457 ผลลัพธ์ สำหรับ *อ้าง*
ภาษา
หรือค้นหา: อ้าง, -อ้าง-Longdo TH - TH
มนุษย์ป้า | คำที่ใช้เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมที่มีลักษณะที่เห็นแก่ตัว ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่สนใจว่าจะทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น การแย่งที่นั่งว่างในรถโดยสาธารณะ, การแซงคิวไม่ยอมต่อแถวคอยเวลาขึ้นรถไฟฟ้า, โดยส่วนมากจะเป็นสุภาพสตรีในวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ จึงเป็นที่มาถึงคำว่า "ป้า" เริ่มเป็นที่ใช้กันแพร่หลายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงปี 2557 โดยล่าสุดมีลือกันถึงกรณีมีผู้เปิดประตูรถแท็กซี่มีผู้โดยสารอยู่ขณะที่กำลังจอดติดไฟแดง ขอขึ้นไปนั่งด้วยหน้าตาเฉยโดยอ้างว่าขอติดรถไปด้วยตามเส้นทางที่ผ่าน |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
trade terms | [เทรด เทอมส] (n) "ข้อตกลงในการส่งมอบสินค้า" ยังไม่เจาะจงลงไปว่าเป็นแหล่งอ้างอิงจากชื่อใด เข่น AFTD: American Foreign Trade Definition หรือ RWO: Rules of Warsaw and Oxford หรือ GCDM: General Conditions for Delivery of Merchandise หรือ Combiterms หรือ Incoterms ซึ่งในแต่ละแหล่งอ้างอิงมี Terms ให้ใช้คล้ายกัน เช่น Ex Works, FOB หรือ CIF เป็นต้น อย่างไรก็ตาม แหล่งอ้างอิงที่เสถียรในเรื่องค่าใช้จ่ายและความเสี่ยงในการส่งมอบ คือแหล่ง Incoterms ทำให้หลายแหล่ง เช่น ล่าสุดทางอเมริกา ประกาศยกเลิก ธรรมนูญการค้าหรือ UCC บางส่วนที่เกี่ยวข้องกับการส่งมอบสินค้าของตน ซึ่ง UCC นี้เองได้เป็นฐานในการกำหนดงเป็น AFTD ล่าสุดอเมริกาและแทบทั้งโลกมาขอใช้ร่วมกับ Incoterms ของ ICC International Chamber of Commerce, Paris, France นี้ เป็นมีการกำหนดจุดรับภาระที่แน่นอนกว่า |
Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ภาษาอีสาน | [ภา-สา-อี-สาน] (n) ภาษาอีสานเป็นภาษาท้องถิ่นที่มีความหลากหลาย เนื่องจากภาคอีสานมีหลากหลายชนเผ่าจึงทำให้เกิดความหลากหลายทางภาษา อ้างอิง : https://esan108.com/dict/ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ข้ออ้าง | (n) excuse, See also: justification, pretext, Syn. ข้อแก้ตัว, คำกล่าวอ้าง, Example: คนกรุงเทพฯ ใช้ข้ออ้างว่ารถติดเสมอเมื่อไปไม่ทันเวลานัดหมาย, Thai Definition: สิ่งที่นำมาอ้างสนับสนุนความคิดเห็นหรือการกระทำของตน |
อวดอ้าง | (adv) boastfully, See also: bragging, Syn. อ้าง, กล่าวอ้าง, Example: เขาเที่ยวคุยอวดอ้างกับประชาชนว่า จะไม่ยอมถอนตัวจากรัฐบาล |
อวดอ้าง | (v) claim, See also: boast, brag, Syn. กล่าวอ้าง, อ้าง, Example: เขาอวดอ้างว่าเขาเป็นลูกเจ้าพ่อที่มีอิทธิพลมาก, Thai Definition: อวดโดยอ้างหลักฐานประกอบ, พูดอวดสรรพคุณหรือคุณวิเศษที่มิได้มีอยู่ให้เกินความเป็นจริง |
อ้างถึง | (v) refer to |
อ้างว่า | (v) claim, See also: cite, mention, Syn. อ้างถึง, กล่าวถึง, Example: นายกรัฐมนตรีใช้อำนาจยุบสภาผู้แทนราษฎรโดยอ้างว่าเพื่อให้เป็นไปตามความต้องการของประชาชน |
อ้างอิง | (adj) referable, See also: quotable, consultative, alleged, Example: ข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บไว้ในรูปตารางอ้างอิง, Thai Definition: เกี่ยวกับการถือเป็นหลัก, นำมากล่าวเป็นหลัก, กล่าวถึงเพื่อเป็นหลัก |
อ้างอิง | (v) refer, See also: cite, quote, consult, claim, allege, Example: ผู้ทำนายจะต้องสามารถอ้างอิงสิ่งต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามเวลาได้, Thai Definition: ถือเป็นหลัก, นำมากล่าวเป็นหลัก, กล่าวถึงเพื่อเป็นหลัก |
แอบอ้าง | (v) refer stealthily, See also: claim falsely, Example: เราไม่ควรขโมยความคิดของผู้อื่นมาแอบอ้างว่าเป็นความคิดของตน, Thai Definition: เอาไปอ้างโดยเจ้าตัวไม่รู้ |
อ้างว้าง | (v) isolate, See also: seclude, Syn. ว้าเหว่, เปล่าเปลี่ยว, เหงาหงอย, โดดเดี่ยว, Example: ชายชรารู้สึกอ้างว้างและวังเวงอย่างที่สุดที่ถูกปล่อยให้ต้องผจญกับฝูงชนที่ไม่เคยพบเจอ |
เอ่ยอ้าง | (v) claim, See also: profess, Example: ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีข้อกำหนดว่า การอภิปรายจะเอ่ยอ้างถึงพระปรมาภิไธยไม่ได้ |
กล่าวอ้าง | (v) cite, See also: quote, adduce, allude to, mention, Syn. อ้าง, อ้างถึง, Example: ทหารมักชอบกล่าวอ้างถึงความมั่นคงของประเทศชาติเป็นเงื่อนไขในการกำจัดสิทธิเสรีภาพทางการเมืองของประชาชน |
รับสมอ้าง | (v) be referred, See also: be a willing witness, Example: เขารับสมอ้างจำเลยว่า เขาอยู่กับจำเลยขณะที่เกิดฆาตกรรม |
อ้างคำพูด | (v) quote, Example: แหล่งข่าวอ้างคำพูดของนายทหารระดับสูงที่เกี่ยวข้องกับโครงการนี้, Thai Definition: กล่าวถึงคำพูดที่พูดออกไป |
ข้ออ้างอิง | (n) reference, See also: base, Syn. คำอ้างอิง, Example: ตามหลักจิตวิทยาวิธีการนี้ไม่สามารถนำมาเป็นข้ออ้างอิงได้, Thai Definition: สิ่งที่ถือเป็นหลัก, สิ่งที่นำมากล่าวเป็นหลัก |
อ้างสิทธิ์ | (v) claim, See also: possess, Syn. ถือสิทธิ์, Example: รัฐอ้างสิทธิ์เป็นเจ้าของที่ดินผืนนี้, Thai Definition: ถือเอาว่าเป็นสิทธิ์ของตนในการกระทำต่างๆ |
คำกล่าวอ้าง | (n) allusion, See also: reference, Example: สิ่งที่เขาพูดมาเป็นคำกล่าวอ้างที่ยกมาสนับสนุนพรรคพวกของตัวเองทั้งสิ้น, Thai Definition: คำอ้างถึงหรือระบุถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นหลัก |
การกล่าวอ้าง | (n) quotation, See also: cite, Example: ีมีการกล่าวอ้างกันอย่างกว้างขวางว่าวิชัยเป็นผู้ลักลอบค้าไม้เถื่อน |
ข้อกล่าวอ้าง | (n) excuse, See also: defence, Example: คุณสมบัติที่ไม่เป็นภัยต่อสิ่งแวดล้อมเป็นการสร้างจุดขายอย่างหนึ่งที่ผู้บริโภคจะต้องตรวจสอบข้อกล่าวอ้างนั้น |
ความอ้างว้าง | (n) loneliness, See also: lonesomeness, solitude, desolation, Syn. ความเปล่าเปลี่ยว, ความเปลี่ยวใจ, ความว้าเหว่, ความเหงา, Example: เป็นเวลานานนับสิบปีที่เขาอยู่กับความหลัง อยู่กับความอ้างว้างสิ้นหวัง เฝ้าดูคนรอบข้างตายจากไปทีละคน |
บุคคลอ้างอิง | (n) reference |
เอกสารอ้างอิง | (n) bibliography, Example: ผู้สนใจสามารถศึกษาพื้นฐานเรื่องอัลกอริทึมและการคำนวณได้จากเอกสารอ้างอิงที่อยู่ในท้ายเล่ม, Thai Definition: เอกสารของแหล่งข้อมูลที่นำมาใช้ในการเขียนหนังสือหรืองานวิจัย |
หนังสืออ้างอิง | (n) reference, See also: documentation, Syn. เอกสารอ้างอิง, Example: นักวิจัยจำเป็นต้องใช้หนังสืออ้างอิงจำนวนมากในการทำวิจัย, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: เอกสารที่ใช้ในการอ้างอิง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้ออ้าง | น. สิ่งที่นำมาอ้างสนับสนุนความคิดเห็นหรือการกระทำของตน. |
ติดอ่าง | ว. อาการที่พูดไม่ใคร่ออกทันใจ คือกว่าจะพูดได้แต่ละคำต้องยํ้าเสียงต้นอยู่นาน จึงพูดต่อไปได้. |
พายเรือในหนอง, พายเรือในอ่าง | ก. คิด ทำ หรือพูดวกวนกลับไปกลับมา. |
รับสมอ้าง | ก. รับแทนผู้อื่น เช่น เขารับสมอ้างว่าเป็นเจ้าของบ่อน. |
สมอ้าง | ก. รับรองถ้อยคำที่เขากล่าว. |
สะดืออ่าง | น. รูเหนือท่อน้ำทิ้งที่อ่างล้างหน้าหรืออ่างอาบน้ำเป็นต้น สำหรับให้น้ำไหลลงสู่ท่อน้ำทิ้ง. |
อวดอ้าง | ก. พูดแสดงสรรพคุณหรือคุณวิเศษที่มิได้มีอยู่หรือให้เกินความเป็นจริง, พูดโดยยกหลักฐานซึ่งไม่มีอยู่จริงหรือที่บิดเบือนไปจากความจริงมาประกอบ. |
อ่าง ๑ | น. ภาชนะสำหรับใส่น้ำเป็นต้น มักมีลักษณะกลม ปากผายก้นตื้น, โดยปริยายใช้เรียกสิ่งที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น อ่างอาบนํ้า. |
อ่างเก็บน้ำ | น. แอ่งขนาดใหญ่ที่สร้างขึ้นสำหรับเก็บนํ้าเพื่อบริโภคและใช้ในการเกษตรเป็นต้น. |
อ่าง ๒ | ว. อาการที่พูดไม่ใคร่ออกทันใจ คือกว่าจะพูดได้แต่ละคำต้องยํ้าคำต้นอยู่นานจึงพูดต่อไปได้ เป็นอาการประจำบางคน เรียกว่า เป็นอ่าง หรือ พูดติดอ่าง. |
อ้าง | ก. ระบุ, บ่งถึง, เช่น อ้างพยาน |
อ้าง | กล่าวถึง, ชี้เป็นหลัก, เช่น อ้างบาลี |
อ้าง | ถือเอา เช่น อ้างสิทธิ. |
อ้างอิง | ก. ระบุที่มาเพื่อเป็นหลักฐาน, ยกมากล่าวเป็นหลัก, เช่น ในการให้ความหมายของคำ เขามักอ้างอิงพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. |
อ้างอิง | ว. ที่ระบุที่มาเพื่อเป็นหลักฐาน เช่น พจนานุกรมเป็นหนังสืออ้างอิง เอกสารอ้างอิง. |
อ้างว้าง | ว. เปล่าเปลี่ยว, ว้าเหว่, เปลี่ยวใจ, เช่น รู้สึกอ้างว้าง. |
