ผลลัพธ์การค้นหาสำหรับ

*การเกิด*

   
ภาษา
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: การเกิด, -การเกิด-
มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Dictionaries languages

English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


Thai-English: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
การเกิดใหม่(n) reincarnation, Example: ปีนี้อัตราการเกิดใหม่ของทารก เพิ่มขึ้นเกือบ 3 เท่าของปีก่อน
อัตราการเกิด(n) birth rate

ไทย-ไทย: พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ [with local updates]
กำเนิด(กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร.
คุมกำเนิดก. ควบคุมการเกิด, ป้องกันการตั้งครรภ์.
ชนม-, ชนม์(ชนมะ-, ชน) น. การเกิด.
ชะลอทำให้ช้าลง, ทำให้ช้าลงเพื่อรอ เช่น ชะลอเวลา ชะลอการเกิด.
ชาติ ๑, ชาติ- ๑(ชาด, ชาติ-, ชาดติ-) น. การเกิด, กำเนิด, มักใช้ว่า ชาติเกิด หรือ ชาติกำเนิด เช่น ถ้าทำไม่ดีก็เสียชาติเกิด, ความมีชีวิตอยู่ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น สบายทั้งชาติ
ไตรวิชชา(-วิดชา) น. ความรู้แจ้งในทางพระพุทธศาสนา ๓ อย่าง คือ ๑. ระลึกชาติหนหลังได้ ๒. รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ ๓. รู้วิธีทำให้สิ้นกิเลส.
ปฏิกิริยาการเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร.
ประชากรศาสตร์น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ.
ประภพน. การเกิดก่อน
ประสพ(ปฺระสบ) น. การเกิดผล.
ประสูติ, ประสูติ-(ปฺระสูด, ปฺระสูติ-) น. การเกิด
ประสูติการน. การเกิด, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระประสูติการ.
ปุนภพ(ปุนะ-, ปุนนะ-) น. ภพใหม่, การเกิดใหม่. (ป. ปุนพฺภว)
ศึกน. การใช้กำลังเข้าประหัตประหารกันอย่างรุนแรงระหว่างรัฐหรือประเทศตั้งแต่ ๒ รัฐหรือ ๒ ประเทศขึ้นไป เช่น ศึกชายแดน, การต่อสู้กันระหว่างบุคคลกับบุคคลหรือระหว่างพวกหนึ่งกับอีกพวกหนึ่ง เช่น ศึกล้างบาง ศึกล้างโคตร, โดยปริยายหมายถึงการเกิดขัดแย้งต่อสู้เป็นปฏิปักษ์ขึ้นในใจ เช่น ศึกในอก.
สมภพ(-พบ) น. การเกิด, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระราชสมภพ และ พระบรมราชสมภพ.
สูติ, สูติ-(สู-ติ-) น. การเกิด, กำเนิด, การคลอดบุตร.
อุจเฉททิฐิ(อุดเฉทะ-) น. ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่).
อุทกวิทยาน. วิชาว่าด้วยนํ้าที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของนํ้า รวมทั้งการนำนํ้ามาใช้ให้เป็นประโยชน์.
อุทัยน. การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข, การตั้งขึ้น เช่น อรุโณทัย = การตั้งขึ้นแห่งอรุณ.
อุบัติ, อุบัติ-(อุบัด, อุบัดติ-) น. การเกิดขึ้น, กำเนิด, การบังเกิด
อุปบัติ(อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด.

อังกฤษ-ไทย: ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน [เชื่อมโยงจาก orst.go.th แบบอัตโนมัติและผ่านการปรับแก้]
polymerisation; polymerizationการเกิดพอลิเมอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
polymerisationการเกิดพอลิเมอร์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕]
polymerization; polymerisationการเกิดพอลิเมอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
pittingการเกิดรอยบุ๋ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
planned birthการเกิดบุตรตามแผน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
pyritizationการเกิดไพไรต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
pyesis; suppurationการเกิดหนอง, การเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
porosis๑. การเกิดกระดูกซ่อม๒. การเกิดรูพรุน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
papulationการเกิดผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
polarisation๑. การเกิดขั้ว๒. โพลาไรเซชัน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕]
population replacementการเกิดแทนที่ของประชากร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
peat formationการเกิดพีต [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
pyophylactic-ป้องกันการเกิดหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
placentationการเกาะของรก, การเกิดของรก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
premature birthการเกิดก่อนกำหนด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
pyogenesisการเกิดหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
previous births to the motherจำนวนการเกิดที่ผ่านมาของมารดา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
plutonismการเกิดพลูตอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
pyarthrosis; pyoarthrosis๑. ภาวะข้อมีหนอง๒. การเกิดหนองภายในข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pustulationการเกิดตุ่มหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
photomorphogenesisการเกิดสัณฐานเพราะแสง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
psychogenesisการเกิดขึ้นภายในจิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pronatalistผู้สนับสนุนการเกิด, ที่สนับสนุนการเกิด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
plural birthการเกิดลูกแฝด [ ดู multiple birth ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
puckering๑. การเกิดรอยย่น๒. รอยย่น [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔]
parthenocarpyการเกิดผลลม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
parthenogenesisการเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
proof of birthการพิสูจน์การเกิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
pyoarthrosis; pyarthrosis๑. ภาวะข้อมีหนอง๒. การเกิดหนองภายในข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pedicellationการเกิดก้าน [ มีความหมายเหมือนกับ pediculation ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
pediculation๑. การติดแมลงปรสิต (เหา, เล็น, ไร, โลน)๒. การเกิดก้าน [ มีความหมายเหมือนกับ pedicellation ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
lithogenesisการเกิดนิ่ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
laterizationการเกิดศิลาแลง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
legitimate birthการเกิดบุตรชอบด้วยกฎหมาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
live birthการเกิดรอด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
reproductivityภาวะการเกิดทดแทน, ภาวะการสืบแทนพันธุ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
ratio of births to marriagesอัตราส่วนการเกิดต่อการสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
reproductionการเจริญพันธุ์, การสืบแทนพันธุ์, การเกิดทดแทน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]
recrystallizationการเกิดผลึกใหม่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
registration of birthการจดทะเบียนคนเกิด, การจดทะเบียนการเกิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]
relapseการเกิดโรคกลับ, การเป็นโรคกลับ [ ดู recidivation; recidivism ๑ และ recurrence ประกอบ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
relapse, intercurrentการเกิดไข้กลับทับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
reduplication๑. การเกิดซ้อน๒. การทำสำเนา๓. การลอกแบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sporation; sporulationการเกิดสปอร์ [ มีความหมายเหมือนกับ sporogenesis ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
sedimentationการเกิดหินตะกอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖]
seismomorphogenesisการเกิดสัณฐานเพราะการสั่น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕]
synulosis; cicatrisation; cicatrization; formation, scarการเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
stippling๑. การเกิดจุด๒. ภาวะมีจุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
synchronia๑. ภาวะเกิดพร้อมกัน [ มีความหมายเหมือนกับ synchronism ]๒. การเกิดตรงกำหนด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔]
second birth intervalช่วงห่างการเกิดบุตรครั้งที่ ๒ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕]

อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.
Vulcanizationการเกิดยางสุก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]
Peatลำดับเบื้องต้นของกระบวนการเกิดถ่านหิน, Example: ซากพืชที่ยังไม่แข็งตัว สะสมในที่ลุ่มชื้นแฉะ จึงทำให้มีความชื้นสูง (อย่างน้อยร้อยละ 75) เนื้อเซลลูโลสของซากพืชต่างๆถูกแบคทีเรียและเชื้อราแปรสภาพเป็นอินทรียวัตถุและก๊าซมีเทน แต่ยัง ปรากฏลักษณะซากพืชต่างๆให้เห็นอยู่ภายในเนื้อ มีคาร์บอนประกอบอยู่ประมาณร้อยละ 60 และออกซิเจนประมาณร้อยละ 30 เมื่อแห้งจะติดไฟได้ดี [ปิโตรเลี่ยม]
Barn, bบาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Bragg’s lawกฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์]
Burnable poisonสารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์]
Control rodแท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์]
Critical massมวลวิกฤต, มวลน้อยที่สุดของวัสดุที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสได้ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดและสืบเนื่องของปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู fissionable material ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Criticalityภาวะวิกฤต, ภาวะที่ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสสามารถสืบเนื่องอยู่ได้ โดยอัตราการเกิดนิวตรอนจากปฏิกิริยาเท่ากับอัตราการสูญเสียนิวตรอน [นิวเคลียร์]
Delayed neutronsดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์]
x-ray fluorescenceการเรืองรังสีเอกซ์, ปรากฏการณ์การเกิดรังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะของธาตุที่สนใจโดยใช้พลังงานที่เหมาะสมไปกระตุ้นอะตอมของธาตุนั้น [นิวเคลียร์]
Stochastic effect of radiationผลไม่ชัดเจน , ผลของรังสีที่คาดคะเนจากข้อมูลทางสถิติของผู้ที่ได้รับรังสี โดยโอกาสเกิดผลกระทบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณรังสี แต่ความรุนแรงของผลกระทบไม่ขึ้นกับปริมาณรังสี เช่น โอกาสของการเกิดมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีสูงขึ้น [นิวเคลียร์]
Special monitoringการเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์]
Shock waveคลื่นกระแทก, แรงผลักดันฉับพลัน ในอากาศ น้ำ หรือดิน ที่แผ่ขยายออกไปเป็นคลื่นเนื่องจากการระเบิด การเกิดคลื่นกระแทกมี 2 ระยะ ระยะที่หนึ่ง แรงผลักดันของตัวกลางเพิ่มขึ้นฉับพลันถึงระดับสูงสุดแล้วลดลงสู่ระดับปกติ ระยะที่สอง แรงผลักดันของตัวกลางจะลดลงแล้วกลับสู่ระดับปกติ คลื่นกระแทกที่เกิดในอากาศมักเรียกว่า คลื่นแรงผลักดันฉับพลัน (ดู blast wave ประกอบ) [นิวเคลียร์]
Poisonสารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์]
Moderatorตัวหน่วงความเร็ว(นิวตรอน), วัสดุที่ใช้ลดความเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำให้โอกาสของการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มขึ้น เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก และแกรไฟต์ <br>(ดู reflector, absorber และ thermal neutron ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์]
Heavy water reactorเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ [นิวเคลียร์]
Heavy water moderated reactorเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ, Example: [นิวเคลียร์]
Birth customsประเพณีการเกิด [TU Subject Heading]
Childbirth ; Birthการเกิด [TU Subject Heading]
Farm manure in methane productionการเกิดมีเทนจากปุ๋ยที่ใช้ในไร่นา [TU Subject Heading]
Fibrosisการเกิดพังผืด [TU Subject Heading]
Foulingการเกิดตะกรัน [TU Subject Heading]
Multiple birth offspringการเกิดลูกแฝด [TU Subject Heading]
Poisoningการเกิดพิษ [TU Subject Heading]
Polymerizationการเกิดโพลิเมอร์ [TU Subject Heading]
Reincarnationการเกิดใหม่ [TU Subject Heading]
Respiratory soundsภาวะการเกิดเสียงในการหายใจ [TU Subject Heading]
Second harmonic generationการเกิดฮาร์โมนิคที่สอง [TU Subject Heading]
Trip generationการเกิดการเดินทาง [TU Subject Heading]
Vulcanizationการเกิดยางสุก [TU Subject Heading]
Aggregationการเกิดเม็ดดิน, Example: กระบวนการเกาะตัวกันของอนุภาคเดี่ยว เป็นเม็ดดินซึ่งเกิดจากแรงและสารเชื่อมตามธรรมชาติ เช่น แรงจากการยืดหดปริมาตรดินเมื่อเปลี่ยนแปลงความชื้น สารเชื่อมจำพวกสารขับ (exudate) ของรากและกิจกรรมของจุลินทรีย์ [สิ่งแวดล้อม]
Gasificationการเกิดแก๊ส, Example: การทำปฎิกิริยาของสารที่มีคาร์บอนเป็นส่วน ประกอบกับอากาศ, น้ำหรือออกซิเจนและเกิดแก๊สออกมา [สิ่งแวดล้อม]
False Stillbirthการเกิดไร้ชีพเทียม, Example: เด็กเกิดรอดที่เสียชีวิตก่อนลงทะเบียนเกิด ซึ่งอาจจะถูกนับรวมอยู่กับการเกิดไร้ชีพการตายคลอด [สิ่งแวดล้อม]
Gasificationการเกิดก๊าซ, Example: 1) การทำปฏิกิริยาของสารที่มีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบกับอากาศ, น้ำหรือออกซิเจนและเกิดก๊าซออกมา ; 2) การกลายเป็นก๊าซของสารอินทรีย์ในระหว่างการย่อยสลาบ [สิ่งแวดล้อม]
Waste Generation Per Capitaการเกิดของเสียต่อคน [สิ่งแวดล้อม]
Chelationการคีเลต, การเกิดวง, Example: การเกิดสารประกอบที่ละลายในน้ำได้ ซึ่งโมเลกุลจะจับกับอะตอมกลางที่สองจุด ทำให้เกิดโครงสร้างเป็นวง [สิ่งแวดล้อม]
Balance of Births and Deathsดุลการเกิดและการตาย, Example: ส่วนต่างระหว่างจำนวนการเกิดกับจำนวนการตายของ ประชากร ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรตามสาเหตุธรรมชาติ [สิ่งแวดล้อม]
Birth Orderลำดับการเกิด, Example: เป็นการจำแนกประเภทของการเกิดอีกแบบหนึ่ง คือจำแนกตามลำดับที่ของการเกิด ปกติจะพิจารณาจากจำนวนบุตร ที่มารดามีอยู่แล้ว และนิยมพิจารณาเฉพาะบุตรเกิดรอดเท่านั้น [สิ่งแวดล้อม]
Rapid Assessment Method of Waste Generationวิธีประเมินอย่างรวดเร็วของการเกิดของเสีย, Example: การประเมินโดยวิธีคำนวณหาปริมาณของเสียจาก แหล่งกำเนิดที่ไม่แน่นอน ซึ่งอิงค่าสัมประสิทธิที่ปริมาณได้จากผลการปฏิบัติจริงในสนาม [สิ่งแวดล้อม]
Waste Generation Rateอัตราการเกิดของเสีย, Example: ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นภายในหนึ่งหน่วยเวลา [สิ่งแวดล้อม]
ASEAN Regional Forumการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต]
concert of nationsความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต]
Gorbachev doctrineนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต]
nuclear gaugeเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ หรือนิวเคลียร์เกจ, เป็นเครื่องวัดและควบคุมที่ทำงานโดยการกระตุ้นด้วยรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เครื่องวัดชนิดนี้ประกอบด้วยต้นกำเนิด และหัววัดรังสี บรรจุอยู่ในภาชนะที่แยกจากกัน หรือบรรจุอยู่ในภาชนะเดียวกัน โดยให้ลำรังสีผ่านออกมาทางช่องทางผ่าน หรืออุปกรณ์ควบคุมรังสีไปยังวัสดุที่ต้องการวัด ขณะเดียวกันหัววัดรังสีจะทำหน้าที่ตรวจวัดความเข้มของปริมาณรังสี หรือจำแนกชนิด และขนาดพลังงานของรังสี ซึ่งเป็นผลมาจากอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุนั้น ค่าที่วัดได้จะถูกส่งไปประมวลผลด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อแสดงผลการตรวจสอบที่จะใช้เป็นตัวแปรในอุปกรณ์ควบคุมกระบวนการผลิตในขั้นตอนต่อไป เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์นี้ มีหลักการทำงานตามลักษณะการเกิดอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุ แบ่งเป็น 3 แบบ คือ เครื่องวัดแบบส่งผ่าน (Transmission gauge) และเครื่องวัดแบบกระตุ้นให้เกิดการแผ่รังสี (Reactive gauge) [พลังงาน]
radiolytic productsเรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน]
จุดวาบไฟจุดวาบไฟ, อุณหภูมิต่ำสุดน้ำมันที่ทำให้เกิดไอน้ำมันเป็นปริมาณมากพอ เมื่อสัมผัสเปลวไปก็จะทำให้ลุกไหม้ทันที จุดวาบไฟไม่มีผลต่อคุณภาพหรือการใช้งานโดยตรง หากเป็นข้อกำหนดทางกฎหมายเพื่อความปลอดภัยจากการเกิดอัคคีภัย การเก็บรักษาและขนถ่าย เพราะถ้าเกินอุณหภูมิจุดนี้ไปแล้วจะเป็นจุดติดไฟ [ปิโตรเลี่ยม]
Revenue realization principleหลักการเกิดขึ้นของรายได้ [การบัญชี]
Acceleratorสารเคมีที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยเพื่อเร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยา ให้ยางคงรูปเร็วขึ้น ทำให้ลดเวลาที่ใช้ในการคงรูปยางลง [เทคโนโลยียาง]
Antifoaming agentสารเคมีที่เติมลงในน้ำยางเพื่อป้องกันการเกิดฟองในน้ำยางคอมพาวด์ ซึ่งเป็นอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการพองหรือเกิดรูเข็มในผลิตภัณฑ์ได้ [เทคโนโลยียาง]
Antiozonantสารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อป้องกันหรือลดการเกิดรอยแตกของยางจากการ เกิดปฏิกิริยาระหว่างโอโซนกับยาง [เทคโนโลยียาง]

Thai-English-French: Volubilis Dictionary 1.0
อัตราการเกิด[attrā kān koēt] (n, exp) EN: birth rate  FR: taux de natalité [ f ]
การเกิด[kān koēt] (n) EN: birth  FR: naissance [ f ] ; formation [ f ]
ลงทะเบียนการเกิด[longthabīen kān koēt] (v, exp) EN: register a birth  FR: enregistrer une naissance

English-Thai: Longdo Dictionary
magnetic resonance imaging(n, phrase) การสร้างภาพด้วยการเกิดเรโซแนนซ์แม่เหล็ก ย่อด้วย MRI
last-minute(adj, adv) เพียงช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนการเกิดเหตุการณ์ที่อ้างถึง ปัจจุบันพบคำนี้บ่อยในวงการการท่องเที่ยว เช่น last-minute trip หรือ last-minute flight, See also: last minute
last minute(n) ช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนการเกิดเหตุการณ์ที่อ้างถึง เช่น He always waits until the last minute, before he decides to buy a stock. ปัจจุบันพบคำนี้บ่อยในวงการการท่องเที่ยว ตัวอย่างเช่น last-minute trip หรือ last-minute flight, See also: last-minute
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS)(n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html)

English-Thai: NECTEC's Lexitron-2 Dictionary [with local updates]
activity(n) การวัดความสามารถในการเกิดปฏิกริยาเคมี
angulation(n) การเกิดมุม
annual ring(n) การเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้ของแต่ละปี, See also: วงปี ในเนื้อไม้
birth(n) การเกิด, Syn. delivery
bitmap(n) การเกิดภาพจากจุดเล็กๆ
Christmas(n) คริสต์มาส, See also: เทศกาลเฉลิมฉลองการเกิดของพระเยซูคริสต์ในวันที่ 25 ธันวาคมของทุกปี, Syn. Christmastime, Christmas Day
coincidence(n) การเกิดขึ้นพร้อมกัน, Syn. simultaneity, simultaneousness, conjunction, concurrence, concurrency, coexistance, concomitance, concomitancy, contemporaneousness, synchronism
collocation(n) การเกิดร่วมกัน
concurrence(n) การเกิดในเวลาเดียวกัน, Syn. coincidence, coexistence, concurrency
concurrency(n) การเกิดในเวลาเดียวกัน, Syn. coincidence, coexistence, concurrence
conjunction(n) การเกิดขึ้นร่วมกัน
continuance(n) การเกิดขึ้นต่อเนื่อง, Syn. continuation, prolongation
dynamogenesis(n) การเกิดพลังงาน (ทางจิตวิทยา), See also: การเกิดกำลังแรงงาน
fertility(n) อัตราการเกิดของประชากร
fibrosis(n) การเกิดพังผืด, See also: การเกิดเนื้อเยื่อมากเกินไป, การสร้างเส้นใยมากผิดปกติ
flatulence(n) อาการท้องอืด, See also: อาการท้องเฟ้อ, ท้องขึ้น, การเกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร, Syn. wind
incidence(n) อัตราการเกิด, Syn. frequency, rate
infarction(n) การเกิดเนื้อตายเนื่องจากขาดการไหลเวียนของโลหิต, See also: บริเวณเนื้อตาย
infrequence(n) การเกิดไม่ถี่, See also: ความไม่ถี่
infrequency(n) การเกิดไม่ถี่, See also: ความไม่ถี่, Syn. irregularity , scarcity, uncommonness
lead with one's chin(idm) ประพฤติตัวเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา
natal(adj) เกี่ยวกับการเกิด, See also: โดยกำเนิด, Syn. native, aboriginal, Ant. nonnative
natality(n) อัตราการเกิด, Syn. birth rate
notification(n) การแจ้ง (แจ้งความ, แจ้งการเกิด, อัตราเกิดของโรคฯลฯ), See also: การแจ้งความ, การประกาศ, Syn. manifesto
occurrence(n) การเกิดขึ้น, See also: การปรากฎขึ้น, Syn. apperance, existence
outbreak(n) การเกิดขึ้นอย่างรุนแรงและทันทีทันใด, Syn. eruption, explosion, outburst, Ant. peace, quiet
paroxysm(n) การกำเริบของโรคทันที, See also: การเกิดขึ้นอย่างทันที
periodicity(n) ภาวะที่เกิดขึ้นครั้งคราว, See also: ภาวะการเกิดขึ้นสม่ำเสมอ; ความสม่ำเสมอ, Syn. regualarity, punctuality
previousness(n) การเกิดขึ้นก่อน, Syn. priority
quadrennial(n) ช่วงทุก 4 ปี, See also: การเกิดขึ้นเป็นเวลา 4 ปี
rebirth(n) การเกิดใหม่, Syn. resurrection, rejuvenation, rehabilitation
repetition(n) การเกิดซ้ำ, See also: การทำซ้ำ, Syn. recurrence, repeating
rhythm(n) จังหวะ, See also: การเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ, Syn. cycle, tempo
scintillation(n) การเกิดประกายไฟ, See also: การเป็นประกายไฟ, การเป็นประกายระยิบระยับ, Syn. fire, flash, moonbeam
seismogram(n) การบันทึกของเครื่อง seismograph, See also: การบันทึกการเกิดแผ่นดินไหว, บันทึกจากเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
sizzler(n) สิ่งที่ร้อนจัด, See also: การเกิดเสียงดังฉ่าเนื่องจากร้อนจัด
stroke(n) การเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน, Syn. sudden occurrence
supervenience(n) การเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดถึงมาก่อน, See also: การเกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน
synchrony(n) การเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน, See also: การเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน, Syn. simultaneous occurrence
thrombosis(n) การเกิดลิ่มเลือดที่ทำให้เส้นเลือดอุดตันได้, Syn. apoplexy
untimeliness(n) การเกิดขึ้นก่อนเวลา
vital statistics(n) สถิติประชากร, See also: สถิติเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ เช่น การเกิด การตาย การสมรส สุขภาพ
voluntariness(n) ความสมัครใจ, See also: การเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ
wetting agent(n) น้ำยาหรือสารเคมีที่ใช้เคลือบฟิล์ม กระจกหรือวัตถุอื่น, See also: เพื่อป้องกันการเกิดฟอง

English-Thai: HOPE Dictionary [with local updates]
abiogenesis(เอ' บิโอเจน' นิซิส) n. การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิต, การเกิดขึ้นเอง. -abiogenetic adj. (spontaneous generation)
active immunityการเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง
angulation(แองกิวเล' เชิน) n. การเกิดมุม, การวัดมุมอย่างละเอียด (angular formation)
annual ringการเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้พืชแต่ละปีมีอยู่ 2 ชั้นคือชั้นฤดูใบไม้ผลิและชั้นฤดูร้อน
annulation(แอนนิวเล' ชัน) n. การเกิดวงแหวนส่วนที่เป็นวงกลม (a ringlike formation)
anti-icer(แอนทีไอ' เซอะ) n. เครื่องมือป้องกันการเกิดน้ำแข็ง, ของเหลวที่มีฤทธิ์ดังกล่าว
apogamy(อะพอก'กะมี) n. การเกิด sporophyte จากเซลล์หรือ gametophyte (แทนที่จะเป็นไข่) -apogamic, apogamous adj.
autogenesis(ออโทเจน'นิซิส) n. การเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, ความเชื่อที่ว่าสิ่งชีวิตเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ. -autogenetic adj. (abiogenesis)
azoic(อะโซ'อิค) adj. เกี่ยวกับยุค Precambrian, ไม่มีการเกิด (Archean)
birth(เบิร์ธ) n. การเกิด, การคลอด, การออกลูก, การสืบสายเลือด, การอุบัติขึ้น -Phr. (give birth to คลอด, ให้กำเนิด), Syn. nativity
birth rateอัตราการเกิด
cariogenesisn. การเกิดโรคฟันผุ
coincidence(โคอิน'ซิเดินซฺ) n. ภาวะบังเอิญ, การเกิดขึ้นพร้อมกัน, ภาวะประจวบกัน, เหตุบังเอิญ, การสอดคล้องต้องกัน, Syn. concurence
composition(คอมพะซิซ'เชิน) n. การประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ทั้งหมด, ผลิตผล, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ภาพประกอบ, ของผสม, การประพันธ์, การแต่งเพลง, การเกิดเป็นสารประกอบ, การตกลงกัน, การประนีประนอม, ข้อตกลง, การจัดเรียงตัวพิมพ์, คุณสมบัติ, อุปนิสัย
concomitance(คันคอม'มิเทินซฺ) n. การอยู่ร่วมกัน, การเกิดขึ้นพร้อมกัน, การมาพร้อมกัน. n. คุณลักษณะหรือสิ่งที่เกิดขึ้นหรือมาพร้อมกัน, Syn. concurrence, attendance
concrescence(คอนเครส'เซินซฺ) n. การเจริญเติบโตร่วมกัน, การเกิดร่วมกัน
creamer(ครีม'เมอะ) n. ภาชนะที่ใส่ครีม, ตู้เย็นที่ช่วยเร่งการเกิดครีม
crystalline(คริส'ทะลิน, -ทะไลนฺ') adj. เกี่ยวกับผลึก, โปร่งแสง, ใสแจ๋ว, เกิดจากการตกผลึก, ประกอบด้วยผลึก, เกี่ยวกับการเกิดผลึก, See also: crystalility n. ดูcrystalline
elcosisn. การเกิดแผลเน่าเปื่อยและเหม็น
eruption(อีรัพ'เชิน) n. การแตกออก, การระเบิดออก, การปะทุ, สิ่งที่พุ่งออกมา, การเกิดผื่นผิวหนัง, Syn. outburst
frequency(ฟรีเควิน'ซี) n. ความถี่, การเกิดขึ้นถี่, ความบ่อย, ความชุก, อัตราการปรากฎขึ้น
furfurn. การเกิดสะเก็ดบนผิวหนังเช่นขี้รังแค, ขี้รังแค -pl. furfures
gametogenesisn. การเกิดและเจริญของเซลล์เพศ, See also: gametogenic, gametogenous adj
gemination(เจมมิเน'เชิน) n. การทำซ้ำ, การเกิดเป็นคู่, Syn. repeat
gummosis(กัมโม'ซิส) n. การเกิดยางไม้มากเกินไปในพืช
haematopoiesisn. การเกิดโลหิต, การสร้างโลหิต., See also: hematopoietic adj.
halationn. การเกิดบริเวณมัวที่ภาพถ่าย, รอยพร่ารอบดวงโคมในฟิล์มถ่ายรูปเงาทรงกด, แสดงทรงกด
hematopoiesisn. การเกิดโลหิต, การสร้างโลหิต., See also: hematopoietic adj.
icshคำย่อ Intesitial Cell Stimulating hormone ทำหน้าที่กระตุ้นให้อัณฑะขับฮอร์โมนเพศชาย testosterone และควบคุมการเกิด spermatozoa ด้วย
incubation(อินคิวเบ' เชิน) n. การฟักตัว, การกกไข่, การเพาะให้เป็นตัว, การเกิดเป็นตัว
infarction(อินฟาร์ค'เชิน) n. การเกิดบริเวณเนื้อตายเนื่องจากโลหิตอุดตัน, บริเวณเนื้อตายเนื่องจากโลหิตอุดตัน
infrequence(อินฟรี'เควินซี, อินฟรี'เควินซฺ) n. การเกิดขึ้นน้อย, ความไม่ถี่, การเกิดขึ้นนาน ๆ ที., Syn. rarenes
infrequency(อินฟรี'เควินซี, อินฟรี'เควินซฺ) n. การเกิดขึ้นน้อย, ความไม่ถี่, การเกิดขึ้นนาน ๆ ที., Syn. rarenes
natal(เน'เทิล) adj. เกี่ยวกับการเกิด, เกี่ยวกับตะโพก
natality(เนแทล'ลิที) n. อัตราการเกิด
origin(ออ'ริจิน) n. แหล่งกำเนิด, มูลเหตุ, การเกิด, รากฐาน, พืชพันธุ์, ระยะแรกเริ่ม, จุดเดิม, จุดเริ่มต้น, Syn. beginning
parthenocarpyn. การเกิดผลโดยไม่มีการปฏิสนธิ.
periodicity(เพียริอะซิส'ที) n. ภาวะการเป็นช่วง ๆ หรือเป็นครั้งเป็นคราว, ภาวะการเกิดขึ้นเป็นช่วง ๆ อย่างสม่ำเสมอ
purulence(เพอ'รูเลินซฺ) n. การมีหนอง, การเกิดเป็นหนอง, หนอง, หนองผี., Syn. purulency
pustulation(พัสชะเล'เชิน) n. การเกิดเป็นหนอง, การมีหนองไหลหรือแตกออกมา
recurrence(รีเคอ'เรินซฺ) n. การเกิดขึ้นอีก, การกลับมาอีก, การกำเริบ, การหันกลับ, การหยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก.
rootage(รู'ทิจฺ) n. การหยั่งราก, การเกิดราก
scintillation(ซินทะเล'เชิน) n. การเกิดประกายไฟ, การเป็นประกายระยิบระยับ, Syn. brilliance
seizure(ซี'เซอะ) n. การจับ, การจับกุม, การยึด, การยึดถือ, การฉวย การยึดครอง, อาการปัจจุบันของโรค, การเป็นลม, การเกิดอาการโรคขึ้นอย่างกะทัน หัน., Syn. seisure, grasp, grip
shipwreck(ชิพ'เรค) n. การทำลายเรือ, การเกิดอุบัติเหตุทางเรือ, การสูญเสียเรือ, อุบัติเหตุเรือแตก, ซากเรือแตก, การทำลาย, ความหายนะ. vt. ทำให้เรือแตก, ทำลายเรือ, ทำลาย, ทำให้พินาศ. vi. เรือแตก, ประสบความหายนะ, ประสบความพินาศ, Syn. destroy
stork(สทอร์ค) n. นกกระสา, นกในตระกูล Ciconiidae, สัญลักษณ์การเกิดของเด็ก
stratification(สแทรททะฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นชั้น ๆ , ลักษณะเป็นชั้น ๆ , ชนชั้นของสังคม, การเกิดเป็นชั้น ๆ , การจมทับถมกันเป็นชั้น
suppuration(ซัพพิวเร'เชิน) n. การเป็นหนอง, การเกิดหนอง, หนอง.
theater(เธีย'เทอะ) n. โรงละคร, โรงมหรสพ, โรงภาพยนตร์, โรงละครกลางแจ้ง, ผู้ชมในโรงดังกล่าว, ห้องบรรยาย, -PHr. (the theatre (Theater) ละคร, บทละคร, เรื่องละคร, สถานที่แสดง, การเกิดผืนดินเป็นชั้น ๆ), Syn. cinema
theatre(เธีย'เทอะ) n. โรงละคร, โรงมหรสพ, โรงภาพยนตร์, โรงละครกลางแจ้ง, ผู้ชมในโรงดังกล่าว, ห้องบรรยาย, -PHr. (the theatre (Theater) ละคร, บทละคร, เรื่องละคร, สถานที่แสดง, การเกิดผืนดินเป็นชั้น ๆ), Syn. cinema

English-Thai: Nontri Dictionary
birth(n) การเกิด, การอุบัติ, การคลอด, การให้กำเนิด
birthrate(n) อัตราการเกิดประจำปี
coincidence(n) เหตุบังเอิญ, การพ้องกัน, การเกิดขึ้นพร้อมกัน
electrification(n) การเกิดประจุไฟฟ้า, การเกิดกระแสไฟฟ้า, การปล่อยกระแสไฟฟ้า
fruition(n) การได้รับผล, การบรรลุผล, การเกิดผล, การออกผล, การติดผล
genesis(n) แหล่งกำเนิด, การเกิด, การสร้าง
genetic(adj) เกี่ยวกับการเติบโต, เกี่ยวกับการเกิด, เกี่ยวกับพันธุศาสตร์
incarnation(n) การเข้าสิง, การอวตาร, การจุติลงมา, การเกิดใหม่
natal(adj) เกี่ยวกับการเกิด
nativity(n) การเกิด, การประสูติ, การกำเนิด
recurrence(n) การเกิดขึ้นอีก, การกำเริบ
regeneration(n) การงอก, การเกิดใหม่, การฟื้นฟู
reincarnation(n) การกลับชาติ, การเกิดใหม่

English-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
comedogenic(adj) ที่เป็นสาเหตุของการการเกิดสิว
oligohydramnios(n) ถุงน้ำคร่ำแตกตั้งแต่อายุครรภ์อ่อนๆ ทำให้น้ำคร่ำในโพรงมดลูกลดน้อยลง ทารกในครรภ์จะถูกกดทับโดยผนังมดลูกจนทำให้ทารกมีความพิการเกิดขึ้น เช่น เท้าปุก (club foot) บางครั้งทำให้ทารกมีกลุ่มอาการคล้ายกับที่พบใน Potter’s syndrom ซึ่งเรียกกลุ่มอาการดังกล่าวว่า
oligohydramnios(n) ถุงน้ำคร่ำแตกตั้งแต่อายุครรภ์อ่อนๆ ทำให้น้ำคร่ำในโพรงมดลูกลดน้อยลง ทารกในครรภ์จะถูกกดทับโดยผนังมดลูกจนทำให้ทารกมีความพิการเกิดขึ้น เช่น เท้าปุก (club foot) บางครั้งทำให้ทารกมีกลุ่มอาการคล้ายกับที่พบใน Potter’s syndrom ซึ่งเรียกกลุ่มอาการดังกล่าวว่า oligohydramnios tetrad
recirculation(n) การเกิดขึ้นอีกครั้ง
recurring[ri-ker-ring] (n) การเกิดขึ้นซ้ำๆ
Rhabdomyolysisความผิดปกติของเซลล์กล้ามเนื้อม, อาจนำไปสู่สภาวะร้ายแรง การสลายตัวของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อโครงร่างเป็นผลมาจากการเกิดไฟฟ้าหรือการสัมผัสเป็นเวลานานกับสารพิษ (ลักษณะการขับถ่ายของ ปัสสาวะออกมาสีดำเหมือนน้ำโคคาโคล่า ในปัสสาวะ)
satiated(n, vt) อิ่มอกอิ่มใจอย่างเต็มที่, ทำให้เสพย์สุขอย่างเต็มที่, ทำให้เกิดความอาเจียน, อิ่มหนำสำราญ, เสพสุขอย่างเต็มที่, เอียนเพราะมากเกินไป n. การพอใจอย่างเต็มที่, การเกิดความเบื่อหน่าย, การเสพสุขอย่างเต็มที่ slang. อิ่มที่ได้ killing, See also: repletion, Syn. filled to
scum(n, vt) เกี่ยวกับการพิมพ์ หมายถึง การเกิดคราบในบริเวณไร้ภาพบนแม่พิมพ์ออฟเซ็ต

Japanese-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
発生[はっせい, hassei] การเกิดขึ้น
再発生[さいはっせい, saihassei] (n) การเกิดซ้ำ
地震予知[じしんよち, jishinyochi] (n) การพยากรณ์การเกิดแผ่นดินไหว

Japanese-Thai-English: Saikam Dictionary
出生[しゅっしょう, shusshou] TH: การเกิด  EN: birth
出産[しゅっさん, shussan] TH: การเกิด, การกำเนิดของสิ่งมีชีวิต  EN: birth

German-Thai: Longdo Dictionary
Reaktionszentrum(n) |das, pl. Reaktionszentren| ศูนย์กลางการเกิดปฏิกิริยา เช่น Das Reaktionszentrum dieses Enzyms ist bei allen Virussubtypen gleich gebaut und verändert sich im Gegensatz zur Virushülle nicht.
Geburtsurkunde(ื) |die, pl. Geburtsurkunden| สูติบัตร, ใบรับรองการเกิด เช่น Sie benötigen eine Abschrift aus Ihrer Geburtsurkunde für verschiedenste Angelegenheiten, wie zum Beispiel Versicherung, Bank oder Bewerbung?

German-Thai: Longdo Dictionary (UNAPPROVED version -- use with care )  **ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
einfangquerschnittพื้นที่หน้าตัดการเกิดปฏิกิริยา

เพิ่มคำศัพท์


ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ


Are you satisfied with the result?



Discussions

ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
Go to Top