ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*ผู้นำ*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ผู้นำ, -ผู้นำ-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Longdo Dictionary ภาษา ญี่ปุ่น (JP) - ญี่ปุ่น (JP) (UNAPPROVED version -- use with care )
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
政権交代[せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้)

Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
ผู้นำ(n) leader, See also: chief, captain, boss, head, ruler, Syn. หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, Ant. ผู้ตาม, ลูกน้อง, Example: ประชาชนต่างต้องการผู้นำประเทศที่เข้มแข็ง, Count Unit: คน, Thai Definition: คนชักจูงให้ผู้อื่นทำตาม
ผู้นำทาง(n) guide, Syn. คนนำทาง, Example: เราจ้างชาวบ้านคนหนึ่งให้เป็นผู้นำทางในการเดินป่า
ผู้นำฝูง(n) leader, See also: ringleader, chief, head, chieftain, Syn. จ่าฝูง, หัวหน้าฝูง, Example: บุคคลที่ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้นำฝูง จะต้องมีความรับผิดชอบและแข็งแกร่งพอสมควร, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มหรือพวกพ้อง ใช้กับกลุ่มคนหรือสัตว์ เป็นต้น
ผู้นำเข้า(n) importer, Ant. ผู้ส่งออก, Example: สหรัฐฯ กำหนดโทษจำคุก 6 เดือนสำหรับผู้นำเข้าปลาชะโด, Count Unit: ราย, Thai Definition: ผู้ประกอบธุรกิจด้านการนำสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาจำหน่ายภายในประเทศ
ภาวะผู้นำ(n) leadership, Example: การที่เขายังสามารถกุมกลไกภายในพรรคได้อย่างสมบูรณ์ เป็นการตอกย้ำภาวะผู้นำภายของเขาให้แน่นกระชับเข้ามาอีก, Thai Definition: สภาพหรือสถานะที่เป็นหัวหน้าผู้อื่น
ผู้นำประเทศ(n) leader, See also: ruler, head, chief, Example: ทางการจัดต้อนรับผู้นำประเทศทั่วโลกที่มาประชุม อย่างยิ่งใหญ่สมเกียรติ, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่เป็นหัวหน้าคณะบริหารงานแผ่นดินภายในประเทศและมีหน้าที่เป็นตัวแทนติดต่อกับต่างประเทศ
ผู้นำรัฐบาล(n) government leader, See also: head of government, Example: สื่อมวลชนในประเทศไทยมีเสรีภาพในการวิพากษ์วิจารณ์นักการเมือง ผู้นำรัฐบาล หรือบุคคลสาธารณะอื่นๆ ภายใต้ทฤษฎีเสรีนิยม, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่มีอำนาจมากที่สุดในรัฐบาล
ความเป็นผู้นำ(n) leadership, See also: chiefdom, Syn. ความเป็นหัวหน้า, Ant. ความเป็นผู้ตาม, Example: ผู้บริหารระดับกลางควรผ่านการฝึกความเป็นผู้นำก่อน

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
ผู้นำจับน. บุคคลผู้มิใช่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งนำความมาแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ทำการจับกุมผู้กระทำความผิด.
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎรน. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ.
กบเต้นน. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยาใช้ขับร้องและบรรเลงตอนโศกเศร้า ต่อมามีผู้นำไปทำเป็นเพลงเถา.
กระแตไต่ไม้ ๑ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม.
การเวก ๒(การะ-) น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Paradisaeidae แต่ละชนิดมีสีสันหลากหลาย อาจมี ๕-๑๐ สีในตัวเดียวกัน ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย พบในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีผู้นำมาเลี้ยงตามบ้าน เช่น ชนิด Paradisea apoda Linn.
ไกด์น. มัคคุเทศก์, ผู้นำเที่ยว.
คลังสินค้าทัณฑ์บนน. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า.
จุฬาราชมนตรีน. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง.
ซุ้ม ๓น. ทำนองเพลงไทยสำเนียงลาว อัตราชั้นเดียว เดิมประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพน เรียกว่า ออกซุ้ม ต่อมามีผู้นำไปบรรเลงต่อท้ายเพลงสำเนียงลาวอื่น ๆ.
โต๊ะอิหม่าม(-หฺม่าม) น. ผู้อาวุโสที่เป็นผู้นำในพิธีทางศาสนาอิสลาม และมักเป็นหัวหน้าชุมชนด้วย.
ทูตน. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ.
นายก(นา-ยก) น. ผู้นำ, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น นายกราชบัณฑิตยสถาน นายกสมาคม นายกสโมสร.
เนตรผู้นำทาง.
เนตรนารีน. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น.
บริณายก(บอรินายก) น. ปริณายก, ผู้นำบริวาร, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่.
บ้า ๒น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Leptobarbus hoeveni (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวค่อนข้างยาวหนาเกือบเป็นรูปทรงกระบอก หัวกว้าง มีหนวด ๒ คู่ ท้องกลมมน ด้านหลังและข้างตัวสีเขียวอ่อน ด้านท้องสีขาวแต้มเหลือง ครีบท้อง ครีบก้น และครีบหลังสีแดงอ่อน ในปลาขนาดเล็กมีแถบสีดำคลํ้าพาดตลอดข้างตัว พบอาศัยตามแม่นํ้าลำคลองและบึงใหญ่ทั่วไป ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร ในธรรมชาติกินผลไม้รวมทั้งผลกระเบา เมื่อมีผู้นำไปบริโภคทำให้เกิดอาการมึนเมา, อ้ายบ้า หรือ พวง ก็เรียก.
ใบขนสินค้าน. เอกสารแสดงรายการสินค้า อันได้แก่ ชนิด คุณภาพ ปริมาณ นํ้าหนัก ราคาศุลกากร ซึ่งผู้นำของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อนำของใด ๆ เข้ามาในประเทศ หรือส่งของใด ๆ ออกนอกประเทศ.
ปริณายก(ปะ-) น. ผู้นำบริวาร, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่.
เผด็จการน. การใช้อำนาจบริหารเด็ดขาด, เรียกลัทธิหรือแบบการปกครองที่ผู้นำคนเดียวหรือบุคคลกลุ่มเดียวใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดในการบริหารประเทศ ว่า ลัทธิเผด็จการ, เรียกผู้ใช้อำนาจเช่นนั้น ว่า ผู้เผด็จการ.
ฟาสซิสต์น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น.
มรรคนายก(มักคะนายก) น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือ ผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด.
มัคนายกน. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด.
มัคคุเทศก์น. ผู้นำทาง, ผู้ชี้ทาง, ผู้บอกทาง
มัคคุเทศก์ผู้นำเที่ยว.
ยมทูตน. ผู้นำคนตายไปยังบัลลังก์พระยมเพื่อรอคำตัดสิน.
ราชทูตน. ผู้นำพระราชสาส์นไปประเทศอื่น, ผู้แทนชาติในประเทศอื่น, ตำแหน่งผู้แทนรัฐถัดจากอัครราชทูต.
สง่า(สะหฺง่า) ว. มีลักษณะผึ่งผายเป็นที่น่ายำเกรงหรือน่านิยมยกย่อง เช่น ผู้นำจะต้องมีบุคลิกลักษณะสง่า, เป็นที่น่าเกรงขาม เช่น เสือโคร่งมีท่าทางสง่า.
สินบนเงินที่จ่ายให้แก่ผู้นำจับ.
สูจกะผู้นำจับ
เสนานีน. ผู้นำทัพ.
เสนีย์, เสนียะน. จอมทัพ, ผู้นำทัพ.
หัวแถวน. คนที่อยู่ต้นของแถว, โดยปริยายหมายถึงหัวหน้าหรือผู้นำ.
อัตตาธิปไตยระบอบการปกครองที่ผู้นำมีอำนาจเด็ดขาดและไม่จำกัด.
อิหม่ามน. คำเรียกผู้นำในศาสนาอิสลาม, ผู้นำในการทำละหมาด, ตำแหน่งสำคัญของคณะกรรมการบริหารมัสยิด, โต๊ะอิหม่าม ก็เรียก.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
parlor caucusการประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
political clearanceการได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leaderผู้นำ, หัวหน้าพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leaderผู้นำ, หัวหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Leader of the Houseผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Leader of the Houseผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
Leader of the Oppositionผู้นำฝ่ายค้านในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Leader of the Oppositionผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
leader, authoritarianผู้นำแบบอำนาจนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leader, floorผู้นำสมาชิกพรรคในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leader, majorityผู้นำเสียงข้างมากในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leadershipภาวะผู้นำ, ประมุขภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
leadership principleหลักการเป็นผู้นำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Opposition, Leader of theผู้นำฝ่ายค้านในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Opposition, Leader of theผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
authoritarian leaderผู้นำแบบอำนาจนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
minority leaderผู้นำเสียงข้างน้อยในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
majority leaderผู้นำเสียงข้างมากในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
clearance, politicalการได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
caucus, parlorการประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Führer (G.); Fuehrerฟือเรอร์, ผู้นำประเทศ (ของเยอรมันในสมัยนาซี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
floor leaderผู้นำสมาชิกพรรคในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
Fuehrer; Führer (G.)ฟือเรอร์, ผู้นำประเทศ (ของเยอรมันในสมัยนาซี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
House, Leader of theผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔]
navigatorผู้นำทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
navigatorผู้นำทาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Lead managerผู้นำการจัดจำหน่าย [เศรษฐศาสตร์]
Women labor leadersผู้นำแรงงานสตรี [TU Subject Heading]
Civic leadersผู้นำท้องถิ่น [TU Subject Heading]
Command of troops ; Military leadershipความเป็นผู้นำทางการทหาร [TU Subject Heading]
Community leadershipความเป็นผู้นำชุมชน [TU Subject Heading]
Educational leadershipความเป็นผู้นำทางการศึกษา [TU Subject Heading]
Heads of stateผู้นำรัฐ [TU Subject Heading]
Labor leadersผู้นำแรงงาน [TU Subject Heading]
Leadershipความเป็นผู้นำ [TU Subject Heading]
Leadership in childrenความเป็นผู้นำในเด็ก [TU Subject Heading]
Leadership in womenความเป็นผู้นำในสตรี [TU Subject Heading]
Political leadershipความเป็นผู้นำทางการเมือง [TU Subject Heading]
Women civic leadersผู้นำท้องถิ่นสตรี [TU Subject Heading]
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategyยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต]
Anti-dumping dutyภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดที่เรียกเก็บจากผู้นำเข้าสินค้า จากต่างประเทศ เนื่องจากผู้ส่งออกในต่างประเทศได้ส่งสินค้านั้นเข้ามา เพื่อประโยชน์ในทางพาณิชย์ในราคาที่ต่ำกว่าราคาจำหน่ายในประเทศของตน หรือในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนการผลิต [การทูต]
Asia-Europe Cooperation Frameworkกรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต]
Accelerating Economic Recovery in Asiaโครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต]
Asia-Europe Vision Groupกลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต]
ASEAN-JAPAN SUMMITการประชุมสุดยอดอาเซียน-ญี่ปุ่น เป็นการประชุมระหว่างผู้นำอาเซียนและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ซึ่งในหลักการจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต]
APSCแผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต]
ASEAN Charterกฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต]
ASEAN Heads of State/Government Meetingการประชุมสุดยอดอาเซียน เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาลอาเซียน ปัจจุบันมีการประชุมเป็นประจำทุกปี โดยประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ [การทูต]
ASEAN Troikaกลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต]
ASEAN - China, Japan and the Republic of Korea Relationshipความสัมพันธ์อาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธาณรัฐเกาหลี เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ที่เริ่มมีขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งผู้นำของ อาเซียน จีน ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยในปี พ.ศ. 2542 ผู้นำอาเซียน+3 ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นหลักการพื้นฐานของการเสริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง [การทูต]
ASEAN-UN Summitการประชุมผู้นำอาเซียน-สหประชาชาติ เป็นการประชุมระหว่างหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนกับเลขาธิการสห ประชาชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 ที่กรุงเทพฯ ในช่วงการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 [การทูต]
Asia Europe Meetingการประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต]
Declaration of ASEAN Concord IIปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 ผู้นำประเทศสมาชิก อาเซียนได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่เกาะบาหลี เมื่อเดือนตุลาคม 2547 กำหนดที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน พ.ศ. 2563 [การทูต]
Conselho Nacional da Resistencia Timorense (National Council of Timorese Resistance)" เป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวติมอร์ตะวันออกจาก อินโดนีเซีย โดยมีนายซานานา กุสเมา (Xanana Gusmao) เป็นผู้นำคนสำคัญ " [การทูต]
Commemorative Summitการประชุมสุดยอดหรือการประชุมระดับผู้นำประเทศ/หัวหน้า รัฐบาลในโอกาสครบรอบปีสำคัญ อาทิ การสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน [การทูต]
Foreign Policyนโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
Honorary Consulกงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต]
Millennium Summitการประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษ การประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลที่จัดขึ้น ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2543 (ค.ศ. 2000) เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ เสนอข้อคิดเห็นต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ ที่ประชุมยืนยันพันธกรณีร่วมกันที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหประชา ชาติในการดำเนินการเรื่องสำคัญของมนุษยชาติ ดังระบุไว้ในปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration) ] [การทูต]
The New Partnership for Africa?s Developmentหุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต]
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralismคำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต]
New World Orderระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต]
Pacific Charterคือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต]
Responsibility to protectหลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต]
visitการเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต]
World Food Summitการประชุมสุดยอดอาหารโลก " จัดโดย FAO ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2539 เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล เพื่อสร้างเจตนารมณ์ด้าน การเมือง และข้อผูกพันระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร และการขจัดปัญหาความหิวโหยสำหรับประชากรโลก " [การทูต]
Core Competencyสมรรถนะหลัก, ขีดความสามารถขององค์กร ซึ่งเกิดจากวัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร เช่น การทำงานเป็นทีม (Teamwork) การทำงานแบบมืออาชีพ (Professionalism) การมุ่งเน้นผลงาน (Result Orientation) การบริหารตนเอง(Self Management) การใส่ใจลูกค้า (Customer Focus) และภาวะผู้นำ (Leaderships) เป็นต้น [การจัดการความรู้]
Chief Change Officerผู้นำในการบริหารความเปลี่ยนแปลง [การจัดการความรู้]
Autocratic Attitudeผู้นำตลอดกาล [การแพทย์]
Dictatorsผู้นำแบบเผด็จการ [การแพทย์]
Eggs, Vectorไข่ของแมลงผู้นำโรค [การแพทย์]
Expertsผู้ชำนาญ, ผู้นำแบบเชี่ยวชาญ [การแพทย์]
Leadersผู้นำ [การแพทย์]
Leaders, Manipulative Participationผู้นำแบบหัวหน้านายงาน [การแพทย์]
Leaders, Term Meetingผู้นำในการประชุมกลุ่ม [การแพทย์]
Leadingเป็นผู้นำ [การแพทย์]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
บุคลิกความเป็นผู้นำ[bukkhalik khwām pen phūnam] (n, exp) EN: leadership qualities
การเป็นผู้นำ[kān pen phūnam] (n, exp) EN: leadership
ความเป็นผู้นำ[khwām pen phūnam] (n, exp) EN: leadership  FR: leadership [ m ] (anglic.)
ภาวะผู้นำ[phāwa phūnam] (n, exp) EN: leadership
ผู้นำ[phūnam] (n) EN: leader ; chief ; captain ; boss ; head ; ruler  FR: leader [ m ] ; meneur [ m ] ; chef [ m ]
ผู้นำฝ่ายค้าน[phūnam fāikhān] (n, exp) EN: leader of the opposition  FR: chef de l'opposition [ m ]
ผู้นำฝูง[phūnam fūng] (n, exp) EN: leader ; ringleader ; chief ; head ; chieftain  FR: chef [ m ] ; meneur [ m ]
ผู้นำเข้า[phū namkhao] (n) EN: importer  FR: importateur [ m ] ; importatrice [ f ]
ผู้นำประเทศ[phūnam prathēt] (n, exp) EN: leader ; ruler ; head ; chief
ผู้นำร้อง[phū namrǿng] (n, exp) EN: pilot  FR: pilote [ m ]
ผู้นำสินค้าเข้า[phū nam sinkhākhao] (n) EN: importer  FR: importateur [ m ] ; importatrice [ f ]
ผู้นำตลาด[phūnam talāt] (n, exp) EN: market leader  FR: leader sur le marché [ m ]
ผู้นำทาง[phūnamthāng] (n) EN: guide  FR: guide [ m ]
ผู้นำทางจิตวิญญาณ[phūnamthāng jit winyān] (n, exp) EN: spiritualist
ผู้นำเที่ยว[phūnamthīo] (n) EN: guide ; tourist guide  FR: guide [ m, f ] ; guide touristique [ m, f ]
ท่านผู้นำ[than phūnam] (n, exp) EN: Our Leader

English-Thai: Longdo Dictionary
SONA(n) ย่อมาจาก State of Nation Address สุนทรพจน์ที่ผู้นำกล่าวสรุปสถานการณ์ของประเทศ
industry leaderผู้นำในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจแขนงหนึ่งๆ
bandleader(n) ผู้นำวง, วาทยากร, See also: music director, band leader, Syn. conductor

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
beadle(n) ผู้นำพิธีในโบสถ์ของยิว
Big Brother(n) ผู้นำ, See also: ผู้ที่มีอำนาจเด็ดขาด, Syn. head, master
be in on(phrv) นำในเรื่อง (คำไม่เป็นทางการ), See also: เป็นผู้นำเรื่อง, Syn. get in on
be on the top of(idm) ยังคงเป็นผู้นำ, See also: ยังมีอำนาจ, ยังคงควบคุบ, Syn. stay on
bring someone to the fore(idm) ทำให้กลายเป็นผู้นำหรือมีอิทธิพล, See also: ทำให้มีอำนาจ, Syn. come to
caliph(n) ผู้นำทางศาสนาของประเทศมุสลิม
caucus(n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง
cheerleader(n) คนที่เป็นผู้นำเชียร์, See also: เชียร์ลีดเดอร์
chief(n) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. leader, head
cock(n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. leader, chief person
conductress(n) ผู้นำวงดนตรีที่เป็นผู้หญิง, Syn. female conductor
Dalai Lama(n) ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของทิเบต
deliverer(n) ผู้นำส่ง, See also: ผู้ส่งสาร, ผู้ส่ง, ผู้ส่งสินค้า, Syn. diliverance
director(n) วาทยากร (ทางดนตรี), See also: ผู้นำวงดนตรี, ผู้ควบคุมวงดนตรี, Syn. producer, auteur, conductor, Ant. follower
drum major(n) ผู้นำวงดนตรีในขบวนแห่, See also: ดรัมเมเยอร์, Syn. bandleader, conductor, maestro
emir(n) ผู้ปกครองในประเทศอิสลามบางประเทศ, See also: ประมุข, ผู้นำในประเทศอิสลามบางประเทศ
forerunner(n) ผู้บุกเบิก, See also: ผู้ล่วงหน้ามาก่อน, ผู้นำทาง, ผู้เบิกทาง, Syn. foregoer, predecessor, Ant. follower
guide(n) มัคคุเทศก์, See also: ผู้นำร่อง, ผู้ชี้ทาง, ไกด์, Syn. escort, steerer, Ant. follower
guru(n) ครู, See also: ปราชญ์, ผู้รู้, ผู้นำ, Syn. mentor, teacher, leader, Ant. idiot
head(n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. boss, chief, leader, Ant. subordinate, underling
headless(adj) ซึ่งไร้ผู้นำ, See also: ซึ่งขาดผู้นำ
headman(n) หัวหน้ากลุ่ม, See also: ผู้นำกลุ่ม, ผู้ใหญ่บ้าน, Syn. chief, leader
headship(n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า, Syn. leadership
helm(n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งผู้ควบคุม
helmsman(n) ผู้นำ
Hitler(n) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จอมเผด็จการของเยอรมันและเป็น ผู้นำลัทธินาซี (ค.ศ.1889-1945)
inductor(n) ตัวนำกระแสไฟฟ้า, See also: ผู้นำ
jockey(n) ผู้ขับขี่ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ผู้นำทาง, ผู้ขับ
lead(n) แบบอย่าง, See also: ความเป็นผู้นำ, Syn. example, leadership, precedence
lead(vi) เป็นผู้นำ, See also: เป็นหัวหน้า, นำ, เป็นคนสำคัญ, เป็นหัวเรี่ยวหัวแรง, Syn. direct, conduct, precede
leader(n) ผู้นำ, Syn. head, chief, master
leadership(n) ความสามารถในการเป็นผู้นำ, See also: ความเป็นผู้นำ
leadership(n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า
leadership(n) ผู้นำของกลุ่ม
leading(n) การเป็นผู้นำ, Syn. leadership
Mahdi(n) ผู้นำอิสลามหรือพระเยซูที่มาช่วยชาวโลก
mascot(n) สิ่งนำโชค, See also: ตัวนำโชค, ผู้นำโชค, เครื่องราง, Syn. amulet, luck piece
matriarchal(adj) เกี่ยวกับผู้นำที่เป็นหญิง
matriarchic(adj) เกี่ยวกับระบบสังคมที่มีผู้หญิงเป็นผู้นำครอบครัว
matriarchy(n) ระบบสังคมแบบผู้หญิงเป็นผู้นำครอบครัว
navigator(n) ต้นหน, See also: ผู้นำทาง
officiant(n) ผู้นำประกอบพิธี, See also: ผู้นำพิธี
pilot(n) ผู้นำทาง, See also: ผู้ที่คอยชี้แนะ, คนนำทาง, มัคคุเทศก์, Syn. guide
presenter(n) ผู้นำเสนอ
quarterback(n) ผู้นำกลุ่ม, See also: ผู้นำกิจกรรม, Syn. chief, leader
rabbi(n) พระในศาสนายิว, See also: ผู้นำศาสนายิว, Syn. preacher, Talmudist, Hebrew theologian, priest
routinier(n) ผู้กำหนดเส้นทาง, See also: ผู้นำทาง
big cheese(sl) เจ้านาย, See also: คนสำคัญ, ผู้นำ
big fish(sl) หัวหน้า, See also: เจ้านาย, ผู้นำ
top bannana(sl) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. Top drawer

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
akela(อิคี' ละ) n. ผู้นำ
ascii fileแฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล
bandmaster(แบนมาส'เทอะ) n. ผู้นำจังหวะวงดนตรี
batonn. ตะบอง, กระบอง, ไม้ของผู้นำจังหวะดนตรี, คทา, ไม้ต่อแรงของการวิ่งผลัด
beadle(บีด'เดิล) n. ผู้นำพิธีการ, ผู้ถือคทาพิธี, นักการ (เช่นในศาล) , ผู้ช่วยพระทำพิธี
boss(บอส) { bossed, bossing, bosses } n., adj. นายจ้าง, นาย, ผู้บังคับบัญชา, ผู้นำ -v. เป็นนายเหนือ, ควบคุม, บังคับบัญชา, บงการ, Syn. superior
caliph(แคล'ลิฟ) n. กาหลีบ, ผู้นำฝ่ายปกครองและศาสนาในประเทศอิสลาม, See also: caliphal adj. ดูcaliph, Syn. calif, kalif, khalif
captain(แคพ'เทน) { captained, captaining, captains } n. ร้อยเอก, เรือเอก, เรืออากาศเอก, นาวาเอก, หัวหน้า, ผู้นำ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักบิน, ไต้ก๋ง, หัวหน้าชุดนักกีฬา vt. เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, บัญชาการ, See also: captancy n. ดู captain, captainship n. ดู captain
caudillo(คอดีล'โล) n. ผู้นำประเทศ, ผู้นำ
chief(ชีฟ) n. ผู้นำ, หัวหน้า, นาย -adj. สำคัญที่สุด, หลัก -adv. ส่วนใหญ่, Syn. leader, Ant. underling
choragus(คะเร'กัส) n., ผู้นำคณะนักร้องประสานเสียง, คนทำงานรื่นเริง, Syn. choregus. -
church of englandn. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา
cock(คอค) { cocked, cocking, cocks } n. ไก่ตัวผู้, นกตัวผู้, ผู้นำ, หัวหน้า, นักต่อสู้, นกสับของปืน, หัวก๊อกท่อน้ำท่อแก๊สที่ใช้มือปิดเปิดได้, ลึงค์, เวลาไก่ขัน, รุ่งอรุณ, การขันของไก่ vt. ดึงนกสับ vi. เดินวางท่า, วางมาด, เชิดขึ้น, ตั้งขึ้น, เตรียมยิง
cock of the walkn. ผู้นำ, หัวหน้ากลุ่ม
commander(คะมาน'เดอะ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้นำ, นายทหารผู้บังคับบัญชา, นาวาโท, See also: commandership n., Syn. chief, leader
conductor(คันดัค'เทอะ) n. ผู้นำวงดนตรี, สื่อนำไฟฟ้า, คนขายตั๋วรถเมล์รถราง, คนกระเป๋า, ตัวนำความร้อน (เสียงหรืออื่น ๆ) , สายล่อฟ้า, See also: conductorial adj. ดูconductor conductorship n. ดูconductor
conductress(คันดัค'ทริส) n. ผู้นำวงดนตรีหญิง, คอนดัคเตอร์หญิง
conveyer(คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์
conveyor(คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์
dalai lama(ดา'ไล ลา'มะ) n. ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของธิเบต
demagog(เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอก, See also: demagoguery n. ดูdemagog
demagogue(เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอก, See also: demagoguery n. ดูdemagog
drummajorหัวหน้าวงดนตรีทหาร, ผู้นำวงดนตรีในขบวนแห่
duce(ดู'เช) n. ผู้นำ, ผู้เผด็จการ, -Phr. (il Duce มุสโซลินี, ผู้เผด็จการ), Syn. leader -pl. duces
father(ฟา'เธอะ) { fathered, fathering, fathers } n. บิดา, พ่อ, ผู้ปกครอง, พระ, พ่อบุญธรรม, คำเรียกชื่อผู้อาวุโสเพื่อแสดงความเคารพ, ผู้อาวุโสที่สุดของกลุ่ม, ผู้นำของเมือง, ผู้ก่อตั้ง, ผู้มาก่อน, แบบเริ่มแรก -Phr. (the Father พระผู้เป็นเจ้า) . vt. ให้กำเนิด, ริเริ่ม, เป็นพ่อ, ยอมร
fiftiesn., adj. ปีหรือจำนวนที่อยู่ระหว่าง50ถึง59. คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าหมายถึง คอมพิวเตอร์ยุคใหม่สุด ซึ่งนับเป็นยุคที่ห้า คอมพิวเตอร์ยุคนี้จะเน้นในเรื่องปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) เป็นสำคัญ เช่น ทำให้คอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ ให้มากขึ้น ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน รวมทั้งประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้นด้วย ญี่ปุ่นทำท่าว่าจะเป็นผู้นำในด้านนี้มากกว่าชาติอื่น ดู artificial intelligence ประกอบ
forerunner(ฟอร์'รันเนอะ) n. บรรพบุรุษ, ผู้นำหน้า, ผู้บอกกล่าวล่วงหน้า, ลางสังหรณ์, เครื่องนำทาง, ผู้เบิกทาง, Syn. herald
fugleman(ฟิว'เกิลมัน) n. ทหารนำ, ทหารสาธิต, ผู้นำ
fuhrer(ฟู'เรอะ) n. ผู้นำ, ฮิตเลอร์., Syn. Fuehrer
grand masterหัวหน้า, ผู้นำ
guru(กู'รู) n. ผู้นำที่ฉลาด, ผู้นำทางศาสนาที่ฉลาด, พระอาจารย์ส่วนตัว., See also: guruship n.
head(เฮด) n. ศีรษะ, ส่วนหัว, สมอง, ตำแหน่งผู้นำ, ตำแหน่งสูงสุด, จุดสุดยอด -Phr. (lose one's head อารมณ์เสีย, ตื่นเต้น) adj. ชั้นนำ, ที่หนึ่ง, สำคัญ, เกี่ยวกับหัว, ข้างหน้า vt. นำหน้า, เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, หันหน้าไปทาง, บ่ายหน้าไปทาง, ต่อหัว, จ่าหน้า vi. ไปข้างหน้า, ออกเดิ
headlessadj. ไร้หัว, ซึ่งถูกตัดหัวทิ้ง, ขาดผู้นำ, โง่., See also: headlessness n.
headman(เฮด'เมิน) n.หัวหน้า, ผู้นำ, ผู้คุมงาน, มือเพชฌาตตัดคอ -pl. headmen
headshipn. ตำแหน่งผู้นำ, ความสำคัญยิ่งยวด
herald(เฮอ'เริลดฺ) n. ผู้ถือสาร, ผู้นำก่อน, สิ่งที่นำก่อน, ผู้ป่าวประกาศ. vt. ประกาศ, แถลง, แจ้งให้ทราบ, เป็นลาง, Syn. envoy
heresiarchn. ผู้นำความคิดเห็นนอกรีด
heresy(เฮ'ระชี่) n. ศาสนานอกรีต, ผู้นำความคิดเห็นคิดนอกรีต, ความคิดนอกคอก, Syn. apostasy
hoodoo(ฮู'ดู) n. โชคไม่ดี, ผู้นำโชคร้ายมา
imam(อิมาม') n. พระมุสลิมในสุเหร่า, ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของมุสลิม., Syn. imaum
king(คิง) n. กษัตริย์, ประมุข, ผู้นำ, เผ่า, ราชา, หมากรุกที่เดินข้ามกระดานจนได้เป็นเจ้า. vt. ทำให้เป็นกษัตริย์ vi. ปกครองเป็นกษัตริย์., See also: kinghood ดูking, Syn. ruler, sovereign
lead(ลีด) { led, led, leading, leads } vt. นำ, พา, จูง, ชักจูง, จูงให้, ทำให้เกิดขึ้น, ล่อให้เกิดขึ้น, นำหน้า, พูดนำ, สั่ง, บัญชา, เป็นหัวหน้า, เล็ง vi. เป็นตัวนำ, นำไปสู่, นำหน้า, นำทาง, โจมตี, เล่นก่อน n. ตำแหน่งนำ, การนำ, ผู้นำ, สิ่งนำ, สำคัญที่สุด, ชั้นนำ, ตะกั่ว:Pb; -S...conduct, guide
leader(ลีด'เดอะ) n. ผู้นำ, หัวหน้า, ผู้บัญชา, ผู้นำวงดนตรี, นักร้องนำ, ผู้สวดนำ, บทนำ, เรื่องเอก, ท่อน้ำ.
leadership(ลี'เดอะชิพ) n. ตำแหน่งผู้นำ, ความเป็นผู้นำ, ความสามารถในการนำ, การนำ
lord(ลอร์ด) n. เจ้าศักดินา, ขุนนาง, เจ้าของที่ดิน, ท่านลอร์ด, สมาชิกสภาขุนนาง, ผู้นำในการค้า, เจ้านาย, เจ้าเหนือหัว, พระผู้เป็นเจ้า, พระเยซูคริสต์, ดาวนพเคราะห์ที่มีอิทธิพลครอบงำ. -interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ. vi. มีอำนาจหรืออิทธิพล, ตั้งตัวเป็นเจ้าเหนือหัว
majority leadern. ผู้นำพรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา
mascot(แมส'คอท) n. ตัวนำโชค, ผู้นำโชค
master(มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ
messenger(เมส'เซินเจอะ) n. ผู้ส่งสาร, ผู้ถือจดหมาย, ผู้นำข่าว, ทูตสวรรค์, เครื่องชี้บ่ง, ลาง
nazi(นา'ซี, แนท'ซี) n., adj. สมาชิกพรรคนาซีของเยอรมันที่มีฮิตเลอร์เป็นผู้นำ) ., See also: Nazism, Nazism n. pl. Nazis

English-Thai: Nontri Dictionary
bandmaster(n) ผู้นำจังหวะ, วาทยากร
captain(n) หัวหน้า, ผู้นำ, นายทหาร, ไต้ก๋งเรือ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักกีฬา
cheerleader(n) ประธานเชียร์, ผู้นำเชียร์, เชียร์ลีดเดอร์
chief(n) หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, นาย, ผู้นำ
cock(n) ไก่ตัวผู้, ก๊อกน้ำ, นักต่อสู้, ผู้นำ, นักเลง, หัวโจก, คนสำคัญ, นกปืน
commander(n) ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้สั่ง, ผู้นำ, นาวาโท
conductor(n) ตัวนำ, สื่อไฟฟ้า, สายล่อฟ้า, ผู้นำ, นายวงดนตรี, วาทยากร
harbinger(n) ผู้ไปล่วงหน้า, ผู้นำ, ผู้เบิกทาง, ลางสังหรณ์, ลาง
headship(n) ตำแหน่งหัวหน้า, ความเป็นผู้นำ, ตำแหน่งผู้นำ
importer(n) ผู้นำเข้า
leader(n) ผู้นำ, หัวหน้า, สายนำไฟฟ้า, ตัวนำแสดง, บทนำ, ผู้บัญชาการ
leadership(n) ความเป็นผู้นำ, ความเป็นหัวหน้า, ตำแหน่งผู้นำ
precursor(n) สื่อ, ผู้นำ, ลาง, เครื่องแสดง, ผู้มาก่อน, กองหน้า
preside(vi) เป็นผู้นำการประชุม, บรรเลงนำ
raja(n) ประมุข, ผู้นำ
rajah(n) ประมุข, ผู้นำ
ringleader(n) หัวโจก, ผู้นำ, หัวหน้าแก๊ง
sheik(n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า
sheikh(n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า
skipper(n) ผู้บังคับการเรือ, กัปตันเรือ, ผู้นำทาง, กัปตันทีม
spearhead(n) กองหน้า, ปลายหอก, หัวหอก, ผู้นำหน้า
usher(n) ผู้นำเข้าประจำที่นั่ง, เจ้าหน้าที่ต้อนรับ, กองหน้า, คนส่งสาร

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cfs : container freight station[ซีเอ็ฟเอ็ส : คอนเท็นเน่อร์เฟรจสเตชั่น] (n) บริการนำสินค้าใส่ตู้และนำออกจากตู้ที่สถานีขนถ่ายสินค้าในตู้คอนเท็นเน่อร์ ผู้ส่งออกต้องนำตัวสินค้าไปส่งมอบให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งที่ต้นทาง เพื่อให้ผู้ประกอบการขนส่งบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ให้ CFS Charge จะเรียกเก็บจากผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้าแล้วแต่กรณีของ INCOTERMS® หากขึ้นต้นด้วยตัวอักษร C เช่น CPT หรือ CIP จะเก็บจากผู้ส่งออก หากขึ้นต้นด้วยอักษร F เช่น FCA จะเก็บจากผู้นำเข้า และค่าบริการนี้จะรวมถึงเมื่อตู้สินค้าถึงปลายทางตัวแทนผู้ประกอบการที่ปลายทางจะทำการเปิดตู้นำสินค้าออกให้ที่ CFS เช่นเดียวกัน : awp
consigliere(n) ที่ปรึกษา ผู้ให้คำแนะนำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่เจ้าพ่อหรือผู้นำกลุ่มอาชญากร, See also: counselor, Syn. advice
European Council(name) ที่ประชุมยุโรป เป็นการประชุมของผู้นำในสหภาพยุโรป
fashionist(n) ผู้นำแฟชัน, See also: ดารา, นางแบบ, Syn. นักแฟชัน
Harbinger(n) ผู้นำมา
hegemonic state(n) มุขยรัฐ หมายถึงรัฐผู้นำที่มีอำนาจครอบงำรัฐอื่น

Japanese-Thai: Longdo Dictionary
官邸[かんてい, kantei] (n) ทำเนียบ, บ้านพักอย่างเป็นทางการของผู้นำประเทศ
首脳会談[しゅのうかいだん, shunoukaidan] (vt) การประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศ

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
補導[ほどう, hodou] ผู้นำทาง ผู้คุ้มครอง
配達人[はいたつにん, haitatsunin] (n) ผู้นำส่ง(ของ)
独裁者[どくさいしゃ, dokusaisha] ผู้นำเผด็จการ

German-Thai: Longdo Dictionary
Führer(n) |der, pl. Führer| ผู้นำ
Leiter(n) |der, pl. Leiter| ผู้นำ, หัวหน้า
Gipfel(n) |der, pl. Gipfel| การเจรจาระหว่างผู้นำชั้นสูงระดับประเทศ เช่น Gipfeltreffen
Häuptling(n) |der, pl. Häuptlinge| ผู้นำกลุ่ม, หัวหน้าเผ่า, See also: Leiter, Syn. Chef

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Führerฟือเรอร์ เป็นตำแหน่งในรัฐบาลเยอรมนีในอดีต มีความหมายว่า ผู้นำ หรือ ผู้ชี้แนะ

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top