อึ่งอ่าง | น. ชื่อสัตว์สะเทินนํ้าสะเทินบกในสกุล Kaloula วงศ์ Microhylidae สีนํ้าตาลลายขาว โตเต็มวัยยาวประมาณ ๗ เซนติเมตร มักทำตัวพองเมื่อถูกรบกวน ตัวผู้ร้องเสียงดังเมื่อนํ้านองหลังฝนตก ที่พบทั่วไปมี ๒ ชนิด คือ อึ่งอ่างหรืออึ่งอ่างบ้าน ( K. pulchra Gray) และอึ่งอ่างหลังขีดหรืออึ่งอ่างก้นขีด [ K. mediolineata (Smith) ]. |
แอบอ้าง | ก. เอาไปอ้างโดยเจ้าตัวไม่รู้. |
กฎหมายปิดปาก | น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. |
กั๊ก ๓ | ก. พูดติดอ่าง. |
กุฏไต | น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น ห่มกุฏไตขอหง้า, โกตไต ก็ว่า เช่น ห่มโกตไตอวดอ้าง (พยุหยาตรา). |
โกตไต | น. เสื้อชนิดหนึ่ง เช่น ห่มโกตไตอวดอ้าง (พยุหยาตรา), กุฏไต ก็ว่า. |
ข้อ | เนื้อความตอนหนึ่ง ๆ, ใจความสั้น ๆ ของเรื่อง, ข้อความ ก็ว่า, เรื่อง เช่น ข้อพิพาท ข้อยุติ, หัวข้อ เช่น ข้ออ้าง ข้อข้องใจ |
ขับซอ | ก. ร้องเพลงโดยมีดนตรีประกอบ เช่น ขับซอยอยศอ้าง ฦๅลูกกษัตริย์เจ้าช้าง ชื่นแท้ใครเทียมเทียบนา (ลอ). |
ขายชื่อ | ก. เอาชื่อเข้าแลกในทำนองขาย, ไม่รักชื่อ, ทำให้เสียชื่อเสียง, ถ้าเอาชื่อผู้อื่นไปแอบอ้างหาผลประโยชน์ เรียกว่า เอาชื่อไปขาย. |
ขี้ตู่ | ก. กล่าวอ้างหรือทึกทักว่าของผู้อื่นเป็นของตัว เช่น นี่ปากกาของฉันนะอย่ามาขี้ตู่. |
ขึ้นชื่อ | ยกขึ้นมาอ้าง เช่น อย่ามาขึ้นชื่อฉัน. |
คำโอง ๑ | อวดอ้าง. |
โคออร์ดิเนต | น. การกำหนดตำแหน่งของจุดบนระนาบหรือในปริภูมิโดยอาศัยแกนอ้างอิงเป็นหลัก. |
เงียบเหงา | ก. เปล่าเปลี่ยว, ว้าเหว่, อ้างว้าง |
จำนอง | ก. ผูก, คล้อง, หมายไว้, กำหนด, จำไว้, (โบ; กลอน) ประพันธ์, แต่ง, เช่น จึ่งจำนองโคลงอ้าง ถวายแด่บพิตรเจ้าช้าง (ลอ). |
เจ้าตัว | น. ตัวของผู้ที่ถูกอ้างถึง. |
เจ้าถ้อยหมอความ | น. ผู้ที่ชอบเอากฎหมายมาอ้าง, ผู้มักใช้โวหารพลิกแพลงไปในทางกฎหมาย. |
ชัก ๑ | นำเอามาอ้าง, ยกเอามาอ้าง, เช่น ชักตัวอย่าง |
เชิงอรรถ | น. คำอธิบายเพื่อขยายคำหรือข้อความที่อยู่ในเนื้อหา หรือข้ออ้างอิง ซึ่งเขียนหรือพิมพ์ไว้ส่วนล่างของหน้าหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง. |
ซัดทอด | ก. อ้างถึง, บ่งถึง |
ตัวอย่าง | น. สิ่งที่นำมาอ้างเพื่อแสดงให้เห็นลักษณะที่เป็นส่วนรวมทั้งหมด เช่น ยกตัวอย่าง. |
ตำแหน่งที่ตั้ง | น. พิกัดหรือจำนวนจริงชุดหนึ่ง ซึ่งแสดงระยะที่สิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ห่างจากแกนอ้างอิงที่กำหนดไว้แล้ว, ตำแหน่งที่ ก็เรียก. |
ตีขลุม | ก. ตู่หรือหยิบฉวยเอาของผู้อื่นโดยทึกทักเอาว่าเป็นของตน, รับสมอ้างเพื่อประโยชน์แก่ตน. |
ตู่ | ก. กล่าวอ้างหรือทึกทักเอาของผู้อื่นว่าเป็นของตัว, กล่าวอ้างผิดตัว ผิดสิ่ง ผิดเรื่อง. |
ตู่พุทธพจน์ | ก. อ้างพุทธพจน์ผิด ๆ ถูก ๆ. |
โต ๒ | ว. ใหญ่, มีขนาดไม่เล็ก, เช่น เขาสวมเสื้อตัวโต, มีขนาดใหญ่กว่าเมื่อเทียบกัน เช่น มะพร้าวโตกว่ามะไฟ มะเขือเทศโตกว่ามะเขือพวง, โดยปริยายเมื่อใช้ประกอบกับคำอื่นบางคำหมายความว่า อวดอ้างความเป็นใหญ่เป็นโต เช่น คุยโต อวดโต วางโต. |
ถามค้าน | ก. การที่คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งซักถามพยาน เมื่อคู่ความฝ่ายที่อ้างพยานได้ซักถามพยานเสร็จแล้ว, ซักค้าน ก็ใช้. |
ถามติง | ก. การที่คู่ความฝ่ายที่อ้างพยานซักถามพยานอีกครั้งหนึ่ง เมื่อคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งถามค้านพยานเสร็จแล้ว. |
ถือสิทธิ์ | ก. อ้างสิทธิ์หรืออำนาจที่มีอยู่, ลุอำนาจ. |
แถลงเปิดคดี | ก. การที่โจทย์แถลงถึงลักษณะของฟ้อง อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะนำสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลย หรือการที่จำเลยแถลงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายซึ่งตั้งใจอ้างอิงพร้อมทั้งแสดงพยานหลักฐานที่จะนำสืบ. |
ทรหึงทรหวล | (ทอระหึงทอระหวน) ว. เสียงดังปั่นป่วน เช่น พอวายวรวาคยอ้าง โอษฐ์พระ ดานมหาวาตะตื่นฟ้า ทรหึงทรหวลพะ พานพัด หาวแฮ หอบธุมางจางจ้า จรัดด้าวแดนสมร (ตะเลงพ่าย). |
ทฤษฎีบท | น. ข้อความที่พิสูจน์แล้วว่าเป็นจริง และใช้ในการอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ข้อความอื่นได้ เช่น ทฤษฎีบททางเรขาคณิต. |
เท้า | อ้างถึง เช่น เท้าความ. |
โทษ, โทษ- | (โทด, โทดสะ-) ก. อ้างเอาความผิดให้ เช่น อย่าโทษเด็กเลย. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
putative father | ผู้ถูกอ้างว่าเป็นบิดา (ของบุตรนอกกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pretext | ข้ออ้าง, ข้อแก้ตัว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pretence, false | การหลอกลวง, การกล่าวอ้างที่เป็นเท็จ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pretended right | สิทธิที่แอบอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plane of reference; reference plane | ระนาบอ้างอิง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preclude | ต้องตัดบท, ห้ามอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pass by reference | ส่งโดยอ้างอิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
legal ground | มูลเหตุอันจะอ้างกฎหมายได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
referee | ๑. ผู้ไต่สวนที่ศาลตั้ง๒. ผู้สมอ้าง (เกี่ยวกับตั๋วเงิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
referee in case of need | ผู้สมอ้างยามประสงค์ (เกี่ยวกับตั๋วเงิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reference | ๑. เอกสารอ้างอิง๒. การอ้างอิง, ข้ออ้างอิง๓. อ้างอิง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reference frame; frame of reference | กรอบอ้างอิง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
reference plane; plane of reference | ระนาบอ้างอิง [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reference plane; datum; datum horizon; datum level; datum plane | ระดับอ้างอิง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
referrence axes; axes of reference | แกนอ้างอิง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
set up | ยกขึ้นกล่าวอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
objector, conscientious | ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
axes of reference; reference axes | แกนอ้างอิง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
allusion | การอ้างถึง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument | ๑. การอ้างเหตุผล๒. อาร์กิวเมนต์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
adduction | ๑. การนำสืบ๒. การอ้าง (พยานหลักฐาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
alibi | การอ้างฐานที่อยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
admissible; admissible evidence | ๑. ที่รับไว้พิจารณาได้, ที่ยอมรับได้๒. ที่อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
admissible evidence; admissible | ๑. ที่รับไว้พิจารณาได้, ที่ยอมรับได้๒. ที่อ้างเป็นพยานหลักฐานได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argumentum ad | บทอภิปรายแบบอ้าง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arrogation | ๑. การอ้างสิทธิโดยมิชอบ๒. การรับบุคคลที่บรรลุนิติภาวะแล้วเป็นบุตรบุญธรรม (ก.โรมัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
allegation | ข้ออ้าง, ข้อกล่าวหา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justification | การให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมาย, การกล่าวอ้างที่มีเหตุผล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
justification | การให้เหตุผลว่าชอบด้วยกฎหมาย, การกล่าวอ้างที่มีเหตุผลสมควร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jactitation | การอวดอ้าง, การแอบอ้าง, การอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jactitation of marriage | การอ้างว่าเป็นคู่สมรส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quack | ๑. หมอเถื่อน, หมอกุ๒. อวดอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
quotation | ๑. รายการขานราคา๒. ข้อกล่าวอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
claim | ๑. ข้อเรียกร้อง๒. การใช้สิทธิเรียกร้อง๓. การอ้างสิทธิ์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CHRP (common hardware reference platform) | ซีเอชอาร์พี (แพลตฟอร์มอ้างอิงร่วมของฮาร์ดแวร์) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
colloquium (L.) | ข้อความที่อ้างว่าหมิ่นประมาท [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
capacity defense | การอ้างเรื่องความสามารถเป็นข้อต่อสู้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
citation of authorities | การอ้างหลักหรือผู้รู้เพื่อสนับสนุน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cite | ๑. ออกหมายเรียก๒. ยกเป็นข้ออ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
call by reference | เรียกโดยอ้างอิง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
common hardware reference platform (CHRP) | แพลตฟอร์มอ้างอิงร่วมของฮาร์ดแวร์ (ซีเอชอาร์พี) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
conscientious objector | ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
datum; datum horizon; datum level; datum plane; reference plane | ระดับอ้างอิง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
datum horizon; datum; datum level; datum plane; reference plane | ระดับอ้างอิง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
datum level; datum; datum horizon; datum plane; reference plane | ระดับอ้างอิง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
datum node | ปมร่วมอ้างอิง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
datum plane; datum; datum horizon; datum level; reference plane | ระดับอ้างอิง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
defence of necessity | ข้อแก้ตัวโดยอ้างความจำเป็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
file handle | เลขอ้างแฟ้ม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
frame of reference; reference frame | กรอบอ้างอิง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Subject reference books | หนังสืออ้างอิงเฉพาะวิชา [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
General reference books | หนังสืออ้างอิงทั่วไป [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Reference book | หนังสืออ้างอิง [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Reference book | หนังสืออ้างอิง, Example: <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110328-reference-book-1.jpg" Title="Reference book" alt="Reference book"> <p>หนังสืออ้างอิง คือ หนังสือที่มุ่งเสนอเรื่องราวความรู้พื้นฐาน ข้อเท็จจริงต่างๆ ในหลายสาขาวิชาอย่างกว้างขวาง แต่กระทัดรัด ผู้อ่านไม่จำเป็นต้องอ่านทั้งเล่มแต่ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าเฉพาะเนื้อหาบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น โดยเป็นหนังสือที่เขียนและรวบรวมขึ้นโดยผู้ทรงคุณวุฒิและเชี่ยวชาญในสาขาวิชานั้นๆ เนื้อหาจึงเป็นที่น่าเชื่อถือและใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงได้ ขณะที่รูปเล่มส่วนใหญ่มีขนาดใหญ่ และหนากว่าหนังสือทั่วๆ ไป รวมถึงมีการพิมพ์ออกมาเป็นชุดๆ พร้อมทั้งมีการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างเป็นระบบเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงเนื้อหาของผู้อ่าน เช่น การเรียงตามลำดับอักษร เหตุการณ์ เขตภูมิศาสตร์ หมวดหมู่ นอกจากนี้ยังมีลักษณะพิเศษเพื่อความสะดวกในการค้นหาเนื้อหา เช่น อักษรนำเล่ม คำนำนาง ดัชนีหัวแม่มือ สารบัญ ดัชนี ส่วนโยง <p>ประเภทของหนังสืออ้างอิง แบ่งได้ 2 ประเภทหลัก คือ เนื้อหาวิชา และ หน้าที่ <p>1. เนื้อหาวิชา คือ หนังสืออ้างอิงทั่วไป ที่ให้ข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่างๆ อย่างกว้างขวาง ไม่จำกัดสาขาวิชา ซึ่งตรงข้ามกับหนังสืออ้างอิงเฉพาะสาขาวิชา ที่ให้ข้อเท็จจริงเฉพาะสาขาวิชาใดวิชาหนึ่ง <p>2. หน้าที่ คือ หนังสืออ้างอิงที่ให้ข้อเท็จจริงภายในเล่ม และ หนังสืออ้างอิงที่เป็นเครื่องชี้โยงไปหาข้อเท็จจริงในเล่มอื่น เช่น ดัชนีวารสารและบรรณานุกรม <p>หนังสืออ้างอิงประเภทต่างๆ <p>พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ เช่น ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑิตยสถาน, 2549. <p>สารานุกรม เช่น โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฉบับเสริมการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : โครงการ, 2548- <p>หนังสือรายปี เช่น สยามออลมาแนค : สารนิเทศและปูมปฎิทินการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และข้อมูลสำคัญ. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามบรรณ, 2527- <p>อักขรานุกรมชีวประวัติ เช่น คณะกรรมการรวบรวมและค้นคว้าเกี่ยวกับพระราชนิพนธ์ ฯลฯ ของพระบาทสม เด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. อักขรานุกรมนามสกุลพระราชทานในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์, 2534. <p>นามานุกรม เช่น สีดา สอนศรี. นามานุกรมหน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจ และองค์การระหว่างประเทศในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย, 2528- <p>หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ เช่น Britannica Altas. Chicago : Encyclopedia Britannica, 1987. <p>หนังสือคู่มือ เช่น ทวี แก้วมณี, ธนญา ตรึงตราจิตกุล, ชัยยา ศรีอำไพ. หนังสือคู่มือมาตรฐานและการทดสอบเครื่องเรือน. กรุงเทพฯ : ส่วนอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและคอมโพสิท สำนักพัฒนาอุตสาหกรรมรายสาขา กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, 2549. <p>ดัชนีวารสาร เช่น ธำรงค์ ชูทัพ, สุดาวรรณ เครือพานิช. ดัชนีวารสารการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : กองวิจัยทางการศึกษา กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ, 2535. <p>บรรณานุกรม เช่น มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สำนักหอสมุด. บรรณานุกรม ดร.ป๋วย. [ กรุงเทพฯ ] : สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2529. <p>แหล่งข้อมูล: <p>Reitz, Joan M. ODLIS Online Dictionary for Library and Information Science. ABC-CLIO http://www.abc-clio.com/ODLIS/odlis_h.aspx (accessed MArch 27, 2011). <p>เพชรรัตน์ บริสุทธิ์. หนังสืออ้างอิง. สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี. http://human.tru.ac.th/elearning/tec_ban/tinfo04/index.html (สืบค้นเมื่อ 27 มีนาคม 2554). [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographic citation | การอ้างถึงบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Citation footnote | เชิงอรรถอ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Bibliographical citation | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Annual Limit on Intake | เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี [นิวเคลียร์] |
Ambient dose equivalent | ปริมาณรังสีสมมูลโดยรอบ, ปริมาณรังสีสมมูลที่อ้างอิงกับทรงกลมไอซีอาร์ยู ใช้ในการปรับเทียบปริมาณรังสียังผลของเครื่องมือตรวจวัดรังสี (ดู ICRU sphere ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Derived Air Concentration | ค่ากำหนดความเข้มข้นนิวไคลด์กัมมันตรังสีในอากาศ, ดีเอซี, ขีดจำกัดความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิดในอากาศ ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้นตลอดระยะเวลาทำงานใน 1 ปี ได้รับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายเท่ากับขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี โดยคำนวณจากแบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) (ดู annual limit on intake (ALI) ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Standard dosimetry laboratory | ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดรังสี, ห้องปฏิบัติการด้านการวัดรังสี ซึ่งมีต้นกำเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ และบุคลากร ในการวัดรังสี ที่สามารถอ้างอิงได้กับมาตรฐานสากล, Example: [นิวเคลียร์] |
Radioactive standard | สารมาตรฐานกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสี ที่รู้จำนวนและชนิดของอะตอมกัมมันตรังสี ณ เวลาอ้างอิงใดๆ ใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับปรับเทียบอุปกรณ์วัดรังสี หรือใช้ในการวัดเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ ปกติใช้สารกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวเป็นสารมาตรฐานกัมมันตรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
thread sewing | เย็บกี่, การทำเล่มหนังสือโดยการเย็บด้ายวิธีหนึ่ง มักใช้สำหรับหนังสือที่มีความหนามากและต้องการความทนทานเป็นพิเศษ เช่น หนังสืออ้างอิงต่างๆ, Example: <p>เย็บกี่ <p>เป็นการเย็บอกของยกพิมพ์แต่ละยกด้วยเชือกเส้นเดียวกัน เย็บจากยกพิมพ์หนึ่งไปอีกยกพิมพ์หนึ่งติดต่อกันไปจนจบเล่ม การเย็บกี่นี้สามารถเย็บหนังสือที่เป็นเล่มหนาๆ มีหน้ามากให้เป็นเล่มเดียวกันได้ และสามารถเปิดเล่มหนังสือทุกหน้าให้กางออกได้เต็มที่ หนังสือเย็บกี่นี้จะต้องมีการปิดปกคือนำปกมาผนึกยึดติดกับสันหนังสือเช่นเดียวกับหนังสือเย็บสัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Priority Number | เลขที่คำขอรับสิทธิบัตรที่ถูกอ้างการมีสิทธิก่อน [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Citations | ข้อมูลการอ้างอิงในเอกสารสิทธิบัตร, ข้อมูลการอ้างอิงในเอกสารสิทธิบัตร, Example: มี 2 แบบ คือ จากผู้ประดิษฐ์และผู้ตรวจสอบ ประกอบด้วยข้อมูลบรรณานุกรมที่เชื่อว่ามีความสำคัญในภูมิหลังของการประดิษฐ์ มาจากสิ่งพิมพ์ประเภทต่าง ๆ คือ วารสาร หนังสือ คู่มือทางวิชาการ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Priority Date | วันยื่นคำขอ ซึ่งถูกอ้างการมีสิทธิก่อนในกรณีที่ยืนคำขอมากกว่าหนึ่งประเทศ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
ICRU sphere | ทรงกลมไอซีอาร์ยู, ทรงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 30 เซนติเมตร ทำจากวัสดุที่มีการตอบสนองต่อรังสีเทียบเท่ากับเนื้อเยื่อมนุษย์ โดยมีความหนาแน่น 1 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร และมีองค์ประกอบของออกซิเจนร้อยละ 76.2 คาร์บอนร้อยละ 11.1 ไฮโดรเจนร้อยละ 10.1 และไนโตรเจนร้อยละ 2.6 เป็นทรงกลมที่ใช้อ้างอิงสำหรับการหาค่าปริมาณรังสีสมมูล [นิวเคลียร์] |
Non-Voting Depository Receipt | ใบสำคัญแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย, Example: ตราสารทุนที่ออกโดยบริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด ซึ่งมีสถานะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ และมีหลักทรัพย์อ้างอิงเป็นหุ้นสามัญ หรือหุ้นบุริมสิทธิที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ผู้ลงทุนสมารถซื้อขายเอ็นวีดีอาร์ในตลาดหลักทรัพย์ฯ ได้ในลักษณะเดียวกับการซื้อขายหลักทรัพย์จดทะเบียนทั่วไป ผู้ถือเอ็นวีดีอาร์จะได้รับสิทธิหรือผลตอบแทนทางการเงินเช่นเดียวกับผู้ถือหุ้นสามัญหรือหุ้นบุริมสิทธิ แต่จะไม่มีสิทธิออกเสียงในที่ประชุมผู้ถือหุ้นของบริษัท เอ็นวีดีอาร์จะช่วยอำนวยความสะดวกในการลงทุนให้แก่ผู้ลงทุนชาวต่างชาติที่ติดขัดในเรื่องเพดานการถือครอง แต่ทั้งนี้ก็มิได้จำกัดการซื้อขายของผู้ลงทุนทั่วไปแต่อย่างใด [ตลาดทุน] |
Allusions | การอ้างถึง [TU Subject Heading] |
Allusions in literature | การอ้างถึงในวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
Bibliographical citations | การอ้างถึงทางบรรณานุกรม [TU Subject Heading] |
Reference books | หนังสืออ้างอิง [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] |
Conduct of Diplomatic Mission Towards the Receiving State | ในการปฏิบัติของคณะผู้แทนทางการทูตต่อรัฐผู้รับ นั้นหน้าที่สำคัญที่สุดอันหนึ่งของนักการทูตคือ จะต้องละเว้นจากการเข้าแทรกแซงใด ๆ ในกิจการภายในของรัฐผู้รับ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติเรื่องนี้ไว้ในมาตราที่ 41 ว่า1. โดยไม่เสื่อมเสียแก่เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของตน เป็นหน้าที่ของบุคคลทั้งมวลซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเช่นนี้ ที่จะเคารพกฎหมายรวมทั้งข้อบังคับของรัฐผู้รับ บุคคลเหล่านี้มีหน้าที่ที่จะไม่แทรกสอดในกิจการภายในของรัฐนั้นด้วย2. ธุรกิจในทางการทั้งมวลกับรัฐผู้รับ ซึ่งรัฐผู้ส่งได้มอบหมายแก่คณะผู้แทนให้กระทำกัน โดยผ่านกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นเช่นที่อาจจะตกลงกัน3. สถานที่ของคณะผู้แทนต้องไม่ใช้ไปในทางที่ไม่ต้องด้วยกับการหน้าที่ของคณะผู้ แทน ดังที่ได้กำหนดลงไว้ในอนุสัญญานี้ หรือโดยกฎเกณฑ์อื่นของกฎหมายระหว่างประเทศทั่วไป หรือด้วยการตกลงพิเศษอื่นใดที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ข้อ 42 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติด้วยว่า ตัวแทนทางการทูตจะต้องไม่ปฏิบัติกิจกรรมใดทางวิชาชีพหรือพาณิชย์เพื่อ ประโยชน์ส่วนตัวในรัฐผู้รับตามบทบัญญัติข้างต้นของอนุสัญญากรุงเวียนนา พอจะตีความหมายได้ว่า ผู้แทนทางการทูตจะต้องเคารพกฎหมายและระเบียบข้อบังคับ เพื่อที่จะธำรงรักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยของประชาชน รวมทั้งความปลอดภัยในรัฐผู้รับ การปฏิบัติใดๆ ที่ถูกต้องของผู้แทนทางการทูตนั้นย่อมเป็นเครื่องประกันอย่างดีที่สุด ที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตนั้นจะถูกล่วงละเมิดมิได้ตามที่กล่าวอ้าง [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Consular Fees and Charges | ค่าธรรมเนียมและค่าภาระทางกงสุล ตามข้อ 39 ของอนุสัญญากรุงเวียนนา ได้กำหนดไว้ว่า1. สถานที่ทำการทางกงสุล อาจเรียกเก็บในอาณาเขตของรัฐผู้รับ สำหรับการปฏิบัติงานทางกงสุลซึ่งค่าธรรมเนียม ค่าภาระตามที่ได้บัญญัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง2. จำนวนเงินที่เก็บได้ในรูปค่าธรรมเนียมและค่าภาระตามที่อ้างถึงในวรรค 1 ของข้อนี้ ใบรับสำหรับค่าธรรมเนียมหรือค่าภาระเช่นว่านั้น จะได้รับยกเว้นจากค่าติดพันและภาษีทั้งปวงในรัฐผู้รับ [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Exercise of Consular Functions in a Third State | การปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน [การทูต] |
Exercise by Diplomatic Missions of Consular functions | การปฏิบัติหน้าที่กงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูต ตามข้อ 70 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ว่า1. บทของอนุสัญญานี้ใช้แก่ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลโดยคณะผู้แทนทางการทูตด้วย เท่าที่บริบทจะอำนวยให้2. ชื่อของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ปฏิบัติงานในแผนกกงสุล หรือมิฉะนั้นได้รับภาระให้ปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลของคณะผู้แทนนั้น จะต้องแจ้งไปยังกระทรวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับ หรือแจ้งไปยังเจ้าหน้าที่กระทรวงนั้นที่แต่งตั้งไว้3. ในการปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุล คณะผู้แทนทางการทูตอาจติดต่อกับก. เจ้าหน้าที่ท้องที่ของเขตกงสุลนั้นข. เจ้าหน้าที่ส่วนกลางของรัฐผู้รับ ถ้าหากกระทำได้ตามกฎหมาย ข้อบังคับ และจารีตประเพณีของรัฐผู้รับ หรือตามความตกลงระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง4. เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูตที่อ้างถึงในวรรค 2 ของข้อนี้ จะยังคงอยู่ในบังคับแห่งกฎเกณฑ์ของกฎหมายระหว่างประเทศเกี่ยวกับความ สัมพันธ์ทางการทูต [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
United Nations Emergency Force | กองกำลังฉุกเฉินของสหประชาชาติ เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน ค.ศ. 1956 สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ขอรัองให้เลขาธิการสหประชาชาติเสนอแผนการภายใน 48 ชั่วโมง เพื่อจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติของสหประชาชาติ โดยได้รับอนุมัติจากชาติที่เกี่ยวข้อง ให้ทำหน้าที่ยุติและควบคุมดูแลการหยุดรบในประเทศอียิปต์ วันรุ่งขึ้น คือ วันที่ 5 พฤศจิกายน สมัชชาก็ได้ลงมติให้จัดตั้งกองบัญชาการแห่งสหประชาชาติขึ้นปรากฏว่า ผู้แทนของสหภาพโซเวียตได้กล่าวอ้างว่า การจัดตั้งกองกำลังดังกล่าวเป็นการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ โดยยกบทที่ 7 ของกฎบัตรขึ้นมาอ้างว่า คณะมนตรีความมั่นคงองค์กรเดียวเท่านั้น ที่กฎบัตรให้อำนาจจัดตั้งกองกำลังระหว่างชาติได้ ด้วยเหตุนี้ สหภาพโซเวียตและอีกบางประเทศจึงแถลงว่า จะไม่ยอมมีส่วนร่วมในการออกเงินค่าใช้จ่ายสำหรับกองกำลังดังกล่าวโดยเด็ดขาด พึงสังเกตว่า การที่สหภาพโซเวียตอ้างยืนยันว่า คณะมนตรีความมั่นคงเท่านั้นที่กฎบัตรสหประชาชาติให้อำนาจตั้งกองกำลังสห ประชาชาติได้ ก็เพราะหากยินยอมตามข้ออ้างของสหภาพโซเวียตดังกล่าว จะไม่มีทางจัดตั้งกองกำลังขึ้นได้เลย เพราะสหภาพโซเวียตจะใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคงอย่างไม่ต้องสงสัย [การทูต] |
Waiver of Immunity | การสละความคุ้มกันทางการทูต ในเรื่องนี้บางประเทศออกกฎไว้ว่า ความคุ้มกันจากอำนาจทั้งทางแพ่งหรืออาญาของผู้แทนทางการทูตที่ประจำอยู่ใน ประเทศผู้รับ ตามที่กฎหมายระหว่างประเทศได้มอบให้ รวมทั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางการทูตและบุคคลในครอบครัวของเขานั้น ย่อมสละมิได้ นอกจากจะได้รับความยินยอมอย่างชัดแจ้งจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่าง ประเทศของผู้นั้น เหตุผลของการออกกฎข้อนี้เป็นเพราะเขาถือว่า ความคุ้มกันนั้นมิได้เกี่ยวกับตัวเจ้าหน้าที่โดยตรงหากแต่เกี่ยวกับตำแหน่ง หน้าที่ของเขามากกว่าเรื่องการสละความคุ้มกันข้างต้น อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตรา 32 ว่า?1. ความคุ้มกันจากอำนาจศาลของตัวแทนทางการทูตและของบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกัน ภายใต้ขอ้ 37 อาจสละได้โดรัฐผู้ส่ง 2. การสละต้องเป็นที่ชัดแจ้งเสมอ 3. การริเริ่มคดีโดยตัวแทนทางการทูต หรือโดยบุคคลที่อุปโภคความคุ้มกันจากอำนาจศาลภายใต้ข้อ 37 จะกันตัวแทนทางการทูตหรือบุคคลนั้นจากการอ้างความคุ้มกันของอำนาจศาล ในส่วนที่เกี่ยวกับการฟ้องแย้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการเรียกร้องสิทธิ สำคัญนั้น 4. การสละความคุ้มกันจากอำนาจศาลในส่วนที่เกี่ยวกับคดีแพ่งหรือคดีปกครอง ไม่ให้ถือว่ามีนัยเป็นการสละความคุ้มกันในส่วนที่เกี่ยวกับการบังคับคดีตาม คำพิพากษา ซึ่งจำเป็นต้องมีการสละต่างหากอีก? [การทูต] |
Impact factor | ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี, Example: Impact factor คือ ค่าวัดความถี่ของการอ้างอิงบทความวารสารในแต่ละปี โดยเปรียบเทียบกับจำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในวารสารดังกล่าวในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมา หรือหมายถึง ความถี่ที่บทความในวารสารนั้นจะได้รับการอ้างถึง หรือถูกนำไปใช้ <p> วิธีคำนวณหาค่า Impact Factor ในรอบ 2 ปี มีดังนี้ <p> A= จำนวนรายการอ้างอิงในปี 2003 ที่อ้างอิงถึงบทความปี 2001-2002 <p> B= จำนวนบทความทั้งหมดที่ตีพิมพ์ในปี 2001-2002 โดยวารสารนั้น <p> C= A/B = Impact factor ปี 2003 ของวาสารชื่อนั้น หรือจำนวนครั้งโดยเฉลี่ย ที่บทความซึ่งตีพิมพ์ในวารสารนั้นในรอบ 2 ปีที่ผ่านมา (2001-2002) และได้รับการอ้างอิงในปี 2003 <p> ตัวอย่างเช่น ค่า Impact factor ปี 2003 ของวารสาร Science หมายความว่า มีการตีพิมพ์บทความในวารสาร Science ในปี 2001-2002 และถูกนำมาอ้างอิงในปี 2003 มีจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยเกิดขึ้นเท่าไร พบว่าวารสารที่ดีจะมีค่า Impact factor สูง ดังนั้น Impact factor เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพ เปรียบเทียบ และ จัดอันดับวารสาร (Journal Ranking) ช่วยประกอบการพิจารณาตัดสินใจในการจัดหาและบอกรับวารสารของห้องสมุด และยังสามารถใช้ประเมินคุณภาพของสถาบันการศึกษาได้ด้วย เนื่องจากค่า Impact Factor สามารถบอกถึงคุณภาพของผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารของนักวิจัยจากแต่ละสถาบันได้เป็นอย่างดี Impact factor นี้คิดขึ้นโดย ยูจีน การ์ฟิลด์ (Eugene Garfield) ผู้ก่อตั้ง Institute for Scientific Information (ISI) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกา <p> การจัดอันดับวารสารของวารสารจากทั่วโลก มีการใช้ค่า Impact Factor รวมทั้งค่าอื่นๆ เช่น Cited Half-Life และ Immediacy Index มาพิจารณาประกอบกัน โดยได้รวบรวมและสรุป ไว้ใน Journal Citation Report (JCR) เป็นประจำทุกปี ซึ่งจัดทำโดย Institute Scientific Information (ISI) ตั้งแต่ปี 1975 จนถึงปัจจุบัน [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Basis swap | การแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง [การบัญชี] |
Cross reference | การอ้างอิงระหว่างกัน [การบัญชี] |
Approach, Classical | การกำหนดค่าอ้างอิงสารเคมีด้วยวิธีการที่ถูกต้อง [การแพทย์] |
Cite | อ้างถึง [การแพทย์] |
Correlation with Reference Method | ความสัมพันธ์กับวิธีวิเคราะห์อ้างอิง [การแพทย์] |
Cuvette, Reference | คิวเวตต์อ้างอิง [การแพทย์] |
Electrodes, Reference | อีเลคโตรดอ้างอิง, อิเล็กโตรดอ้างอิง, อีเล็คโตรดอ้างอิง, ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง [การแพทย์] |
Enzyme Reference Materials | วัตถุมาตรฐานอ้างอิงของเอนไซม์ [การแพทย์] |
gauge datum | gauge datum, ระดับอ้างอิงของเสาวัดระดับ [เทคนิคด้านการชลประทานและการระบายน้ำ] |
rectangular coordinate system | ระบบพิกัดฉาก, ระบบที่ประกอบด้วยแกนอ้างอิง 2 แกน ตั้งได้ฉากกันซึ่งเรียกว่า แกน X และแกน Y (หรือ ประกอบด้วยแกนอ้างอิง 3 แกน ตั้งได้ฉากซึ่งกันและกัน เรียกแกน X แกน Y และแกน Z) จุดที่ตัดกันของแกน X แกน Y (และแกน Z) เรียกจุดกำเนิด และ ตำแหน่งของจุดในระนาบ คือ ตำแหน่งของจุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
standard electrode [ reference electrode ] | ขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน, ขั้วไฟฟ้าที่กำหนดขึ้นให้เป็นมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบหาค่าศักย์ไฟฟ้าของครึ่งเซลล์ต่าง ๆ บางครั้งเรียกว่าขั้วไฟฟ้าอ้างอิง เช่น ขั้วไฟฟ้าไฮโดรเจนมาตรฐาน ขั้วไฟฟ้าคาโลเมลอิ่มตัว เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
reference electrode | ขั้วไฟฟ้าอ้างอิง, ดู standard electrode [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
frame of reference | กรอบอ้างอิง, โคออร์ดิเนตที่ใช้เป็นหลักเทียบในการบอกตำแหน่งหรือการย้ายตำแหน่งของวัตถุเมื่อเวลาใดเวลาหนึ่ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
แอบอ้าง | [aēp-āng] (v) EN: claim, pretend that something is true FR: affirmer ; prétendre ; soutenir (que) |
อ่าง | [āng] (n) EN: basin ; bowl ; tub ; shallow bowl FR: bassine [ f ] ; bac [ m ] ; baquet [ m ] ; cuve [ f ] ; bassinet [ m ] ; auge [ f ] ; bassin [ m ] ; cuvette [ f ] |
อ้าง | [āng] (v) EN: claim ; pretend that something is true ; quote ; cite FR: affirmer ; prétendre ; prétexter ; alléguer ; soutenir (que) |
อ่างอาบน้ำ | [āng āpnām] (n) EN: that tub ; tub FR: baignoire [ f ] |
อ่างบ้วนปาก | [āng būan pāk] (n) EN: basin FR: crachoir [ m ] ; bassinet [ m ] |
อ้างอิง | [āng-ing] (n) EN: reference FR: référence [ f ] ; note [ f ] |
อ้างอิง | [āng-ing] (v) EN: refer (to) ; cite ; quote ; consult ; claim ; allege FR: citer ; se référer (à) |
อ้างอิง | [āng-ing] (adj) EN: referable ; quotable ; consultative ; alleged |
อ้างอิงเอกสาร | [āng-ing ēkkasān] (v, exp) EN: refer to a document |
อ้างอิงจาก... | [āng-ing jāk …] (v, exp) EN: quote from … |
อ้างอิงราคาซื้อขาย | [āng-ing rākhā seūkhāi] (v, exp) EN: quote a price |
อ้างอิงถึง... | [āng-ing theung …] (v, exp) EN: refer to … |
อ้างอิงถึงจดหมาย | [āng-ing theung jotmāi] (v, exp) EN: refer to a letter |
อ่างเก็บน้ำ | [āngkepnām] (n) EN: reservoir ; water tower FR: réservoir [ m ] |
อ่างล้างชาม | [āng lāng chām] (n, exp) EN: sink FR: évier [ m ] |
อ่างล้างมือ | [āng lāng meū] (n, exp) EN: washbasin |
อ่างล้างหน้า | [āng lāng nā] (n) EN: washbasin ; sink FR: lavabo [ m ] |
อ่างน้ำ | [āng-nām] (n) EN: basin FR: bassine [ f ] |
อ้างพยาน | [āng phayān] (v, exp) EN: name a witness |
อ่างปลา | [āng plā] (n, exp) EN: aquarium FR: aquarium [ m ] |
อ่างศิลา | [Āngsilā] (n, prop) EN: Angsila FR: Angsila |
อ้างสิทธิ์ | [āng sit] (v, exp) EN: claim |
อ้างสิทธิ์ใน... | [āng sit nai …] (v, exp) EN: lay claim to ; vindicate for |
อ้างถึง | [āng theung] (v) EN: refer to ; cite FR: se référer à ; citer |
อ้างถึง | [āng theung] (adj) FR: allégué |
อ่างทอง | [Āng Thøng] (n, prop) EN: Ang Thong (Central) FR: Ang Thong (Centre) |
อ้างว่า | [āng wā] (v) EN: claim ; claim something is true ; pretend that something is true FR: affirmer que ; prétendre que ; soutenir que |
บุคคลอ้างอิง | [bukkhon āng-ing] (n, exp) EN: reference |
บุคคลที่อ้างถึง | [bukkhon thī āng theung] (n, exp) EN: reference |
ชามอ่าง | [chām-āng] (n) EN: basin ; wide and deep dish |
โดยอ้างว่า... | [dōi āng wā …] (x) EN: claiming that … |
เอกสารอ้างอิง | [ēkkasān āng-ing] (n) EN: reference ; bibliography |
อึ่งอ่าง | [eung-āng] (n) EN: spade toad ; bullfrog |
ห้องที่มีอ่างอาบน้ำ | [hǿng thī mī āng āpnām] (n, exp) EN: room with a bath |
จังหวัดอ่างทอง | [Jangwat Āng Thøng] (n, prop) EN: Ang Thong province FR: province de Ang Thong [ f ] |
การอ้างอิงราคาซื้อขาย | [kān āng-ing rākhā seū khāi] (n, exp) EN: quotation |
การอ้างพยานหลักฐาน | [kān āng phayān lakthān] (n) EN: adduction |
การอ้างถึง | [kān āng theung] (n, exp) EN: mention |
คำอ้างอิง | [kham āng-ing] (n, exp) EN: reference |
คำกล่าวอ้าง | [kham klāo-āng] (n) EN: allusion ; reference FR: allusion [ f ] ; référence [ f ] |
ข้ออ้าง | [khø-āng] (n) EN: justification ; excuse ; pretext ; supporting statement ; claim FR: justification [ f ] ; prétexte [ m ] ; excuse [ f ] |
ข้ออ้างอิง | [khø-āng-ing] (n) EN: reference ; citation |
ข้ออ้างที่ฟังไม่ขึ้น | [khø-āng thī fang mai kheun] (n, exp) EN: untenable assertion |
ข้อกล่าวอ้าง | [khøklāo-āng] (n) EN: excuse ; defence |
ก้นอ่าง | [kon āng] (n, exp) EN: bottom of a basin |
หนังสืออ้างอิง | [nangseū āng-ing] (n, exp) EN: reference ; documentation FR: documentation [ f ] |
รหัสอ้างอิง | [rahat āng-ing] (n, exp) EN: reference |
รหัสอ้างอิงประเทศ | [rahat āng-ing prathēt] (n, exp) FR: code des pays [ m ] |
รหัสอ้างอิงสนามบิน | [rahat āng-ing sanāmbin] (n, exp) EN: aerodrome reference code |
สนับสนุนข้ออ้างด้วยหลักฐาน | [sanapsanun khø-āng dūay lakthān] (v, exp) EN: back up a claim |
Longdo Approved EN-TH
wake | (n) การพบปะพูดคุยกันหลังจากที่มีเหตุการณ์ที่สำคัญผ่านไป โดยมากหมายถึง การไปชุมนุมกันที่บ้านของผู้ที่เสียชีวิตก่อนจะมีพิธีฝังศพ (โดยมักถูกอ้างว่ามีที่มาจาก การปลุกให้ผู้ตายมีชีวิตขึ้นมาอีก) เช่น A wake usually lasts 3 full days, afterwards on the 4th day the funeral takes place. |
last-minute | (adj, adv) เพียงช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนการเกิดเหตุการณ์ที่อ้างถึง ปัจจุบันพบคำนี้บ่อยในวงการการท่องเที่ยว เช่น last-minute trip หรือ last-minute flight, See also: last minute |
last minute | (n) ช่วงเวลาสั้นๆ ก่อนการเกิดเหตุการณ์ที่อ้างถึง เช่น He always waits until the last minute, before he decides to buy a stock. ปัจจุบันพบคำนี้บ่อยในวงการการท่องเที่ยว ตัวอย่างเช่น last-minute trip หรือ last-minute flight, See also: last-minute |
Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
adduce | (vt) อ้างอิง, See also: อ้างหลักฐาน |
alibi | (n) คำกล่าวอ้างที่ผู้ถูกกล่าวหาอ้างว่าได้อยู่ที่อื่นขณะเกิดเหตุ, Syn. proof of absence, defense, defense of being elsewhere |
analogism | (n) อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ |
argue | (vi) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, Syn. claim, explain |
argue | (vt) ให้เหตุผล, See also: อ้างเหตุผล, อภิปราย |
arrogate | (vt) ถือสิทธิ์, See also: แอบอ้างสิทธิ์ |
assert | (vt) ถือสิทธิ์, See also: อ้าง, แสดงสิทธิ์ |
arrogate to | (phrv) แอบอ้างตน, See also: แอบอ้างสิทธิ |
bleak | (adj) ยะเยือก, See also: อ้างว้าง, เปล่าเปลี่ยว |
call letters | (n) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ |
call sign | (n) รหัสที่ใช้อ้างถึงตัวผู้พูดในการสื่อสารทางวิทยุ |
casuist | (n) คนที่อ้างเหตุผลเพื่อทำให้เชื่ออย่างผิดๆ |
citation | (n) การกล่าวอ้าง, Syn. mention, citing, reference |
cite | (vt) อ้าง, See also: อ้างอิง, กล่าวอ้าง, Syn. refer, mention, quote |
claim | (vt) อ้าง, See also: กล่าวอ้าง |
color | (n) ข้ออ้าง, See also: คำกล่าวอ้าง, Syn. pretext, excuse |
colour | (n) ข้ออ้าง, See also: คำกล่าวอ้าง, Syn. pretext, excuse |
claim against | (phrv) เรียกร้องให้จ่าย, See also: อ้างสิทธิ์ให้จ่าย |
claim for | (phrv) อ้างในสิทธิ์ของ |
defense | (n) คำให้การ, See also: คำแก้ตัว, คำอ้างเหตุผล, คำแก้ต่าง, การแสดงหลักฐาน, หลักฐาน, การเป็นพยาน, Syn. argument, excuse, justification |
desolate | (adj) อ้างว้าง, See also: โดดเดี่ยว, เหงา |
enslave | (vt) ทำให้เป็นทาสและอ้างสิทธิการเป็นเจ้าของ, Syn. capture, subjugate |
epigraph | (n) คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, บท, ตอน ซึ่งมักจะเกี่ยวข้องกับแก่นของเรื่อง |
epigraphy | (n) ตัวหนังสือที่แกะสลักไว้, See also: คำอ้างอิงในตอนต้นของหนังสือ, Syn. inscription |
evasion | (n) ข้ออ้าง, See also: ข้อบ่ายเบี่ยง, Syn. subterfuge |
excuse | (n) ข้อแก้ตัว, See also: ข้ออ้าง, คำกล่าวอ้าง, Syn. justification |
excuse | (vt) อ้างเหตุผล, See also: แก้ตัว, Syn. justify |
falsely | (adv) อย่างอวดอ้าง, See also: อย่างไม่ซื่อตรง, อย่างอวดอ้าง, อย่างทุจริต, Syn. deceitfully, treacherously, Ant. justly, honorably |
give out | (phrv) ประกาศ, See also: อ้างตัวว่าเป็น, Syn. make out |
on record | (idm) ถูกบันทึกไว้เป็นสถิติ (อ้างอิงในอนาคต) |
ibidem | (adv) ในที่เดียวกัน (อ้างถึงหนังสือ บท หรือหน้าหนังสือที่อ้างไปแล้ว) |
idem | (pron) เหมือนเดิม (ใช้ในการอ้างถึงเรื่อง บท ตอนที่กล่าวมาแล้ว) |
in loc. cit. | (adv) ในที่ๆ อ้างถึง (loc. cit มาจาก loco citato), See also: ตามที่กล่าวถึง, Syn. loc. cit. |
invoke | (vt) ีอ้าง (กฎหมาย) |
lay claim to | (phrv) เรียกร้อง, See also: อ้างสิทธิ |
justification | (n) การให้เหตุผลแก้ตัว, See also: การให้เหตุผล, การอ้างเหตุผล |
know-it-all | (n) ผู้ที่อ้างว่ารู้ทุกอย่างดีกว่าผู้อื่น (คำไม่เป็นทางการ) |
lay | (vt) อ้างเหตุผล, See also: ให้เหตุผล, Syn. attribute, impute, ascribe |
loc. cit. | (abbr) ตามที่อ้างอิงไว้ในข้อความที่กล่าวมาแล้ว (คำย่อของ loco citato) |
loneliness | (n) ความเปล่าเปลี่ยว, See also: ความโดดเดี่ยว, ความอ้างว้าง, ความเงียบเหงา, Syn. lonesomeness |
lonely | (adj) เปล่าเปลี่ยว, See also: เปล่าเปลี่ยว, เดียวดาย, หงอยเหงา, อ้างว้าง, เงียบเหงา, วังเวง, Syn. alone, Ant. accompanied |
lonesome | (adj) หงอยเหงา, See also: เงียบเหงา, ไร้เพื่อน, โดดเดี่ยว, เดียวดาย, ห่างไกลผู้คน, อ้างว้าง, วังเวง, Syn. lonely, alone, forlorn |
lonesomeness | (n) ความอ้างว้าง, See also: ความโดดเดี่ยว, ความเงียบเหงา, Syn. loneliness |
make out | (phrv) อ้างว่า, Syn. give out |
magniloquence | (n) การอวดอ้าง, See also: การคุยโม้ |
magniloquent | (adj) ซึ่งอวดอ้าง, See also: ซึ่งคุยโม้ |
magniloquently | (adv) อย่างคุยโม้, See also: อย่างอวดอ้าง |
mention | (vi) กล่าวถึง, See also: อ้างถึง, เอ่ยถึง, พูดถึง, Syn. refer, comment, Ant. overlook, disregard |
mention | (vt) กล่าวถึง, See also: อ้างถึง, เอ่ยถึง, พูดถึง, Syn. refer, comment, Ant. overlook, disregard |
mentioned | (adj) ซึ่งถูกอ้างถึง, Syn. cited, named, quoted |
Hope Dictionary
* | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ |
adduce | (อะดูสซฺ') vt. อ้างอิง, อ้าง. -adduc- able, adducibel adj., -adducer n. |
advance | (แอดวานซ'ฺ) vt., vi., n. นำหรือส่งไปข้างหน้า, ก้าวหน้า, เสนอความเห็น, เจริญ, เลื่อน (ตำแหน่ง) , เพิ่ม (อัตรา) , เร่ง, จัดให้, ยก (ธง) , ล่วงหน้า, อ้าง, ทาบทาม, เกี้ยว, Syn. forward |
allegation | (แอลลิเก' เชิน) n. การกล่าวหา, การยืนยัน, การอ้าง, ข้อกล่าวหา, ข้ออ้าง, ข้อยืนยัน, กล่าวหา, Syn. accusation, assertion |
allege | (อะเลจฺ') vt. กล่าวหา, อ้าง, ยืนยัน, แถลง. -allegeable adj. -alleger n. |
allusive | (อะลู' ซิฟว) adj. ซึ่งพาดพิงถึงบางอย่าง, ซึ่งอ้างอิง, ซึ่งพูดเป็นนัย, อุปมาอุปไมย. |
analogic | (al) (แอนนะลอจ' จิค, -เคิล) adj. คล้ายกัน, เหมือนกัน, อุปมา, เปรียบเหมือน analogism (อะแนล' โลจิสซึม) n. อนุมานหรือการอ้างอิงจากการเปรียบเทียบ -analogist n., -analogistic adj. (reasoning, analogy) |
antipope | (แอน' ทิโพพ) n. ผู้ที่อ้างเป็นสันตะปาปา, การเลือกสันตะปาปาที่ไม่ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ |
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ |
arrogate | (แอร'โรเกท) vt. อวดดี, แอบอ้างสิทธิปัดไปให้คนอื่น, เหมาเอาว่า. -arrogation n. |
assert | (อะเซิร์ทฺ') vt. ยืนยัน, ถือ (สิทธิ์) , อ้าง, แสดงสิทธิ์, วินิจฉัย, พิทักษ์, รักษา. -asserter, assertor n. -assertory adj. (declare) |
assertion | (อะเซิร์ท'เชิน) n. การกล่าวยืนยัน, การอ้าง, การถือสิทธิ์, การวินิจฉัย, การพิทักษ์, การรักษา, ข้อเสนอ, ข้อวินิจฉัย, Syn. statement |
assign | (อะไซนฺ') vt. กำหนด, มอบหมาย, นัด, ระบุ, จัดให้, มอบหมายให้, อ้างว่า, โอนสิทธิให้แก่. -vi. โอนทรัพย์สิน. -assigner, assignor n., Syn. designate, appoint, attribute |
asterisk | (แอส'เทอริสคฺ) n. เครื่องหมายดอกจันทร์ (*) , สิ่งที่มีลักษณะคล้ายดาว. -vt. ใส่เครื่องหมายดอกจันทร์หรือดาว ดอกจัน <คำแปล>* <เครื่องหมาย>เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ |
attribute | (อะทริบ'บิวทฺ) vt. ให้เหตุผลว่า, ถือเอา, อ้างเหตุผล. -n. คุณลักษณะ. -attributer, attributor n. -attribution n., Syn. assign, consider, quality ลักษณะประจำหมายถึง คุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะพิเศษ มีการเน้นความแตกต่างจากของอื่นในประเภทเดียวกัน เช่น ถ้าเป็นแฟ้มข้อมูลในระบบดอส จะมีลักษณะประจำต่างกันเป็น 4 อย่าง คือ แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดเก็บเป็นระเบียบ archive แฟ้มที่อ่านได้อย่างเดียว แก้ไขไม่ได้ read only แฟ้มที่ไม่แสดงตัว hidden และแฟ้มระบบ system หรือถ้าต้องการหาคำใดคำหนึ่ง เช่น ในโปรแกรมประมวลผลคำ นอกจากจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าสะกดอย่างไรแล้ว อาจบอกเพิ่มเติมว่า ...เป็นคำที่ใช้แบบอักษร Times New Roman ขนาด 14 จุด ข้อความที่บ่งบอกคุณสมบัติเพิ่มเติมไปนี้ก็เรียกว่า " attribute " ทั้งสิ้น |
bearing | (แบ'ริง) n. ความอดทน, ที่รองรับ, ตำแหน่ง, ทิศทาง, การออกผล, การอ้างอิง, ความสัมพันธ์, ความสามารถ, การให้ผล, ผล, ผลผลิต, Syn. endurance, yield |
boast | (โบสทฺ) { boasted, boasting, boasts } vt. คุยโต, คุยโว, อวดอ้าง, โม้ -n. เรื่องคุยโม้, สิ่งที่คุยโม้, See also: boaster n. |
boohoo | (บูฮู') { boohooed, boohooing, boohoos } vi. ร้องสะอึกสะอื้น -n. เสียงร้องสะอึกสะอื้น book (บุค) n. หนังสือ, ตำรา, หนังสืออ้างอิง, คัมภีร์, ภาค, เล่ม, แบบ, สมุดบัญชี, เนื้อเพลง, บทละคร, ถ้อยคำ, สมุดเช็ค, สมุดแสตมป์, สมุดรายชื่อ, สมุดบันทึก, บัญชี, บันทึก, บัญชีพนัน vt. ลงบัญช |
camp | (แคมพฺ) { camped, camping, camps } n.ค่ายที่พัก, เต้นท์, ท่าทางทีหลอกลวง, มายา, การอ้างสิทธิ v. ตั้งค่าย, พัก, หลับนอน, ปักหลักอยู่อย่างดื้อรั้น |
catchword | n. คำอ้างอิง, คำขวัญ, คำหัวข้อของพจนานุกรม, คำนำหน้า |
chapter and verse | n. (การอ้าง) ถ้อยคำในบท, หลักฐาน |
choplogic | n. การโต้เถียงที่อ้างเหตุผลผิด ๆ |
circumstantiate | (เซอคัมสแทน'ชิเอท) vt. ยืนยัน, เสนอข้ออ้างอิงเพื่อยืนยัน, อธิบายอย่างละเอียดทุกแง่ทุกมุม, See also: circumstantiation n. ดูcircumstantiate |
citable | (ไซ'ทะเบิล) adj. อ้างอิงได้, อ้างถึงได้ |
citation | (ไซเท'เชิน) n. การอ้างอิง, ประโยคหรือสิ่งที่อ้างถึง, หมายเรียก, หมายศาล, รางวัลหรือคำชมเชย, จดหมายชมเชย, คำสดุดี, See also: citatory adj. ดูcitation, Syn. summons |
cite | (ไซทฺ) { cited, citing, cites } vt. อ้างอิง, กล่าวอ้าง, กล่าวสนับสนุน, ออกหมายเรียกตัวมาศาล, สดุดี, ชมเชย, กระตุ้นเรียกหา., See also: citable adj. ดู citatory adj. ดูcitation citeable adj. ดู citatory adj. ดูcitation citer n. ดู citatory adj. |
claim | (เคลม) vt., n. (การ) เรียกร้อง, อ้างสิทธิ, อ้าง, สิทธิเรียกร้อง, สิทธิ, สิทธิเรียกร้อง, สิ่งที่เรียกร้อง |
claimant | (เคล'เมินทฺ) n. ผู้เรียกร้อง, ผู้อ้างสิทธิ |
counterclaim | (เคา'เทอะเคลม) vt., vi., n. (การ) เรียกร้องแย้ง, อ้างสิทธิแย้ง, แย้งสิทธิ., See also: counterclaimant n. ดูcounterclaim |
credential | (คริเดิน'เชิล) n. หลักฐานอ้างอิง, หนังสือรับรอง, หนังสือแนะนำตัว, สาสน์ตราตั้งทูต, ประกาศนียบัตร. adj. ซึ่งเป็นหลักฐานอ้างอิง หรือรับรอง, See also: credentialed adj. |
dagger | (แดก'เกอะ) { daggered, daggering, daggers } n. กริช, ดาบสั้นสองคม, เครื่องหมายดาบ (คล้ายกางเขน) ซึ่งใช้เป็นเครื่องหมายอ้างอิง vt. แทงด้วยกริช, ทำเครื่องหมายดังกล่าว, Syn. dirk, obelisk |
datum | (เด'ทัม, ดา'ทัม) n. ข้อมูลตัวเลข, ข้อเท็จจริงในการอ้างอิง, ฐาน, Syn. fact -pl. data |
debunk | (ดิบังคฺ') vt. ขจัดหรือลบล้างคำกล่าวอ้างที่ผิดหรือเกินความจริง, ทำลายชื่อเสียง, See also: debunker n. ดูdebunk |
departed | (ดิพาร์ท'ทิด) adj. ตาย, จากไป, See also: Phr. the departed ผู้ตาย, ผู้ตายที่อ้างถึง |
desert | (เดส'เซิร์ท) { deserted, deserting, deserts } n. ทะเลทราย adj.แห้งแล้ง, รกร้าง, อ้างว้าง vt. ละทิ้ง, ละทิ้งหน้าที่, หนีทัพ. n. ผู้ละทิ้ง, ผู้หนีทัพ |
desolate | (เดส'ซะลิท) adj. โดดเดี่ยว, ว่างเปล่า, อ้างว้าง, ไร้ผู้คน, หดหู่ใจ. vt. ทำให้อ้างว้าง, ทำให้ไร้ผู้คน, ทอดทิ้ง, ทำให้หดหู่ใจ, See also: desolator n.ดูdesolate, Syn. abandoned |
desolation | (เดสซะเล'เชิน) n. ความโดดเดี่ยว, ความอ้างว้าง, การไร้ผู้คน, ความเสียใจ, การเศร้าโศก, ที่ที่ถูกทอดทิ้ง, Syn. ruin |
doggy | (ดอก'กี) n. สุนัขตัวเล็ก ๆ , สุนัข. -adj. เหมือนสุนัข, ชอบเล่นกับสุนัข -adj. เกี่ยวกับสุนัข, ขี้โอ่, อวดอ้าง, อ้างสิทธิ, หลอกลวง |
droit | (ดรอยทฺ) n. สิทธิ, การอ้างสิทธิ |
dvorak keyboard | แป้นพิมพ์ดีโวรักแป้นพิมพ์แบบพิเศษ ที่อ้างว่าจัดเรียงลำดับของแป้นอักษรและสัญลักษณ์ เพื่อให้ สะดวกในการใช้สอยสูงสุด แต่กลับมีคนรู้จักน้อยและไม่นิยมใช้กันเท่าใดนัก ดู Qwerty keyboard เปรียบเทียบ |
excuse | (v. เอคคิวซ', n. เอคคิวซ') vt. ขอโทษ, ขออภัย, ยกโทษ, แก้ตัว, ยอมรับคำแก้ตัว, ยกเว้น, ปลดเปลื้อง. n. คำขอโทษ, คำแก้ตัว, การให้อภัย, ข้อแก้ตัว, ข้ออ้าง, การปลดเปลื้อง., See also: excusableness n. ดูexcuse excusably adv. ดูexcuse excuser n. ดูexcuse |
fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion |
ground | (เกราดฺ) n. พื้น, พื้นดิน, ดิน, ที่ดิน, สนาม, สถานที่, บริเวณ, เขต, เรื่องราว, หัวเรื่อง, ท้องน้ำ, ท้องทะเล, ก้นน้ำ, หลักฐาน, พื้นฐาน, เหตุ, ที่มั่น, หลักฐานอ้างอิง, ที่มั่น. v. กริยาช่อง 2 และ 3ของgrind adj. บดเป็นผง, บดแล้ว -above ground มีชีวิต. -below ground ตายและฝัง. -h |
hold | (โฮลดฺ) { held, held, holding, holds } vt., vi., n. (การ) ถือ, จับ, กุม, คว้า, เกาะกำ, อดทน, อดกลั้น, ยึด, ยึดครอง, ครอบงำ, จับใจ, ทำให้หยุด, ถือว่า, เข้าใจว่ามีความรู้สึก, อ้าง, ยก, หยิบยก, คุก, ที่รองรับ, ป้อม, ห้องเก็บสินค้า, Syn. grasp, persist, Ant. relea |
justifiable | (จัส'ทะไฟอะเบิล) adj. แก้ตัวได้, โต้แย้งได้, อ้างเหตุผลสนับสนุนได้, See also: justifiability n. ดูjustifiable justifiableness n. ดูjustifiable justifiably adv. ดูjustifiable, Syn. verifiable |
loc. cit | (ลอค'ซิท') ตามที่ที่อ้างอิงไว้ ในข้อความที่กล่าวมาแล้ว, (Latin) loco citato |
lone | (โลน) adj. โดดเดี่ยว, คนเดียว, สันโดษ, โทน, ไร้เพื่อน, อ้างว้าง, ไม่มีคนอยู่, หงอยเหงา, วังเวง, โสด, See also: loneness n. ดูlone, Syn. isolated, solitary |
lonesome | (โลน'เซิม) adj. เงียบเหงา, หงอยเหงา, อ้างว้าง, วังเวง, ที่ไกลคน, ไม่มีคนอยู่ |
magniloquent | (แมกนิล'ละเควนทฺ) adj. โอ้อวด, อวดอ้าง, คุยโว, ฟุ้งเฟ้อในถ้อยคำ. |
Nontri Dictionary
adduce | (vt) อ้างอิง, อ้างเหตุผล, ยกตัวอย่าง |
allegation | (n) การพูดพล่อย, การกล่าวหา, ข้อกล่าวหา, ข้ออ้าง |
allege | (vt) พูดพล่อย, อ้าง, กล่าวหา |
allude | (vi) พูดถึง, หมายถึง, พาดพิงถึง, อ้างถึง |
arrogate | (vt) ยึดครอง, ถือสิทธิ์, แอบอ้างสิทธิ์, เหมาเอาว่า, ทึกทัก |
ascribe | (vt) อ้าง, ให้เหตุผล, สันนิษฐาน, ลงความเห็น |
ascription | (n) การอ้าง, การให้เหตุผล, การสันนิษฐาน, การลงความเห็น |
assert | (vt) ยืนยัน, ถือสิทธิ์, แสดงสิทธิ์, อ้างสิทธิ์ |
assertion | (n) การยืนยัน, การอ้างสิทธิ์, การถือสิทธิ์, การแสดงสิทธิ์ |
attribute | (vt) เชื่อว่ามี, อ้างว่า |
bibliography | (n) บรรณานุกรม, รายชื่อเอกสารอ้างอิง |
citation | (n) การอ้าง, การอ้างอิง, การกล่าวถึง, การส่งหมาย, หมายศาล |
cite | (vt) อ้างถึง, อ้างอิง, กล่าวถึง, ส่งหมาย, ออกหมายเรียก |
claim | (n) สิทธิ, คำร้อง, การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ |
claim | (vt) อ้างสิทธิ, เรียกร้องสิทธิ์, ยืนยัน |
claimant | (n) ผู้อ้างสิทธิ, ผู้เรียกร้องสิทธิ์, โจทก์ |
credentials | (n) ประกาศนียบัตร, ใบสุทธิ, หนังสือรับรอง, หลักฐานอ้างอิง, สาสน์ตราตั้ง |
deduce | (vt) อ้างจาก, อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, พิจารณาเหตุผลจาก |
desolate | (adj) อ้างว้าง, โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว, ไร้ผู้คน, ว่างเปล่า, แห้งแล้ง |
desolate | (vt) ทำให้ไม่สบายใจ, ทำให้เศร้าสลด, ทำให้หดหู่ใจ, ทำให้อ้างว้าง |
desolation | (n) ความอ้างว้าง, ความเปล่าเปลี่ยว, ความว้าเหว่, ความแห้งแล้ง, ความเศร้าใจ |
excuse | (n) คำขอโทษ, การให้อภัย, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง |
justifiable | (adj) แก้ตัวได้, อ้างเหตุผลได้ |
justification | (n) การให้เหตุผล, การแสดงความบริสุทธิ์, การอ้างเหตุผล |
lone | (adj) โดดเดี่ยว, สันโดษ, โดด, โทน, อ้างว้าง |
loneliness | (n) ความโดดเดี่ยว, ความสันโดษ, ความอ้างว้าง, ความวังเวง |
lonely | (adj) โดดเดี่ยว, สันโดษ, อ้างว้าง, วังเวง |
lonesome | (adj) เปลี่ยวใจ, สันโดษ, อ้างว้าง, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว |
magnify | (vt) ขยายภาพ, ขยายความ, เพิ่มขนาด, อวดอ้าง |
magniloquent | (adj) โว, อวดอ้าง, โอ้อวด |
mention | (n) การกล่าวถึง, การพาดพิงถึง, การอ้างถึง, คำอ้าง, คำชมเชย |
mention | (vt) กล่าวถึง, พาดพิงถึง, อ้างถึง, เอ่ยถึง |
misquote | (vt) กล่าวอ้างผิด, คัดมาผิด |
plea | (n) คำขอร้อง, คำแก้ตัว, ข้ออ้าง, การวิงวอน, การอ้อนวอน |
postulate | (vt) สมมุติ, อ้าง, ยืนยัน, ขอร้อง, วางหลัก |
premise | (vt) อ้างหลักฐาน, เสนอล่วงหน้า, บรรยาย |
pretence | (n) ข้ออ้าง, มารยา, การแกล้งทำ, การเสแสร้ง |
pretend | (vi) เสแสร้ง, อวดอ้าง, หลอกลวง, สมมุติ |
pretense | (n) ข้ออ้าง, มารยา, การแกล้งทำ, การเสแสร้ง |
pretension | (n) การเรียกร้องสิทธิ์, การอ้างสิทธิ์, การอวดอ้าง, มารยา |
pretentious | (adj) โอ้อวด, ที่อวดอ้าง, ที่อ้างสิทธิ์, ซึ่งทำท่า |
pretext | (n) ข้ออ้าง, ข้อแก้ตัว, มารยา, การทดสอบเบื้องต้น |
purport | (vt) มีความหมายว่า, อ้างว่า, เข้าใจว่า |
quotation | (n) คำอ้างอิง, การอ้าง, สิ่งที่อ้างถึง |
quote | (vt) อ้างอิง, อ้าง, ยกคำพูดมา |
refer | (vt) พาดพิงถึง, อ้างถึง, หมายถึง, ค้นหา, เสนอแนะ |
reference | (n) ข้ออ้างอิง, การอ้างอิง, หนังสืออ้างอิง, หนังสืออุเทศ |
solitary | (adj) เปลี่ยว, อยู่ลำพัง, สันโดษ, โดดเดี่ยว, อ้างว้าง |
solitude | (n) ความสันโดษ, ความเปล่าเปลี่ยว, ความอ้างว้าง, ความโดดเดี่ยว |
subterfuge | (n) ข้ออ้าง, ข้อหลีกเลี่ยง, คำบอกปัด |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
authority | [อ่อธ้อเหรอะทิ] (n) (1) อำนาจ (權柄) (2) บุคคลหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ เช่น MEA, PEA (3) แหล่งอ้างอิงที่เชื่อถือได้ (權威) |
bait and switch | (n) เป็นการโฆษณารูปแบบหนึ่งที่บอกขายสินค้าหรือการให้บริการในราคาที่ถูก แต่เมื่อมีผู้ต้องการซื้อสินค้าหรือการบริการชนิดนั้น ผู้ขายอ้างว่าสินค้าหมดและเสนอขายสินค้าทดแทนที่มีราคาสูงกว่าแทนอย่างตั้งใจ |
capacity | [เคอะแพ้เซอะทิ] (n) วิสัย (อ้างอิง: พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน 2542 หน้า 1082) |
garden house | (n) ศาลาพักผ่อนในสวน, ศาลาในสวน อ้างอิง: http://www.dictionaryofconstruction.com/definition/garden-house.html |
geschäftsnummer | (n) เลขที่อ้างอิง |
industrialist | ผู้ประกอบอุตสาหกรรม อ้างจาก Excise Act.2560 |
kerning | [เคิน-นิ่ง] (n) การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัว "อักษรสองตัว" ให้มากขึ้นจากระยะปกติที่กำหนดไว้ในมาตรฐานของรูปแบบตัวอักษรนั้นๆ ส่วนใหญ่พบได้ในโปรแกรมพิมพ์งานต่างๆ เช่น Microsoft Word เป็นต้น เช่น การกำหนดระยะห่างเฉพาะตัวอักษร "ก" กับ "า" ในคำว่า "การ" จะได้ผลเป็น "ก าร" (มีช่องว่างหนึ่งช่องระหว่าง ก ไก่ กับสระอา //อ้างอิงจาก http://en.wikipedia.org/wiki/Kerning, See also: tracking, Syn. kern Image: |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
namedrop | (vi) การอ้างถึงชื่อผู้อื่นในทำนองว่ารู้จักกับผู้นั้น เพื่อสร้างมูลค่าให้ตนเอง, โดยทั่วไปมีความหมายในเชิงลบ. ตัวอย่าง เช่น I know Lisa of Blackpink and she often comes to my house for dinner. ฉันรู้จักลิซ่าแห่งวง Blackpink นะ เขามาทานอาหารเย็นที่บ้านฉันบ่อยๆ |
non-voting depository right | (n) ใบแสดงสิทธิในผลประโยชน์ที่เกิดจากหลักทรัพย์อ้างอิงไทย เป็นตราสารที่ออกโดยบริษัทย่อยที่ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยจัดตั้งขึ้น ซึ่งคือ "บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร์ จำกัด" (Thai NVDR Company Limited) โดยมีลักษณะเป็นหลักทรัพย์จดทะเบียนโดยอัตโนมัติ (Automatic List) วัตถุประสงค์หลักของ NVDR คือเพื่อกระตุ้นการลงทุนและเพิ่มสภาพคล่องให้ตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งช่วยให้ชาวต่างประเทศลงทุนในหุ้นสามัญของบริษัทจดทะเบียนได้ โดยไม่ติดเรื่องเพดานการถือครองหลักทรัพย์ของชาวต่างชาติ (Foreign Limit) พร้อมทั้งสามารถได้รับสิทธิประโยชน์ทางการเงิน |
overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย |
pursuant | (adj) ตามที่, ดังที่, อ้างถึง, See also: reference made to, Syn. reference to |
reference number | (n, phrase) หมายเลขอ้างอิง |
RFCs | (n) เอกสาร ที่ใช้เป็นมาตราฐาน เพื่อการอ้างอิง ของ Internet |
set out | (vt) แถลง, กล่าวหา, อ้าง, บรรยายข้อเท็จจริง |
Longdo Approved JP-TH
基づく | [もとづく, motoduku] (vt) มีพื้นฐานจาก, อ้างอิงจาก |
理由 | [りゆう, riyuu] (n) เหตุผล, ข้ออ้าง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
参考書類 | [さんこうしょるい, sankoushorui] (n) เอกสารอ้างอิง |
成り済まし | [なりすまし, narisumashi] (n) การแอบอ้าง (การแอบอ้าง หรือ ใช้สิทธิคนอื่น เพื่อกระทำการบางอย่าง ในความหมายที่ไม่ค่อยดี) |
成り済ます | [なりすます, narisumasu] (vt) แอบอ้าง, See also: S. なりすまし |
参照 | [さんしょう, sanshou] การอ้างอิง การดูประกอบ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
名乗る | [なのる, nanoru] TH: อ้างชื่อ EN: to call oneself (name, label, etc) |
Longdo Approved DE-TH
bezeichnen | อ้างถึง, ชี้ถึง |
liegen | พิง, วางอยู่บน, อ้างบน | lag, gelegen | |
hinweisen auf | (vt) |wies hin, hat hingewiesen| บ่งถึง, ชี้ถึง, อ้างถึง เช่น auf einen Fehler hinweisen |
da | ที่นั่น (ใช้อ้างถึงสถานที่ที่ถูกกล่าวก่อนหน้านั้น) เช่น In der Nähe gibt es ein gutes Restaurant. Da können wir miteinander reden., See also: dort |
der Fall sein | (phrase) ในกรณีนี้ เช่นนี้ (ใช้อ้างถึงสิ่งที่เพิ่งเอ่ยถึง) เช่น Hoffentlich besucht er mich in diesem Sommer. Wenn das der Fall ist, fahren wir in die Schweiz zusammen. หวังว่าเขาจะมาเยี่ยมฉันหน้าร้อนนี้ ถ้าเป็นเช่นนั้น เราจะขับรถไปเที่ยวสวิสเซอร์แลนด์ |
Rückschluss | (n) |der, pl. Rückschlüsse| ข้อสรุป (จากเหตุผลที่อ้าง) เช่น Die Formulierung der Frage lässt keinen Rückschluss darauf. zu, ob eine oder mehrere Antworten richtig sind. |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0495 seconds, cache age: 1.615 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม