ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ก่อการ, -ก่อการ- |
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่ ก่อการ | (v) start, See also: launch, initiate, Syn. ริเริ่ม, Example: ผู้ร้ายวางแผนการที่จะก่อการคืนนี้ | ก่อการร้าย | (v) terrorize, See also: cause terrorism, cause violence, Example: ชาวซิกพยายามใช้ปากีสถานเป็นฐานที่มั่น ลอบเข้าไปก่อการร้ายในรัฐปัญจาบของอินเดีย | การก่อการร้าย | (n) rebellion, Syn. การจราจล, Example: การก่อการร้ายข้ามชาติทำให้เราต้องเสียเลือดเนื้ออย่างมาก | ผู้ก่อการจลาจล | (n) rioter, See also: rebel, revolutionary, Syn. ผู้ก่อความไม่สงบ, ผู้ก่อการร้าย, Example: ตำรวจยิงแก๊สน้ำตาใส่กลุ่มผู้ก่อการจลาจล เพื่อให้หยุดทำลายทรัพย์สินของรัฐ, Count Unit: คน, กลุ่ม, Thai Definition: บุคคลที่ทำความวุ่นวายหรือความปั่นป่วนให้เกิดขึ้นในบ้านเมือง |
|
| ก่อการ | ก. ริเริ่มการ. | ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. | ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. | บริคณห์สนธิ | น. เอกสารก่อตั้งบริษัทจำกัดซึ่งผู้เริ่มก่อการบริษัท เข้าชื่อกันจัดทำขึ้นตามข้อกำหนดของกฎหมายในการจัดตั้งบริษัทจำกัด เรียกว่า หนังสือบริคณห์สนธิ. | โยงใย | ก. เกี่ยวเนื่อง เช่น ตำรวจจับผู้ร้ายได้ทำให้โยงใยไปถึงหัวหน้าผู้ก่อการร้าย เรื่องนี้มีปัญหาโยงใยไปถึงอีกเรื่องหนึ่ง. | สถานการณ์ฉุกเฉิน | น. สถานการณ์อันกระทบหรืออาจกระทบต่อความสงบเรียบร้อยของประชาชนหรือเป็นภัยต่อความมั่นคงของรัฐหรืออาจทำให้ประเทศหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศตกอยู่ในภาวะคับขันหรือมีการกระทำความผิดเกี่ยวกับการก่อการร้าย การรบหรือการสงคราม. | เสี้ยนศึก | น. ข้าศึกศัตรูที่ก่อการร้าย. | หัวหอก | น. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ทำหน้าที่นำผู้อื่นไปก่อนในการต่อสู้หรือการพัฒนาสังคมเป็นต้น เช่น ส่งทหารพรานเป็นหัวหอกไปค้นหาผู้ก่อการร้าย. |
| | Mutagenesis | ฤทธิ์ก่อการกลายพันธุ์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] | Mutagenic agent | สิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา [นิวเคลียร์] | Mutagen | สิ่งก่อการกลาย, สิ่งก่อกลายพันธุ์, สิ่งที่ทำให้ความถี่ของการกลายพันธุ์เพิ่มสูงขึ้นจากที่เกิดเองตามธรรมชาติ เช่น สารเอทิลมีเทนซัลโฟเนต (ethylmethane sulfonate) และรังสีแกมมา, Example: [นิวเคลียร์] | Bioterorism | การก่อการร้ายทางชีวภาพ [TU Subject Heading] | Domestic terrorism | การก่อการร้ายภายในประเทศ [TU Subject Heading] | September 11 Terrorist Attacks, 2001 | การโจมตีโดยผู้ก่อการร้าย 11 กันยายน ค.ศ. 2001 [TU Subject Heading] | State-sponsored terrorism | การใช้อำนาจรัฐก่อการร้าย [TU Subject Heading] | Terrorism | การก่อการร้าย [TU Subject Heading] | Terrorism and mass media | การก่อการร้ายกับสื่อมวลชน [TU Subject Heading] | Terrorism in mass media | การก่อการร้ายในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] | Terrorism victims' families | ครอบครัวของผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading] | Terrorists | ผู้ก่อการร้าย [TU Subject Heading] | Victims of terrorism | ผู้ประสบภัยจากการก่อการร้าย [TU Subject Heading] | War on Terrorism, 2001- | สงครามตอบโต้การก่อการร้าย ค.ศ. 2001- [TU Subject Heading] | Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] | Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] | Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] | CSI | เป็นโครงการที่ริเริ่มขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2545 โดยสำนักศุลกากรและป้องกันชายแดนสหรัฐอเมริกา ( US Bureau of Customs and Border Protection )ภายใต้กระทรวง Department of Homeland Security มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มความปลอดภัยให้แก่สินค้าที่ขนส่งเข้าไปยังสหรัฐ อเมริกา ด้วยการติดตั้งระบบติดตามตู้บรรทุกสินค้าที่มีความเสี่ยงต่อการก่อการร้าย และมีระบบตรวจสอบตู้บรรทุกสินค้าก่อนออกจากประเทศต้นทางไปสู่สหรัฐอเมริกา [การทูต] | international terrorism | การก่อการร้ายสากล [การทูต] | New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] | Bioterrorism | การก่อการร้ายชีวภาพ, การก่อการร้ายชีวภาพ การก่อการร้ายที่ข่มขู่หรือตั้งใจใช้สารชีวภาพ เช่น เชื้อโรคต่างๆ เช่น แบคทีเรียหรือไวรัส) หรือชีวพิษ, Example: การก่อการร้าชีวภาพ สร้างความกลัวให้กับกลุ่มคนเป้าหมายหรือสังคมโดยรวม โดยสิ่งต่างๆ เหล่านี้อาจได้มาจากธรรมชาติหรืออยู่ในรูปที่ดัดแปลงโดยมนุษย์ก็ได้ และอาจใช้ในรูปฝุ่น ผง หรือทำให้ปนเปื้อนไปกับอาหารหรือน้ำ เป็นต้น [เทคโนโลยีชีวภาพ] | Irritating Effect | ก่อการระคายเคือง [การแพทย์] |
| ก่อการ | [køkān] (v) EN: start ; launch ; initiate ; promote ; originate FR: initier ; susciter | ก่อการร้าย | [køkān rāi] (v, exp) EN: terrorize ; cause terrorism ; cause violence FR: causer des violences | ผู้ก่อการ | [phū køkān] (n, exp) EN: founder of an enterprise ; originator | ผู้ก่อการ | [phū køkān] (n, exp) EN: promoter of the revolution of B.E. 2475 ; revolutionary | ผู้ก่อการจลาจล | [phū køkān jalājon] (n, exp) EN: rioter | ผู้ก่อการร้าย | [phūkøkānrāi] (n) EN: insurgent ; terrorist ; rioter ; bandit | ผู้ก่อการจลาจล | [phū kø kānjalājon] (n, exp) EN: rioter ; rebel ; revolutionary | ผู้ก่อการยุ่งยาก | [phū kø kān yungyāk] (n, exp) FR: agitateur [ m ] ; agitatrice [ f ] | ผู้เริ่มก่อการ | [phū roēm køkān] (n, exp) EN: promoter |
| | car bomb | (n) ระเบิดที่ใส่ไว้ในรถเพื่อนำไปก่อการร้าย | instigator | (n) ผู้ก่อการ, See also: ผู้เริ่มต้น, ผู้ยุยง | mischief-maker | (n) ผู้ก่อการร้าย, See also: ผู้ทำความชั่ว, Syn. devil | mischief-making | (n) การก่อการร้าย, See also: การทำความชั่ว, Syn. mischief | mob | (vt) ก่อการจลาจล, See also: ชุลมุนวุ่นวาย, โจมตีอย่างรุนแรง, Syn. crowd | mutineer | (n) ผู้ก่อการกบฏ, See also: ผู้ก่อการกระด้างกระเดื่อง, ผู้ที่ลุกฮือขึ้นต่อต้าน, ผู้ที่ก่อการกำเริบ | mutinously | (adv) ซึ่งก่อการจลาจล, See also: ซึ่งก่อความไม่สงบ | mutiny | (vi) ก่อการจลาจล, See also: ก่อการกบฏ, ต่อต้านอำนาจ | nihilism | (n) การก่อการร้าย, See also: การปฏิวัติ, Syn. terrorism | Pentagon | (n) ตึกกระทรวงกลาโหมรูปห้าเหลี่ยมของอเมริกา, See also: ถูกผู้ก่อการร้ายถล่มเมื่อ 11 กันยายน พ.ศ.2544 | rebel | (n) ผู้ก่อการกบฏ, See also: ผู้ทรยศ, ผู้ก่อกบฏ, Syn. mutineer, revolter | rebellious | (adj) ซึ่งก่อการกบฏ, See also: ขบถ, ดื้อรั้น, หัวรั้น, Syn. disobedient, mutinous | riot | (vi) ก่อการจลาจล, See also: ก่อความไม่สงบ, Syn. rampage, revolt | rioter | (n) ผู้ก่อการจลาจล, Syn. rebel, mutinee, brawler | strike | (vi) หยุดงานประท้วง, See also: ก่อการจลาจล, Syn. mutiny, revolt, walk out | terror | (n) การเคลื่อนไหวที่ก่อให้เกิดความรุนแรงเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง, See also: การก่อการร้าย | terrorism | (n) การใช้ความรุนแรงเพื่อข้อเรียกร้องทางการเมือง, See also: ลัทธิก่อการร้าย, Syn. disorder, lawlessness, nihilism | terrorist | (n) ผู้ก่อการร้าย, Syn. destroyer, dictator, hijacker | terrorist | (adj) ซึ่งก่อการร้าย |
| founder | (เฟา'เดอะ) n. ผู้ก่อตั้ง, ผู้ก่อการ, ผู้สร้าง, ช่างหล่อ v. ล้มลง, อับปาง, ล้มเหลว, ทำให้ล้มลง, , Syn. collapse, -A. endure | insurgent | (อินเซอ'เจินทฺ) n. ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อการกบฏ, adj. จลาจล, กบฏ, ลุกลาม, เป็นระลอก, Syn. rebellious | mob | (มอบ) n. ฝูงชนอลหม่านหรือก่อการจลาจล, สัตว์, ฝูงชน, มวลชน, แก๊งอาชญากร. adj. เกี่ยวกับฝูงชนที่กำลังอลหม่าน vt. ชุลมุนวุ่นวาย, โจมตีอย่างรุนแรง, ก่อการจลาจล, Syn. gathering, crowd | mutineer | (มิว'ทะเนียร์) n. ผู้ก่อการกบฏ, ผู้ขัดขืน | mutiny | (มิว'ทะนี) n. การกบฏ, การขัดขืน vi. ก่อการกบฏ, ขัดขืน, Syn. rebellion | nihilism | (ไน'อะลิสซึม) n. ลัทธิยกเลิกกฎหมายและองค์กรบริหารทั้งหลาย, คนสงสัยอย่างยิ่งยวด, ลัทธิทำลาย, สภาวะที่ไร้กฎหมาย มีการก่อการร้ายและการปฏิวัติอื่น ๆ , การทำลายสิ้นเชิง., See also: nihilist n., adj. nihilistic adj. | promote | (พระโมท') vt. สนับสนุน, ส่งเสริม, เลื่อน, กระตุ้น, ก่อการ, ก่อตั้ง., See also: promotable adj., Syn. further, upgrade | promoter | (พระโม'เทอะ) n. ผู้สนับสนุน, ผู้ส่ง-เสริม, ผู้ก่อการ, ผู้กระตุ้น, สารกระตุ้นฤทธิ์ทางเคมี | promotion | (พระโม'เชิน) n. การสนับสนุน, การส่งเสริม, การเลื่อน (ตำแหน่ง ฐานะหรือระดับ) , การให้กำลังใจ, การก่อการ, การก่อตั้ง., See also: promotional adj. promotive adj. | rebel | (เรบ'เบิล) n. กบฏ adj. กบฏ, ขัดขืน, หัวรั้น, จลาจล, หัวดื้อ. vi. ก่อการกบฏ, ขัดขืน, ต่อต้าน, Syn. insurrectionist, resist | rebellion | (ริเบล'เยิน) n. การกบฏ, การจลาจล, การก่อการจลาจล | rebellious | (รีเบล'เยิส) adj. เป็นกบฏ, ซึ่งก่อการกบฏ, ซึ่งก่อการจลาจล, ขัดขืน, ทรยศ, พยศ, ไม่เชื่อฟัง, See also: rebelliousness n., Syn. defiant, mutinous | revolting | (รีโวล'ทิง) adj. น่ารังเกียจ, น่าขยะแขยง, เป็นกบฏ, เอาใจออกห่าง, ซึ่งก่อการกำเริบ, Syn. disgusting | rioter | (ไร'เอิทเทอะ) n. ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความไม่สงบ, ผู้สำมะเลเทเมา | rise | (ไรซ) (rose, risen, rising, rises } vi., n. (การ) ลุกขึ้น, ยืนขึ้น, ตื่นขึ้น, ยืนตรง, ลุกขึ้นต่อสู้, เจริญเติบโต, ปรากฎขึ้น, ลอยขึ้น, ผุดขึ้น, กำเนิดขึ้น, ฟูขึ้น, เลื่อนขึ้น, เพิ่มขึ้น, สูงขึ้น, นูนขึ้น, ก่อการกบฏ, กระตุ้น, ราคาสูงขึ้น, ฟื้นขึ้นจากความตาย, ปิดการประชุม vt. ทำให้ลุกขึ้น | riser | (ไร'เซอะ) n. ผู้ตื่นขึ้น, ผู้ลุกขึ้น, ผู้ก่อการจลาจล, แผ่นกระดานของบันไดที่ตั้งขึ้น, เครื่องที่เลื่อนขึ้นเลื่อนลง | sedition | (ซีดิช'เชิน) n. การปลุกปั่นให้ก่อความไม่สงบหรือก่อการกบฏ, การจราจล, การต่อต้านรัฐบาล, Syn. rebellion, mutiny, defiance | terrorism | (เท'เรอะริสซึม) n. ลัทธิก่อการร้าย, See also: terrorist ผู้ก่อการร้าย | thug | (ธัก) n. อันธพาล, วายร้าย, ผู้ร้าย, ผู้ก่อการร้าย, ผู้ชิงทรัพย์, ฆาตกร, See also: thuggery n. thuggish adj. |
| agitator | (n) ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ปลุกปั่น, ผู้ยุแหย่, ผู้ก่อกวน | insurgent | (n) กบฏ, อาการกำเริบ, ผู้ก่อการจลาจล | junto | (n) พรรคการเมือง, พรรคพวก, คณะปกครอง, คณะผู้ก่อการร้าย | mob | (vt) ห้อมล้อม, กลุ้มรุมทำร้าย, ก่อการจลาจล, ชุลมุนวุ่นวาย | mutineer | (n) กบฏ, ผู้ก่อการจลาจล, ผู้แข็งข้อ, ผู้ขัดขืน | mutineer | (vi) กบฏ, กำเริบ, ก่อการจลาจล, แข็งข้อ, ขัดขืน | mutinous | (adj) เป็นกบฏ, กำเริบ, ซึ่งก่อการจลาจล, แข็งข้อ, ขัดขืน | mutiny | (n) การกบฏ, การก่อการจลาจล, การแข็งข้อ | rebel | (n) การจลาจล, กบฏ, ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ขัดขืน, ผู้ทรยศ | rebellion | (n) การก่อการจลาจล, การกบฏ, การทรยศ, การขัดขืน | rebellious | (adj) ซึ่งก่อการจลาจล, เป็นกบฏ, ทรยศ | revolutionist | (n) ผู้ก่อการปฏิวัติ | rioter | (n) ผู้ก่อการจลาจล, ผู้ก่อความวุ่นวาย, ผู้ก่อความไม่สงบ | terrorism | (n) การทำให้ตกใจกลัว, ลัทธิก่อการร้าย |
| | テロ | [てろ, tero] (n) การก่อการร้าย, See also: テロリズム | テロリズム | [てろりずむ, terorizumu] (n) การก่อการร้าย, See also: テロ |
| 戦隊 | [せんたい, sentai] (n) ขบวนการ, กลุ่มปฏิบัติการ, กลุ่มก่อการ |
| Freilassung | (n) |die, pl. Freilassungen| การปลดปล่อย, การไถ่ตัว, การไถ่เชลย เช่น Selbst die Terrorgruppe setzte sich offenbar für ihre Freilassung ein. กลุ่มผู้ก่อการร้ายเองก็ยังขอร้องให้มีการปล่อยตัวของเธอ |
|
เพิ่มคำศัพท์
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Are you satisfied with the result?
Discussions | | |