มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ข้อบังคับ | (n) regulation, See also: rule, principle, Syn. กฎข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ข้อกำหนด, Example: ส่วนราชการมีข้อบังคับให้ทุกคนปฏิบัติตาม, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับ ซึ่งกำหนดขึ้นไว้เป็นระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย, Notes: (กฎ) | กฎข้อบังคับ | (n) regulation, See also: principle, discipline, rule, Syn. วินัย, ระเบียบ, ข้อบังคับ, Example: โรงเรียนมีกฎข้อบังคับไม่ให้นักเรียนใส่ของมีค่า เช่น แหวน สร้อย มาโรงเรียน, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: บทบัญญัติที่เป็นชั้นข้อบังคับ ซึ่งกำหนดไว้เป็นระเบียบหรือดำเนินการตามกฎหมาย, ปัจจุบันนิยมใช้ว่าข้อบังคับ |
|
| กฎข้อบังคับ | น. ข้อกำหนดที่กำหนดไว้เป็นแนวทางหรือระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย. | ข้อบังคับ | น. กฎเกณฑ์หรือรายละเอียดที่กำหนดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ. | ข้อบังคับของบริษัท | น. กฎเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการดำเนินกิจการของบริษัทจำกัด เช่น การออกหุ้นและการโอนหุ้น การประชุมผู้ถือหุ้น. | กรมการ | (กฺรมมะ-) น. ตำแหน่งพนักงานปกครองที่มีมาแต่สมัยโบราณ และได้กำหนดไว้ในข้อบังคับลักษณะการปกครองหัวเมือง ร.ศ. ๑๑๖ เรียกว่า กรมการเมือง ซึ่งแบ่งออกเป็น ๒ พวก คือ กรมการในทำเนียบ และกรมการนอกทำเนียบ. | เคร่ง | (เคฺร่ง) ก. ถือปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับ เช่น พระเคร่งวินัย. | ฐิติ | ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ | ตรีพิธพรรณ | ชื่อโคลง ๔ ประเภทหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ข้าขอประณตน้อม กายวจี จิตนา ต่อพระตรีไตรรัตน์ โรจน์เรื้อง เป็นประทีปส่องศรี โลกชัชวาลนา กำจัดมืดมนธ์เปลื้อง สัตว์พ้นสงสาร (หลักภาษาไทยของพระยาอุปกิตศิลปสาร, ในจินดามณีเรียกตรีเพชรทัณฑี). | ตรีเพชรทัณฑี | (ตฺรีเพ็ดทันที) น. ชื่อโคลงชนิดหนึ่งที่เลื่อนคำรับสัมผัสในบาทที่ ๒ จากคำที่ ๕ มาเป็นคำที่ ๓ ส่วนข้อบังคับอื่น ๆ เหมือนโคลงสี่สุภาพทุกประการ เช่น ปางนั้นสองราชไท้ ดาบศ สาพิมตไปมา กล่าวแก้ว ประทานราชเอารส สองราช เวนแต่ชูชกแล้ว จึ่งไท้ชมทาน (จินดามณี). | ทุนสำรอง | น. เงินที่จัดสรรไว้จากเงินกำไรของบริษัทตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของบริษัท ทุกคราวที่จ่ายเงินปันผลจนกว่าทุนสำรองนั้นจะมีจำนวนถึงเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในข้อบังคับของบริษัท ซึ่งต้องไม่น้อยกว่าหนึ่งในสิบของจำนวนทุนของบริษัท. | บัญญัติ | (บันหฺยัด) น. ข้อความที่ตราหรือกำหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ เป็นหลักเกณฑ์ หรือเป็นกฎหมาย เช่น พระราชบัญญัติ พุทธบัญญัติ บัญญัติ ๑๐ ประการ. | บัญญัติ | (บันหฺยัด) ก. ตราหรือกำหนดขึ้นไว้เป็นข้อบังคับ เป็นหลักเกณฑ์ หรือเป็นกฎหมาย เช่น บัญญัติศัพท์ บัญญัติกฎหมาย. | เบี้ยหวัด | เงินตอบแทนความชอบที่ให้แก่ทหารที่ออกจากประจำการ โดยจ่ายเป็นรายเดือนตามข้อบังคับของกระทรวงกลาโหม. | ไปรษณียนิเทศ | (ไปฺรสะนียะนิเทด, ไปฺรสะนีนิเทด) น. สมุดกฎข้อบังคับ คำสั่ง หรือประกาศว่าด้วยการไปรษณีย์ทั่วไป. | ผู้ตรวจการแผ่นดิน | น. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือการละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งอำนาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องต่อศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญเมื่อเห็นว่ากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำใดของบุคคลใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. | ผู้แทนของนิติบุคคล | น. บุคคลธรรมดาคนเดียวหรือหลายคนตามที่กฎหมาย ข้อบังคับ หรือตราสารจัดตั้งได้กำหนดไว้ให้เป็นผู้แสดงออกถึงเจตนาของนิติบุคคล. | ภูมิลำเนาของนิติบุคคล | น. ถิ่นอันเป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่หรือถิ่นอันเป็นที่ตั้งที่ทำการ หรือถิ่นที่ได้เลือกเอาเป็นภูมิลำเนาเฉพาะการตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งนิติบุคคลนั้น. | มหาชัย | น. ชื่อเพลงไทยโบราณ อัตรา ๒ ชั้น หน้าทับปรบไก่ มี ๒ ท่อน อยู่ในเรื่องทำขวัญ ต่อมาแปลงเป็นทางฝรั่งใช้เป็นเพลงคำนับเมื่อบุคคลสำคัญมาถึงมณฑลพิธี, สำนักพระราชวังและข้อบังคับกระทรวงกลาโหมกำหนดให้ดุริยางค์บรรเลงเพลงมหาชัยรับและส่งเสด็จในพิธีการที่พระบรมวงศ์เสด็จพระราชดำเนินหรือเสด็จไปทรงเป็นประธาน และบรรเลงรับและส่งประธานในพิธีการที่เป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ และบรรเลงเป็นเพลงเคารพธงราชวงศ์เวลาผ่านหรือขึ้นลง นายทหารที่มียศจอมพล จอมพลเรือ จอมพลอากาศ. | ยติภังค์ | น. โทษของฉันท์อย่างหนึ่ง คือ คำไม่หมดตรงที่กำหนดไว้ตามข้อบังคับ แต่เลยไปวรรคหลัง เช่น ปางเมื่อพระองค์ปรมพุท- ธวิสุทธศาสดา | ระเบียบ | น. แบบแผนที่วางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดำเนินการ เช่น ระเบียบวินัย ระเบียบข้อบังคับ ต้องปฏิบัติตามระเบียบ. | ระเบียบการ | น. ข้อกำหนดหรือข้อบังคับที่บัญญัติขึ้นเป็นแนวปฏิบัติ เช่น ระเบียบการของโรงเรียน. | วัน ๑ | น. ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการค้าและการอุตสาหกรรม วัน หมายความว่า เวลาทำการตามที่ได้กำหนดขึ้นโดยกฎหมาย คำสั่งศาล หรือระเบียบข้อบังคับ หรือเวลาทำการตามปรกติของกิจการนั้น แล้วแต่กรณี. | วิธาน | กฎ, เกณฑ์, ข้อบังคับ | วินย-, วินัย | (วินะยะ-) น. ระเบียบแบบแผนและข้อบังคับ, ข้อปฏิบัติ, เช่น วินัยทหาร ทหารต้องยึดมั่นในวินัย | สังฆาณัติ | น. กฎข้อบังคับของคณะสงฆ์ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชทรงบัญญัติขึ้นโดยคำแนะนำของสังฆสภาตามพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พุทธศักราช ๒๔๘๔. | สัมผัส | ข้อบังคับที่ใช้ในฉันทลักษณ์เพื่อให้เสียงรับกัน. | สัมผัสนอก | น. สัมผัสนอกวรรคหรือระหว่างวรรคตามข้อบังคับแห่งฉันทลักษณ์ซึ่งเป็นสัมผัสสระและไม่ซ้ำเป็นคำเดียวกัน เช่น
| (อภัย), | | (ตะเลงพ่าย). |
| หนังสือราชการ | น. เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ ได้แก่ หนังสือที่มีไปมาระหว่างส่วนราชการ หนังสือที่ส่วนราชการมีไปถึงหน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการ หนังสือที่หน่วยงานอื่นซึ่งไม่ใช่ส่วนราชการหรือที่บุคคลภายนอกมีมาถึงส่วนราชการ เอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นเพื่อเป็นหลักฐาน และเอกสารที่ทางราชการจัดทำขึ้นตามกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ. | องค์ประชุม | น. จำนวนสมาชิกหรือกรรมการที่มาประชุมตามข้อบังคับการประชุมที่กำหนดไว้ เช่น กรรมการต้องมาประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งจึงจะถือว่าเป็นองค์ประชุม. | อาชญัปติ, อาชญัปติ์ | (อาดยับติ, อาดยับ) น. ข้อบังคับ, คำสั่ง, กฎ, ใช้ว่า อาญัปติ์ ก็มี เช่น รัตนาญัปติ์. | อาณัติ | (อานัด) น. ข้อบังคับ, คำสั่ง, กฎ, เครื่องหมาย | อาเทศ ๒ | (-เทด) น. การแปลงหรือแผลงพยัญชนะและสระตามข้อบังคับแห่งไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต เช่น สมบัติ + อภิบาล อาเทศสระอิ ที่ ติ เป็น ย แล้วสนธิกับ อภิบาล เป็น สมบัตยาภิบาล, ธนุ + อาคม อาเทศสระอุ ที่ นุ เป็น ว แล้วสนธิกับ อาคม เป็น ธันวาคม, อธิ + อาสัย อาเทศอธิ เป็น อัชฌ แล้วสนธิกับ อาสัย เป็น อัชฌาสัย. |
| parliamentary law | กฎข้อบังคับของรัฐสภา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | procedure, abuse of the rules of | การใช้กฎข้อบังคับโดยมิชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | procedure, rule of | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | power, rule-making | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule of procedure | ข้อบังคับการประชุม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ๑. การกำกับ, การปรับให้เหมาะ๒. ข้อบังคับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ระเบียบ, กฎ, ข้อบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | regulation | ข้อบังคับ, ระเบียบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | regulation of the company | ข้อบังคับของบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | Rules, Committee on | คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule, joint | ข้อบังคับการประชุมร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule, suspension of | การงดใช้ข้อบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule-making power | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule | กฎ, ข้อบังคับ, หลักเกณฑ์, การปกครอง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | rule | กฎ, ข้อบังคับ, หลัก [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | suspension of rule | การงดใช้ข้อบังคับ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | standing orders | ระเบียบข้อบังคับ (ของสภาหรือของศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | open rule | ข้อบังคับแบบเปิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | articles of incorporation | ข้อบังคับในการก่อตั้งและดำเนินงานของบริษัท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | article | ๑. มาตรา (ในกฎหมาย), ข้อ๒. ข้อบังคับ, กฎ๓. บท๔. บทความ, ข้อความ๕. ของ, สิ่งของ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | articles of association | ข้อบังคับของบริษัทจำกัด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | abuse of the rules of procedure | การใช้กฎข้อบังคับโดยมิชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | joint rule | ข้อบังคับการประชุมร่วม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | Committee on Rules | คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | contravention | ๑. การฝ่าฝืนกฎข้อบังคับ๒. ความผิดลหุโทษ (ก. ฝรั่งเศส) [ ดู minor offence และ petty offence ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] | closed rule | ข้อบังคับแบบปิด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] | traffic regulation | ๑. กฎข้อบังคับทางการค้า๒. กฎจราจร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
| Government regulation | ข้อบังคับของรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] | Independent regulatory commisssion | คณะกรรมการอิสระในการตราข้อบังคับ [เศรษฐศาสตร์] | International health regulation | ข้อบังคับว่าด้วยการอนามัยระหว่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] | Law and legislation | กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ [TU Subject Heading] | Regulations | ข้อบังคับ [TU Subject Heading] | Sanctions, Administrative | ข้อบังคับทางปกครอง [TU Subject Heading] | Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] | Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] | Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] | Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] | Exequatur | คำนี้แปลเป็นภาษาอังกฤษว่า ?let him perform? เป็นหนังสือหรืออนุมัติบัตรแสดงการรับรองผู้ที่ดำรงตำแหน่งกงสุลโดยประมุข หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของรัฐซึ่งกงสุลผู้นั้นได้ถูกส่งไป ประจำ Exequatur เป็นอนุมัติบัตรที่มอบให้กงสุล แสดงว่ามีอำนาจที่จะปฏิบัติตามหน้าที่ของกงสุลทั้งหมด สามารถเป็นหลักฐานที่ใช้แสดงต่อเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นภายในเขตอาณัติของกงสุล ด้วย รัฐที่ปฏิเสธไม่ออก Exequatur ให้นั้น ไม่จำเป็นต้องบอกเหตุผลแก่รัฐผู้ส่งว่าเพราะเหตุผลใดจึงปฏิเสธ ในเรื่องนี้ข้อ 12 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ว่า?1. หัวหน้า สถานที่ทำการทางกงสุล จะเข้าปฏิบัติการหน้าที่ของตนได้ โดยอนุมัติจากรัฐผู้รับเรียกว่า อนุมัติบัตรไม่ว่าการให้อนุมัติจะเป็นไปในรูปใดก็ตาม 2. รัฐซึ่งปฏิเสธไม่ให้อนุมัติบัตรไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการปฏิเสธ เช่นว่านั้นแก่รัฐผู้ส่ง 3. ภายในข้อบังคับแห่งบทของข้อ 13 และ 15 หัวหน้าสถานที่ทำการทางกงสุลจะไม่เข้ารับหน้าที่ของตนจนกว่าจะได้รับอนุมัติ บัตรแล้ว? [การทูต] | Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] | Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] | Freedom of Movement of Member of Consular Post | เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ทำการทาง กงสุล เรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ในข้อ 34 ว่า?ภายในบังคับแห่งกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตซึ่งเป็นที่หวงห้าม หรือที่ได้กำหนดระเบียบไว้ เพราะเหตุผลในทางความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน แก่บุคคลทั้งปวงในสถานที่ทำการทางกงสุล? [การทูต] | Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] | International Atomic Energy Agency | สำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ ในการประชุมระหว่างประเทศ ที่ประชุมได้รับรองกฎข้อบังคับขององค์การนี้เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม ค.ศ. 1956 ณ สำนักงานใหญ่ขององค์การสหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก รัฐที่ร่วมลงนามเป็นสมาชิกขององค์การอย่างน้อย 18 ประเทศ รวมทั้งประเทศดังต่อไปนี้ คือ แคนาดา ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และ สหรัฐอเมริกา อย่างน้อยสามประเทศได้มอบสัตยาบันสาร ยังผลให้กฎข้อบังคับดังกล่าวมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 29 ตุลาคม ค.ศ. 1956วัตถุประสงค์ขององค์การพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศ คือ1. ต้องการเร่งรัดและส่งเสริมให้พลังงานปรมาณูมีส่วนเกื้อกูลมากขึ้นต่อ สันติภาพ สุขภาพ และความไพบูลย์มั่งคั่งตลอดทั่วโลก2. ทำให้เป็นที่แน่ใจว่า ความช่วยเหลือที่องค์การจัดให้หรือตามคำขอร้องขององค์การ หรือที่อยู่ใต้ความควบคุมดูแลขององค์การนั้น จะต้องไม่ถูกนำไปใช้เพื่อส่งเสริมความมุ่งหมายทางทหารแต่อย่างใดองค์การ ดำเนินงานผ่านทางองค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ คือ1. ที่ประชุมระหว่างประเทศ (General Conference) ประกอบด้วยสมาชิกของสำนักพลังงานปรมาณูระหว่างประเทศทั้งหมด มีการประชุมสมัยสามัญประจำปี และอาจมีการประชุมสมัยพิเศษเท่าที่จำเป็น ที่ประชุมจะพิจารณาแลกเปลี่ยนความเห็นในปัญหาต่าง ๆ ที่อยู่ภายในกรอบของกฎข้อบังคับ2. คณะผู้ว่าการ (Board of Governors) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 23 ประเทศ ปฏิบัติงานตามหน้าที่ขององค์การ3. คณะเจ้าหน้าที่ขององค์การมีหัวหน้าเรียกว่าอธิบดี (Director General) ซึ่งคณะผู้ว่าการแต่งตั้งขึ้นตามความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ และมีอายุอยู่ในตำแหน่ง 4 ปี ตัวอธิบดีถือเป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารขององค์การ มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ในกรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย [การทูต] | International Civil Aviation Organization | เรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต] | International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] | International Telecommunica-tion Union | สหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] | Passport | หนังสือเดินทาง คือเอกสารทางราชการที่ใช้แสดงตัวและสัญชาติ ซึ่งทางราชการออกให้แก่บุคคลที่จะเดินทางไป หรือพำนักอยู่ชั่วคราวในต่างประเทศเมื่อสมัยก่อนสงครามโลกทั้งสองครั้ง ประเทศต่าง ๆ มิได้ขอให้คนต่างด้าวที่จะเข้าไปในประเทศของตนต้องมีหนังสือเดินทาง มีการเริ่มใช้หนังสือเดินทางอย่างแพร่หลายก็ในระยะหลังสงครามดังกล่าว ทุกวันนี้ ประเทศส่วนมากในโลกต่างต้องการให้คนต่างด้าวที่จะเดินทางเข้าไปในดินแดนของ ตนมีหนังสือเดินทางซึ่งได้รับการตรวจลงตรา (Visa) โดยถูกต้องจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนเสียก่อน อย่างไรก็ดี ทุกวันนี้ประเทศส่วนมากได้มอบอำนาจให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลของตนในต่าง ประเทศเป็นผู้ออกหนังสือเดินทางได้ด้วยหนังสือเดินทางที่ใช้กันในปัจจุบันมี อยู่หลายประเภทอันได้แก่1. หนังสือเดินทางทูต (Diplomatic passports ) ออกให้แก่ผู้ที่มีตำแหน่งเอกอัครราชทูต อัครราชทูต เจ้าหน้าที่ต่าง ๆ ของสถานเอกอัครราชทูต และบุคคลอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งทางการทูต รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น2. หนังสือเดินทางพิเศษ (Special passports) ออกให้ แก่ข้าราชการที่ไม่มีสถานะทางการทูต และบุคคลในครอบครัวของเขาเหล่านั้น3. หนังสือเดินทางธรรมดา ( Regular passports ) ออกให้แก่บุคคลธรรมดา (Private persons) ซึ่งมีสิทธิจะขอหนังสือเดินทางดังกล่าวได้ตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับของ ประเทศของตนมีบางประเทศได้ออกหนังสือเดินทางประเภทอื่น นอกเหนือจากที่ได้กล่าวมาข้างต้นด้วยเหตุผลเฉพาะ เช่น ภายใต้ระบบของสหรัฐอเมริกา มีการออกหนังสือเดินทางที่เรียกว่า1. หนังสือเดินทางบริการ (Service passports) ออกให้แก่คนอเมริกัน หรือชนชาติที่สวามิภักดิ์ต่อสหรัฐอเมริกาที่อยู่ในต่างประเทศ2. หนังสือเดินทางบุคคลในครอบครัว (Dependent passports) ออกให้แก่บุคคลที่ถือหนังสือเดินทางนี้ในกรณีที่เดินทางไปชั่วคราว หรือพำนักอยู่นาน ๆ ในต่างประเทศในฐานะที่เป็นบุคคลในครอบครัวของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศ หรือพลเรือนอเมริกันที่ยังรับราชการอยู่นอกเขตประเทศสหรัฐอเมริกา [การทูต] | persona non grata | บุคคลทางการทูตที่รัฐผู้รับไม่ยอมรับ เช่น กรณีนักการทูตทำผิดกฎหมายหรือข้อบังคับทางศาสนาในประเทศที่พำนักอยู่ จนทางรัฐบาลของประเทศนั้นไม่อาจยอมรับได้และต้องให้เดินทางกลับออกนอกประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม นักการทูตอาจถูกรัฐบาลของรัฐผู้รับให้ออกนอกประเทศเป็น persona non grata ด้วยเหตุผลของการดำเนินการโต้ตอบทางการเมืองระหว่างรัฐผู้รับและรัฐผู้ส่งก็ เป็นได้ โดยที่นักการทูตผู้นั้นมิได้กระทำผิดกฎหมายของรัฐผู้รับหรือกระทำผิดทาง ศาสนาของรัฐผู้รับแต่อย่างใด [การทูต] | point of order | ประท้วง หรือขัดจังหวะในระหว่างการประชุม หรือระหว่างการกล่าวถ้อยแถลงในเรื่องผิดข้อบังคับการประชุม [การทูต] | Reciprocity of Rank of Envoys | หมายถึง การถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันในเรื่องตำแหน่งของทูต กล่าวคือ ประเทศทั้งหลายถือธรรมเนียมปฏิบัติในการแลกเปลี่ยนทูตที่มีตำแหน่งเท่าเทียม กัน ดังนั้น หากประเทศหนึ่งส่งทูตไปประจำอีกประเทศหนึ่ง ในตำแหน่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็ม ประเทศนั้นก็คาดว่าประเทศผู้รับย่อมจะให้ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน โดยส่งเอกอัครราชทูตวิสามัญผู้มีอำนาจเต็มของตนไปประจำที่ประเทศผู้ส่งด้วย พึงสังเกตว่าการถ้อยทีถ้อยปฏิบัติกันเช่นนี้มิใช่เป็นระเบียบข้อบังคับของ กฏหมายระหว่างประเทศ หากเป็นการแสดงไมตรีจิตมิตรภาพต่อกันระหว่างประเทศทั้งหลายมากกว่า [การทูต] | rules of procedure | ข้อบังคับการประชุม [การทูต] | The Nordic Council | องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] | Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] | Articles of association | ข้อบังคับของบริษัท [การบัญชี] | constraint | ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี, สิ่งที่ทำให้การทำงานของระบบเทคโนโลยีเกิดการติดขัด หรือสิ่งที่จำกัดขอบเขตการทำงาน ทำให้ไม่สามารถทำงานได้เต็มที่ เช่น ข้อจำกัดด้านเงินทุน เวลา ความรู้ กฎข้อบังคับ สภาพอากาศ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
| The first thing you must learn... is to memorize our sect's 8 rules and 64 restrictions. | อย่างแรกที่เจ้าต้องเรียนรู้... ก็คือจำกฏสำนัก 8 ข้อและ ข้อบังคับ 64 ประการ. Return of the Condor Heroes (1983) | I was thinking, there's so many rules and restrictions to memorize. | ข้ากำลังคิดว่า มีกฏและข้อบังคับมากมายให้จำ. Return of the Condor Heroes (1983) | One supposes they see it as some kind of requirement or obligation. | ก็ถือเรื่องนี้เป็นข้อกำหนดหรือข้อบังคับ Bicentennial Man (1999) | Well, it's not exactly an obligation. | มันก็ไม่เชิงเป็นข้อบังคับหรอก Bicentennial Man (1999) | We can walk in the park. No, we can't. It's an official decree. | ไม่ได้ครับ มันผิดกฎข้อบังคับ ห้ามคนยิวเข้าสวนสาธารณะ The Pianist (2002) | This decree will come into force on the first of December, 1939 and applies to all Jews over 12 years of age. | ข้อบังคับนี้ ให้มีผลตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคม 1939 และบังคับใช้กับชาวยิวที่มีอายุเกิน 12 ปี The Pianist (2002) | The Jews that do not respect this decree will be severely punished. | ชาวยิวที่ฝ่าฝืนกฎข้อบังคับนี้ จะถูกลงโทษอย่างหนัก The Pianist (2002) | Determination, resourcefulness and if I may say so, a certain disregard for the rules. | ความตั้งใจแน่วแน่ มีไหวพริบคล่องตัว และที่ไม่อยากบอก ไม่ยึดมั่นในกฎข้อบังคับ Harry Potter and the Chamber of Secrets (2002) | And wanted to remove some of the constraints that had historically been placed on the corporate form. | และต้องการขจัดข้อบังคับบางอย่าง ที่สร้างข้อจำกัดแก่รูปแบบของบรรษัท The Corporation (2003) | Odwalla was guilty of food and drug regulatory violations. | ออดวัลลามีความผิดฐานละเมิดข้อบังคับของ อย. ... . The Corporation (2003) | They were protected by tradition and public regulation. | โดยได้รับการคุ้มครองจากจารีตประเพณี และกฎเกณฑ์ข้อบังคับของสังคม ปัญหาว่าด้วยขอบเขต The Corporation (2003) | Then we went after the oceans the great oceanic commons and we created laws and regulations that would allow countries to claim a certain amount of water outside their coastal limits for exploitation. | จากนั้นเราก็เอาพื้นน้ำมหาสมุทรที่เป็นสมบัติส่วนรวม มาออกกฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ อนุญาตให้แต่ละประเทศ The Corporation (2003) | With deregulation privatization free trade what we're seeing is yet another enclosure and if you like private taking of the commons. | ข้อตกลงทั่วไปว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีศุลกากรและการค้า การลดข้อบังคับ การแปรรูป การค้าเสรี (เอเลน เบอร์นาร์ด ผู้อำนวยการบริหาร โครงการสหภาพแรงงาน, ฮาร์วาร์ด) ทั้งหมดนี้คือการล้อมเขตที่ดินในอีกรูปแบบหนึ่ง เรียกอีกอย่างหนึ่งก็ได้ว่า การยึดสมบัติส่วนรวมมาเป็นของส่วนบุคคล The Corporation (2003) | About the ecclesiastical court when Council of Trient ruled. | ผมเรียนเกี่ยวกับกฏข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับพระบัญญัติของศาสนาน่ะครับ Love So Divine (2004) | How dare you disregard the Palace's laws and regulations? | เธอกล้าดียังไงที่ไม่เคารพกฎหมายและข้อบังคับของพระราชวัง Episode #1.3 (2006) | Does doctrine necessarily include vows of chastity, tithing.. | ใน หลักศาสนาไม่มีข้อบังคับ ให้ถือพรหมจรรย์ เอาเงินให้โบสถ์ The Da Vinci Code (2006) | Sir, we can contact the networks, but they're under no legal obligation to comply. | แต่ไม่มีกฏหมายหรือข้อบังคับอะไรห้ามได้เลย Day 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006) | - I'm the First Lady. I understand, Mrs. Logan, uh, but there are security requirements. | ผมเข้าใจครับ แต่มันมีข้อบังคับเรื่องความปลอดภัย Day 5: 9:00 a.m.-10:00 a.m. (2006) | - No, but it's protocol, and we're all gonna do this by the book. | และเราต้องจัดการเรื่องนี้ตามข้อบังคับ Riots, Drills and the Devil: Part 2 (2005) | George o'malley-- burke's friend, burke's guy-- staying in a marriage out of obligation? | จอร์จ โอมาลลี่ เพื่อนของเบิร์ก คนของเบิร์ก อยู่ในการแต่งงานโดยปราศจากข้อบังคับ Love/Addiction (2007) | You're handcuffing us with all these restrictions. | คุณจำกัดพวกเราด้วยข้อบังคับต่างๆ The Right Stuff (2007) | Right, but what's the rule on that kind of thing? | ก็ใช่ แต่อะไรคือข้อบังคับสำหรับเรื่องพรรค์นี้ล่ะ? Numb (2007) | Other departments have enacted countermeasures as well. | ให้แผนกอื่นๆได้ออกข้อบังคับตอบโต้โดยทันที Appleseed Ex Machina (2007) | City regulations prevent me from talking about deliveries. | นี่ ฉันอยากจะช่วยนะ แต่กฎข้อบังคับเมืองนี้ ห้ามเปิดเผยข้อมูลการส่งของ Chapter Twelve 'Our Father' (2008) | There's no city regulation About that. What are you, a cop? | ไม่มีกฎข้อบังคับที่ว่านี้หรอก Chapter Twelve 'Our Father' (2008) | To ensure that the rules are followed. | เพื่อให้แน่ใจ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ Saw V (2008) | You get me credible intelligence against the Company I'll walk you into the attorney general's office myself. | คุณจะให้คนน่าเชื่อถืออย่างฉันฝืนข้อบังคับของคอมพานี่หรอ ฉันจะเดินเข้าไปใน.. ออฟฟิศ รมว ยุติธรรมเองเลย Just Business (2008) | Well, there's no law that says it has to be a delicate veil. | ความจริงมันก็ไม่เป็นข้อบังคับนะคะ ที่จะต้องทำออกมาเหมือนผ้าคลุมหน้าเจ้าสาว You're Gonna Love Tomorrow (2008) | Don't you know leaving the capital means defying the law? ! | ท่านไม่รู้หรือว่าการละทิ้งบ้านเมือง ถือเป็นความผิดตามกฎข้อบังคับ The Kingdom of the Winds (2008) | - Sorry. Strict orders. - Go talk to your supervisor. | ฉันไม่สนในข้อบังคับของคุณ คุณคุยกับหัวหน้าคุณ ไปได้ Prison Break: The Final Break (2009) | I've strict orders. No one gets inside at this point, sir. | ฉันมีกฎข้อบังคับอย่างชัดแจ้ง ห้ามเข้ามาในนี้ Prison Break: The Final Break (2009) | I don't know what your orders are. Go talk to your supervisor. | ฉันไม่สนในข้อบังคับของคุณ คุณคุยกับหัวหน้าคุณ คุณต้อง Prison Break: The Final Break (2009) | Bad news for law enforcement. | ข่าวร้ายสำหรับข้อบังคับการใช้กฏหมาย Na Triobloidi (2009) | From what I recall, speakeasies were built on finding ways around liquor regulation. | เท่าที่จำได้ speakeasies สร้างมันขึ้นมา หาทางวางกฎข้อบังคับเหล้า How to Succeed in Bassness (2009) | Let's just say that they have a penchant for playing loose with regulations and rules of command. | เอาเป็นว่าพวกเขาโปรดปรานที่จะ ผ่อนปรน กฎข้อบังคับ Weapons Factory (2009) | You know the kind of lawsuit that they would have? | พวกเขาจะต้องมีกฏหมายข้อบังคับอะไรซักอย่าง Frozen (2010) | We can discuss that further at a point in time according to regulations. | พวกเราน่าจะคุยกัน ในตอนนี้นะ ตามกฎข้อบังคับ Trouble (2010) | Against msed wishes, just out of curiosity, what were you thinking? | ฝ่าฝืนกฎข้อบังคับ ปราศจากความลังเล นายกำััลังคิดอะไรอยู่เหรอ? Revelation Zero: Part 1 (2010) | They're breaking about 17 different rules of protocol! | พวกเขาฝ่าฝืนกฎข้อบังคับกว่า 17 ข้อ! Chuck Versus the Tooth (2010) | Yeah, right? It's FBI, rules, regulations... | ใช่ ใช่แล้ว มันเป็นกฎของ FBI กฎข้อบังคับ... The Predator in the Pool (2010) | That's funny because you're satirizing bureaucratic rules by adhering to the letter of the regulations instead of the spirit of it. | นั่นตลกดี เพราะว่าคุณกำลังเสียดสีระบบราชการ โดยการยึดมันในตัวอักษรของกฎข้อบังคับ The Predator in the Pool (2010) | I've got six mandatory sessions with a shrink coming at me because of Carlos Fuentes. | ฉันต้องไปร่วมกิจกรรมตามข้อบังคับ 6 อย่าง กับจิตแพทย์ ต้องทำก็เพราะคาลอส เฟนเทส Take It! (2010) | We're here on behalf of Swiss banking regulators. | เรามาด้วยเรื่องกฏข้อบังคับของธนาคารสวิส The Next Seduction (2011) | Besides, it's not your call. It's mandatory after a shooting. | อีกอย่าง มันไม่ใช่การตัดสินใจของเธอ มันเป็นข้อบังคับหลังจากการยิงกัน Scarlet Ribbons (2011) | Regs says you don't get your piece back until you requalify. | ข้อบังคับบอกไว้ว่าคุณจะไม่ได้ปืนของคุณคืน จนกว่าจะสอบใหม่ Rise (2011) | What do regs say about that? | ข้อบังคับบอกไว้ว่ายังไงบ้าง? Rise (2011) | Who do you think makes all the rules? | เธอคิดว่าใครกันเป็นผู้สร้างกฏข้อบังคับทั้งหมดขึ้นมา Ghost World (2011) | - Oh, you do when they're mandatory. | - คุณต้องไป มันเป็นข้อบังคับ Pretty Red Balloon (2011) | Bringing anyone outside of NCIS here is a gross breach of protocol. | พาคนนอกเข้ามาในเอ็นซีไอเอส มันเป็นการฝ่าฝืนข้อบังคับ Cyber Threat (2011) | ( Chuckles ) Since when have I had a dress code, dad? | เปลี่ยนเสื้อผ้าซะ เรามีข้อบังคับเรื่องการแต่งตัวกันตั้งแต่เมื่อไหร่คะ? A Hot Piece of A (2012) |
| ข้อบังคับ | [khøbangkhap] (n) EN: regulation ; rule ; principle ; by-law FR: règlement [ m ] ; règle [ f ] ; statut [ m ] | ข้อบังคับทางวินัย | [khøbangkhap thāng winai] (n, exp) FR: règlement disciplinaire [ m ] | กฎข้อบังคับ | [kotkhøbangkhap] (n) EN: by-rule ; rule ; regulation ; procedure ; bylaw ; statute | กฎระเบียบข้อบังคับ | [kot rabīep khøbangkhap] (n, exp) EN: rules and regulations | ระเบียบข้อบังคับ | [rabīep khøbangkhap] (n, exp) EN: regulation ; rule | ตามข้อบังคับ | [tām khøbangkhap] (adv) EN: according to regulations |
| bend | (vt) ยืดหยุ่น (ต่อกฎข้อบังคับ) | be in order | (phrv) ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ (โดยเฉพาะการพูดอย่างเป็นทางการ), See also: ถูกกฎข้อบังคับ, Syn. be out of | decree | (n) พระราชกฤษฎีกา, See also: กฎ, ข้อบังคับ, พระราชกฤษฎีกา, คำพิพากษา, Syn. command, dictum, edict, order, proclaimation | discipline | (n) ข้อบังคับ, See also: วินัย, ระเบียบ, กฎ, ธรรมวินัย, Syn. continence, restraint, Ant. immoderation | dogma | (n) หลักศาสนา, See also: วินัย, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, หลักความเชื่อ, Syn. doctrine, principles, tenet | emancipation | (n) การปลดปล่อยให้เป็นอิสระจากข้อบังคับ, See also: การปลดแอก | exemption | (n) ความเป็นอิสระจากกฎข้อบังคับ, Syn. exception, immunity, privilege | hew to | (phrv) ทำตาม (เช่น กฎ, ข้อบังคับ), See also: ปฏิบัติตาม | red tape | (idm) ข้อบังคับที่เข้มงวด, See also: กฎเกณฑ์ | law | (n) กฎหมาย, See also: ระเบียบ, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, ข้อกำหนด, กฎข้อบังคับ, Syn. rule, regulation, statute | mandate | (n) คำสั่ง, See also: ข้อบังคับ, ข้อบัญญัติ, พระราชกฤษฎีกา, กฎกระทรวง, Syn. command, decree, order, commission | put on | (phrv) ข้อบังคับให้ยอมรับ, Syn. fasten on, impose on | qualification | (n) ข้อจำกัด, See also: ข้อแม้, ข้อบังคับ, Syn. condition, limitation | regulation | (n) กฎข้อบังคับ, See also: ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ระเบียบ, Syn. law, order, rule | rule | (n) หลักเกณฑ์, See also: ข้อบังคับ, กฎระเบียบ, Syn. direction, principle, regulation | statute | (n) กฎ, See also: ข้อบังคับ, ระเบียบ, Syn. rule, regulation | want out | (idm) อยากเลิก (กิจการ, ชีวิตคู่, ข้อสัญญา, ข้อบังคับ), See also: อยากตาย, อยากยุติ |
| article | (อาร์'ทิเคิล) n. สิ่งของ, ชิ้น, สินค้า, บทความ, มาตรา, ข้อ, ข้อบังคับ, รายการ, คำนำหน้านาม. -vt. กล่าวหา, ฟ้อง, ทำให้ข้อบังคับผูกมัด, Syn. item, object, piece, essay | constitution | (คอนสทิทิว'เชิน) n. การประกอบขึ้น, การก่อตั้ง, การสถาปนา, ร่างกาย, อุปนิสัย, สันดาน, รัฐธรรมนูญ, ระเบียบข้อบังคับ, รูปแบบการปกครอง, รากฐาน, Syn. composition | constitutional | (คอนสทิทิว'เชินเนิล) adj. เป็นรากฐาน, เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, เป็นส่วนสำคัญ, ถูกต้องหรือเป็นไปตามรัฐธรรมนูญ, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ. n. การเดินหรือการออกกำลังกายที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ, Syn. basic | disciplinal | (ดิส'ซะพลิเนิล) adj. เกี่ยวกับวินัย, เกี่ยวกับระเบียบข้อบังคับ | imperative | (อิมเพอ' ระทิฟช) adj. ซึ่งเลี่ยงไม่ได้, จำเป็น, เชิงบังคับ -n. คำสั่ง, ความจำเป็น, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, น้ำเสียงขอร้องหรือเป็นเชิงบังคับ, มาลาเชิงบังคับของไวยากรณ์ | law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง | mandatory | (แมน'ดะโทรี, -ทอรี) adj. (เกี่ยวกับ) คำสั่ง, อาณัติ, ข้อบังคับ, จำเป็น, ซึ่งได้รับคำสั่ง. n. ผู้ได้รับมอบอาณัติการปกครอง., See also: manditorily adv., Syn. obligatory | regulation | (เรกกิวเล'เชิน) n. กฎ, กฎข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ระเบียบ, ระบบ, การควบคุม, การดูแล, การปรับ, การทำให้เป็นระเบียบ adj. ปกติ, ธรรมดา, เป็นประจำ, เป็นกิจวัตร | rule | (รูล) n. กฎ, หลัก, ข้อบังคับ, ระเบียบ, กติกา, วินัย, วินัยศาสนา, การปกครอง, การควบคุม, การครอบครอง, การชี้ขาด, วิธีการทางคณิตศาสตร์, ไม้บรรทัด, ไม้วัด -Phr. (as a rule โดยทั่วไป, ตามปกติ) vt., vi. ควบคุม, ปกครอง, ครอบงำ, ชี้ขาด, มีอิทธิพล, ตีเส้น, ขีดเส้น -Phr. (rule out ไม่ยอมรับ) | standard | (สแทน'เดิร์ด) n., adj. (เป็น) มาตรฐาน, เกณฑ์, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, กรอบ, ข้อกำหนด, อัตราเปรียบเทียบ, สิ่งที่เป็นมาตรฐานเปรียบเทียบ, หน่วยเงินตรา, ธงราชการ, ธง, ชั้นปีโรงเรียนประถมในอังกฤษ, สิ่งค้ำจุนที่ตั้งตรง, เสาไฟฟ้า, แท่นตั้งเทียน standards ศีลธรรมจรรยา, | statute | (สแทช'ชูท) n. บทบัญญัติ, พระราช-บัญญัติ, กฎ, ข้อบังคับ, ระเบียบ, ลายลักษณ์อักษร | unchartered | (อันชาร์ท'เทิร์ด) adj. ไม่มีกฎข้อบังคับ, ไม่มีกฎหมาย, ไม่ได้รับอนุญาต |
| discipline | (n) ระเบียบข้อบังคับ, ระเบียบวินัย, การลงโทษ, การฝึกฝน | imperative | (n) คำสั่ง, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ความจำเป็น | law | (n) กฎหมาย, ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ศีล, คำสั่ง | mandatory | (adj) เกี่ยวกับอาณัติ, เกี่ยวกับคำสั่ง, จำเป็น, เกี่ยวกับข้อบังคับ | regulation | (n) กฎเกณฑ์, การวางระเบียบ, บัญญัติ, กฎข้อบังคับ, การควบคุม | requirement | (n) ข้อกำหนด, ความต้องการ, ความจำเป็น, ข้อบังคับ, การเรียกร้อง | rule | (n) กฎ, กติกา, ระเบียบ, ข้อบังคับ, การปกครอง, ไม้บรรทัด | standard | (n) ระดับ, มาตรฐาน, อัตรา, เกณฑ์, ฐาน, ชั้นนักเรียน, ข้อบังคับ | statute | (n) พระราชบัญญัติ, มาตรา, ข้อบังคับ, กฎ, ระเบียบ |
| | 規則 | [きそく, kisoku] (n) กฎ, ข้อบังคับ | 規定 | [きてい, kitei] (n) ข้อบังคับ, กฎเกณฑ์, ระเบียบ |
| 定番 | [ていばん, teiban] (n, adj) n., adj. (เป็น) มาตรฐาน, เกณฑ์, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, กรอบ, ข้อกำหนด, อัตราเปรียบเทียบ |
| |
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |