจหรือมีความเป็นห่วงน้อย., Syn. unfeeling, indifferent, Ant. concerned, caring, moving | ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล | babble | (แบบ'เบิล) vt., vi. พูดไม่ชัด, พูดพล่าม, พูดไม่เป็นสาระ, พูดจ้อ, เปิดเผยความลับ n. การพูดพล่ามหรือไม่เป็นสาระ, ถ้อยคำไม่เป็นสาระ | babbling | (แบบ'บลิง) n. การพูดพล่าม, การพูดไม่เป็นสาระ, การพูดไม่ชัด adj. ซึ่งพูดพล่ามหรือไม่ชัด | baud | (บอด) เป็นหน่วยวัดความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็ม 1 บอดเท่ากับจำนวนบิตที่ส่งได้ใน 1 ครั้ง ถ้าส่งได้ครั้งละ 2 บิต 1 บอดก็จะเท่ากับ 2 บิต โมเด็มจะดีหรือไม่ ก็ดูที่ความเร็วจากหน่วยวัดนี้ โดยปกติ เท่าที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน มีขนาดความเร็ว 300 บอด (ประมาณ 37 ตัวอักษร) และ 1, 200 บอด (ประมาณ 150 ตัวอักษร) | binary variable | ตัวแปรฐานสองตัวแปรที่อาจเป็นค่าใดค่าหนึ่งในสองค่า เช่น จริงหรือไม่จริง ศูนย์หรือหนึ่ง เป็นต้น | bohunk | (โบ'ฮังคฺ) n. คนงานต่างชาติที่ไม่มีความชำนาญหรือไม่ค่อยชำนาญ | bug | (บัก) { bugged, bugging, bugs } n. แมลง, เชื้อจุลินทรีย์, ความบกพร่อง, แฟน, คนคลั่ง, เครื่องดักฟัง, ความคลั่ง, เหยื่อตกปลาที่คล้ายแมลง vt. รบกวน, ติดตั้งเครื่องดักฟังในที่ลับ, Syn. fault, defect จุดบกพร่องหมายถึง ปัญหาที่เกิดขึ้นกับโปรแกรมอันเนื่องมาจากคำสั่งในโปรแกรมนั้นเอง ซึ่งทำให้การทำงานของโปรแกรมไม่ถูกต้อง มีข้อผิดพลาด หรือไม่ราบรื่นเท่าที่ควร นอกจากปัญหาเกี่ยวกับโปรแกรมแล้ว อาจเป็นปัญหาเกี่ยวกับตัวเครื่องก็ได้ คำนี้มาจากคำ bug ที่แปลว่า ตัวด้วง ตัวแมลง ที่ชอบทำให้คอมพิวเตอร์สมัยก่อนเสีย เกิดการลัดวงจรขึ้น การแก้ไขจุดบกพร่องของโปรแกรม จึงใช้คำว่า "debug" | by-talk | n. การพูดจาเล็กน้อยหรือไม่เกี่ยวข้อง | chicken | (ชิค'เคิน) n. ลูกไก่, ลูกนก, ลูกเป็ด, เด็ก, ผู้ที่อายุน้อย, ผู้ที่ด้อยประสบการณ์, เนื้อไก่, เนื้อนก, เนื้อเป็ด. -adj. ทำด้วยเนื้อไก่ -vi. chicken out หดหนีหรือไม่ทำเพราะความกลัว, Syn. sissy | data fork | ส่วนข้อมูลแฟ้มข้อมูลที่ใช้บนเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุก ๆ แฟ้มจะประกอบด้วยสองส่วน ส่วนที่หนึ่งนั้น เรียกว่า ส่วนข้อมูล (data fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อมูลจริง ๆ ที่โปรแกรมนั้น ๆ จะต้องใช้ ส่วนที่สองเรียกว่า ส่วนทรัพยากร (resource fork) หมายถึงส่วนที่เป็นข้อคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกว่าโปรแกรม ซึ่งจะเป็นตัวทำงานให้ หรือไม่ก็เป็นสิ่งจำเป็นที่จะต้องมีไว้ เพื่อให้ใช้โปรแกรมนั้น ๆ ได้ครบถ้วน เช่น การกำหนดแบบอักษร (font) สัญรูป (icon) รายการเลือก (menu) เป็นต้น | defilade | (ดิฟี'เลด) n. การป้องกันหรือปิดบัง. vt. ปิดบัง (ไม่ให้ถูกลูกปืนข้าศึกหรือไม่ให้ข้าศึกเห็น) | discomfortable | (ดิสคัม'เฟิร์ททะเบิล) adj. ซึ่ง ไม่สะดวกสบาย, ซึ่งทำให้ลำบากหรือไม่สะดวก | doc | (ดอค) n. ดูdoctor, คำสั้น ๆ ที่ใช้เรียกนายแพทย์ ทันตแพทย์ หรือสัตวแพทย์ abbr. II-deoxycorticosterone ด็อก <คำอ่าน>ย่อมาจากคำว่า document มักใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มข้อมูลหรือ แฟ้มเอกสาร (.doc) ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word ซึ่งเป็นโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ | document file | แฟ้มเอกสารหมายถึง แฟ้มข้อมูลประเภทหนึ่ง ซึ่งสร้างขึ้นโดยใช้โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) แฟ้มเอกสารประเภทนี้จะประกอบด้วยข้อความที่เป็นตัวหนังสือ อาจมีภาพด้วยหรือไม่ก็ได้ เป็นแฟ้มที่ต้องมีการจัดรูปหน้าไว้เรียบร้อย มักใช้นามสกุล (file type) ว่า .docดู non document file เปรียบเทียบ | dry running | การตรวจสอบ (โปรแกรม) นอกเครื่องหมายถึง การตรวจสอบดูชุดคำสั่งในเชิงตรรกะ และการใช้รหัสคำสั่งจากผังงาน (flowchart) และคำสั่งข้อเขียน เพื่อดูว่า ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นถูกต้องหรือไม่ก่อนที่จะนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขสมมติใส่เข้าไปก็ได้ ในบางครั้ง ใช้คำว่า การไล่สอบบนโต๊ะทำงาน (desk check) | eke | (อีค) { eked, eking, ekes } vt. เพิ่ม, ขยาย, ยืด, ทำให้ยาวขึ้น adv. ด้วย, อีกด้วย -Phr. (eke out ชดเชยส่วนที่ขาดไปหรือไม่ สมบูรณ์, ผดุงไว้) | emulation | การเลียนแบบหมายถึง การเลียนแบบ ไม่ว่าจะเป็นการทำโปรแกรม การทำเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือบริภัณฑ์รอบข้าง (peripherals) เช่น เราพูดได้ว่า เครื่องพิมพ์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ส่วนใหญ่เลียนแบบ Epson หรือไม่ก็ Hewlett Packard LaserJet อย่างนี้ เป็นต้น | frumpy | (ฟรัม'พี) adj. ซึ่งแต่งตัวมอซอ หรือไม่ทันสมัย., See also: frumpily adv. frumpiness n., Syn. dowdy, shabby, Ant. stylish | hacker | (แฮค' เคอร์) n. ผู้ที่ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ, ผู้ที่สนใจเรียนรู้คอมพิวเตอร์อย่างจริงจังจนเกินไป, คำนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกพวกที่มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น แอบขโมยข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย หรือแอบแก้ตัวเลขในธนาคารเพื่อถอนเงินออกมาใช้เอง คำว่า hack อาจหมายถึงการแอบปรับแก้หรือดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่ก็แก้แล้วยิ่งกลับทำให้แย่ลง | hypertext | ข้อความหลายมิติหมายถึง การเรียกหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่ต้องการรู้ ให้แสดงบนจอภาพ ซึ่งอาจมีทั้งข้อความที่ใช้อธิบาย หรือบางทีจะมีภาพประกอบ มีเสียง หรือมีการแสดงการเคลื่อนไหว ฯ ใช้มากในโฮมเพจต่าง ๆ ในอินเตอร์เน็ต ส่วนมาก คำที่จะมีคำอธิบายเช่นนี้ มักจะเป็นคำที่ขีดเส้นใต้ไว้ หรือไม่ก็เป็นตัวดำหนา เมื่อลากเมาส์ไปวางที่คำเหล่านี้ ตัวชี้ตำแหน่งจะเปลี่ยนเป็นนิ้วชี้ ถ้ากดเมาส์ ก็จะมีรายละเอียดมาอธิบายให้ หรือจะโยงไปหารายละเอียดของเรื่องนั้น ๆ | incremental back up | การสำรองเพิ่มขึ้นหมายถึง กระบวนการของการคัดลอกแฟ้มข้อมูล ซึ่งเพิ่งสร้างเสร็จใหม่ ๆ หรือไม่ก็เป็นแฟ้มที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ หลังจากที่ได้คัดลอกทำสำรองไปแล้วชุดหนึ่ง | lubber | (ลับ'เบอะ) n. คนอุ้ยอ้าย ร่างใหญ่ และทึ่ม, กะลาสีเรืออุ้ยอ้ายหรือไม่ชำนาญ. adj. ซุ่มซ่าม, อุ้ยอ้าย โง่., See also: lubberly adv., adj. ดูlubber lubberliness n. ดูlubber, Syn. lout, landlubber | magnetic storage | หน่วยเก็บแม่เหล็กหน่วยเก็บข้อมูลที่มีคุณสมบัติของการเป็นแม่เหล็ก ไม่ว่าจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดในตัวเครื่องคอมพิวเตอร์หรือไม่ก็ตาม เช่น แกนแม่เหล็ก (magnetic core) หรือสื่อต่าง ๆ ที่เป็นแม่เหล็ก เช่นแถบบันทึกแม่เหล็ก (magnetic tape) จานแม่เหล็ก (magnetic disk) ฯลฯ | malpractice | (แมลแพรค'ทิส) n. การปฏิบัติหน้าที่บกพร่องหรือไม่ถูกต้อง, การประกอบโรคศิลปะที่บกพร่องหรือไม่ถูกต้อง, การประพฤติผิด | mercy killing | n. การตายอย่างสงบหรือไม่เจ็บปวด, การฆ่าหรือทำให้ตายอย่างสงบ., Syn. euthanasia | mess | (เมส) n. ภาวะที่ยุ่งเหยิง, ความสับสน, สถานการณ์ที่ลำบากใจ, บุคคลที่กำลังมีเรื่องยุ่ง. vt. ทำยุ่ง, ทำให้สกปรกหรือไม่เป็นระเบียบ. vi. ร่วมรับประทานอาหาร, ทำสกปรกหรือทำยุ่ง. -Phr. (mess around (about) เที่ยวยุ่ง ปล่อยเวลาให้ล่วงเลยไปโดยเปล่าประโยชน์) | misanthropy | (มิสแอน'ธระพี) n. ความเกลียดชังมนุษย์, ความไม่ชอบหรือไม่ไว้วางใจมนุษย์ | misconduct | (มิสคอน'ดัคทฺ) n. ความประพฤติที่ผิดหรือไม่เหมาะสม, การกระทำผิด. vt. ประพฤติผิด, กระทำผิด, Syn. malfeasance | misrule | (มิสรูล') n. กฎที่เลว, การปกครองที่เลวหรือไม่ฉลาด, ความไม่มีระเบียบแบบแผน vt. ปกครองไม่ดี, จัดการไม่ได้, Syn. mismanagement | misuse | (n. มิสยูซฺ'v. มิสยูซ) n., v. (การ) ใช้ในทางที่ผิดหรือไม่สมควร. | monkey business | พฤติกรรมที่ไม่เอาจริงเอาจังหรือไม่สุจริต | notion | (โน'เชิน) n. ความนึกคิด (ที่คลุมเครือหรือไม่สมบูรณ์) , ความคิดเห็น, ความเชื่อ, สิ่งประดิษฐ์, See also: notions n. ของเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับ ขาย. ., Syn. idea | off-the-cuff | (ออฟ'เธอะคัฟ) adj. ซึ่งเตรียมตัวมาน้อยหรือไม่ได้เตรียมตัวมาเลย | paresis | (พะรี'ซิส) n. ภาวะอัมพาตบางส่วนหรือไม่สมบูรณ์ | paretic | (พะเรท'ทิค) adj., n. (ผู้) เป็นอัมพาตหรือเหน็บชาบางส่วนหรือไม่สมบูรณ์ | plateau | (แพลท'โท) n. ที่ราบสูง, ช่วงระยะที่มีการเจริญเล็กน้อยหรือไม่มีการเจริญ. vi. ถึงระยะที่มีการเจริญเล็กน้อยหรือไม่มีการเจริญ pl. plateaus, plateaux, Syn. tableland | post | (โพสทฺ) n. เสา, หลัก, ตำแหน่ง, หน้าที่, ที่มั่น, การไปรษณีย์, ไปรษณียภัณฑ์, เที่ยวเมล์, ที่ทำการไปรษณีย์, vt. ปิดประกาศ, ประกาศ, ประจาน, จัดกำลัง, แต่งตั้งให้ประจำตำแหน่ง vt. ใส่จดหมายลงในตู้ไปรษณีย์, ส่งจดหมาย, ย้าย, แจ้ง. vi. ขี่ม้าเร็ว, เดินทางอย่างรวดเร็ว. adv. รีบเร่ง, โดยทางไปรษณีย์, โพสต์ <คำอ่าน>ย่อมาจาก power-on self-test เป็นแบตเตอรี่ตัวหนึ่งในพีซี ที่จะทำหน้าที่ทันทีที่เมื่อมีการเปิดสวิตช์เครื่องคอมพิวเตอร์ โดยทำการตรวจสอบขั้นต้นให้ว่า อุปกรณ์ ทุกชิ้นทำงานได้ตามปกติหรือไม่ หากมีส่วนใดไม่ปกติ ก็จะแสดงข้อความระบุความ ผิดพลาด (error message) ให้บนจอภาพ และจะรอจนกว่าจะมีการสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมีการแก้ไข เสร็จแล้วจึงจะทำงานต่อ | pottage | (พอท'ทิจฺ) n. น้ำแกงข้นใส่ผัก (และเนื้อหรือไม่มีเนื้อ) |
| | Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด | arm's length transaction | ธุรกรรมระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายที่มีความสัมพันธ์หรือเป็นเครือเดียวกัน แต่ดำเนินธุรกรรมเสมือนไม่ได้มีความเกี่ยวพันกัน ด้วยเหตุนี้จึงไม่มีปัญหาเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อน หรือบางครั้งอาจหมายถึงธุรกรรมระหว่างคู่สัญญาที่ต่างไม่มีความสัมพันธ์หรือไม่อยู่ในเครือเดียวกัน | bailout | (n) สถานการณ์ที่ธุรกิจ บุคคลส่วนตัว หรือ รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือแก่ธุรกิจที่ล้มเหลว เพื่อที่จะป้องกันผลลัพธ์ที่จะตามมาจากความหายนะของธุรกิจ การช่วยเหลือมีหลายรูปแบบ เช่น สินเชื่อ พันธบัตร หุ้น หรือ เงินสด ในเงื่อนไขที่จะคืนหรือไม่ก็ตาม | fallback | (n) บุคคลหรือสิ่งที่เป็นทางเผื่อเลือก สำหรับกรณีตัวเลือกหลักนั้นขาดหายหรือไม่สามารถใช้การได้ | financial distress | (n) (การเงิน) ภาวะที่ประสบความยากลำบาก, หรือไม่สามารถทำตามภาระผูกพันได้ เช่น ไม่สามารถชำระหนี้ที่กู้ไปได้, ความตกต่ำทางการเงิน (จากการมีเงินไม่เพียงพอ), ปัญหาทางการเงิน, ปัญหาที่อาจนำไปสู่การล้มละลาย (กรณีบริษัท) e.g. Member countries face acute financial distress., See also: bankruptcy, recession, depression | Hedge | (n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator | infarction | [อิน ฟาร์ค ชั่น] (n) เป็นการตายของเนื้อเยื่อ (necrosis)เนื่องจากบริเวรที่เกิดปัญหามีเลือดไปหล่อเลี้ยงไม่เพียงพอหรือไม่มีเลือดไปเลี้ยงเลยทำให้เกีดเป็นบริเวณเนื้อตาย อาจเกีดจากการอุดตัน การแตกของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยง ซึ่งรอยโรคที่เกิดจากพภาวะดังกล่าวเรียกว่า an infarct (มาจากภาษาลาตินคำว่า infartus "อุดตัน.) ตัวอย่าง cerebral infarction "เนื้อสมองตายจากการขาดเลือดไปเลี้ยง" | Magnetic resonance cholangiopancreatography (MRCP) | เป็นเทคนิคการถ่ายภาพทางการแพทย์ที่ใช้การถ่ายภาพสะท้อนแบบแม่เหล็กเพื่อแสดงให้เห็นถึงน้ำดีและท่อตับอ่อนในลักษณะที่ไม่รุกราน ขั้นตอนนี้สามารถใช้ในการตรวจสอบว่านิ่วในท่อที่อยู่รอบถุงน้ำดีหรือไม่ | pay lip service to | เคารพ (อย่างไม่จริงใจหรือไม่เลื่อมใสอย่างแท้จริง) | plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช | plant diseases | การทำงานทางสรีระวิทยาที่ผิดปกติไปจากเดิม หรือในระบบพืชผิดปกติ เป็นผลมาจากกรระคายเคืองอย่างต่อเนื่อง และยาวนานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตที่ก่อให้เกิดโรคแก่พืช | whether | (conj) ถ้า...หรือไม่ |
| 予実 | [よじつ, yojitsu] มาจาก2คำคือ 予測+実績=予実 หมายความว่า เป็นการเปรียบเทียบผลการทำงานว่า Plan กับ Actual มีข้อแตกต่างกันหรือไม่ |
| 確からしさ | [たしからしさ, tashikarashisa] (n, phrase) ถูกต้องหรือไม่ | アノレクシア | [あのれくしあ, anorekushia] (n) ภาวะไร้ความอยากอาหารหรือไม่สามารถรับประทานอาหารได | 無関心 | [むかんしん, mukanshin] (adj) (แอพพะเธท'ทิค) adj. มีหรือแสดงอารมณ์เล็กน้อยหรือไม่มีอารมณ์, สนใจหรือมีความเป็นห่วงน้อย., S. unfeeling, indifferent ###A. concerned, caring, moving) |
| 軽んじる | [かろんじる, karonjiru] TH: ดูถูกหรือไม่ให้ความสำคัญ EN: to look down on |
| ob | ว่าจะ-หรือไม่ คล้าย if หรือ whether ในภาษาอังกฤษ | Der hat nicht alle Tassen im Schrank. | (phrase, slang) เขาเป็นคนไม่ค่อยเต็มเต็ง, หรือไม่ค่อยเต็มบาท | ersparen | (vt) |ersparte, hat erspart| ประหยัดเวลาหรือหลีกเลี่ยงเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ Wenn du ihn nicht zurückschreibst, kannst du dir die Aufregung ersparen. ถ้าเธอไม่เขียนตอบเขากลับไป เธอก็สามารถลดการรบกวนหรือไม่ต้องมาหงุดหงิดอีก | üben | (vi, vt) |übte, hat geübt| ฝึก, ฝึกฝน เช่น Gehst du heute Karate üben? วันนี้เธอไปฝึกคาราเต้หรือไม่ | Autobahn | (n) |die, pl. Autobahnen| ทางด่วน, ถนนแบบมีสองฝั่ง รถสวนกันวิ่งคนละฝั่ง ไม่มีสี่แยกไฟแดงหรือรถเลี้ยวตัด ทางแยกออก หรือแยกเข้า จะทำเป็นทางยกระดับ หรือไม่ก็ลอดใต้ดินไป รถวิ่งได้ตลอดไม่มีหยุด เริ่มสร้างครั้งแรกในประเทศเยอรมนี ปัจจุบันในประเทศอื่นๆ เรียกกันด้วยชื่อต่างๆ กันไป เช่น Express way (ทางด่วน), Motorway (ทางสำหรับรถ), Freeway (แปลตรงตัวคือ ทางที่วิ่งแล้วไม่ต้องเสียตังค์), Tollway (แปลตรงตัวก็คือวิ่งแล้วต้องเสียต้งค์), highway, superhighway |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |