220 ผลลัพธ์ สำหรับ *อนาคต*
ภาษา
หรือค้นหา: อนาคต, -อนาคต-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อนาคต | (n) future, Example: ประชากรสูงอายุของประเทศไทยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นในอนาคต, Thai Definition: เวลาภายหน้า |
ในอนาคต | (adv) in the future, Thai Definition: ในโอกาสข้างหน้า |
อนาคตกาล | (n) future, See also: future time, future era, Syn. อนาคต, Example: เขาเป็นหมอดูที่สามารถล่วงรู้อนาคตกาลได้อย่างแม่นยำ, Thai Definition: เวลาในภายภาคหน้า, กาลภายหน้า |
สร้างอนาคต | (v) make the future, Example: เขาทั้งสองคนหวังที่จะสร้างอนาคตร่วมกัน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
อนาคต, อนาคต- | (อะนาคด, อะนาคดตะ-) ว. ยังไม่มาถึง. |
อนาคต, อนาคต- | (อะนาคด, อะนาคดตะ-) น. เวลาภายหน้า. |
อนาคตกาล | น. กาลภายหน้า, กาลที่ยังมาไม่ถึง. |
กรรม ๑, กรรม- ๑ | การกระทำที่ส่งผลร้ายมายังปัจจุบัน หรือซึ่งจะส่งผลร้ายต่อไปในอนาคต เช่น บัดนี้กรรมตามทันแล้ว ระวังกรรมจะตามทันนะ. |
ขันต่อ | น. การต่อรองซึ่งได้เสียกันโดยอาศัยเหตุการณ์ในอนาคตที่ไม่แน่นอนเป็นข้อแพ้ชนะ. |
เงื่อนไข | ข้อความอันบังคับไว้ให้นิติกรรมเป็นผลหรือสิ้นผลต่อเมื่อมีเหตุการณ์อันไม่แน่นอนว่าจะเกิดขึ้นหรือไม่ในอนาคต. |
จะ ๒ | เป็นคำช่วยกริยาบอกอนาคต เช่น จะไป จะอยู่. |
ดับ ๑ | ก. สูญสิ้นไป เช่น วิญญาณดับ อนาคตดับ, สิ้นแสง เช่น ไฟดับ เดือนดับ, ทำให้สิ้นแสง เช่น ดับไฟ, ทำให้สิ้น เช่น ดับกิเลส ดับทุกข์, ทำให้ระงับ เช่น ดับโทสะ ดับโมโห, หยุดหรือทำให้หยุด เช่น เครื่องดับ ดับเครื่อง |
ตรีกาล | น. กาลทั้ง ๓ คือ อดีต ปัจจุบัน อนาคต, เวลาทั้ง ๓ คือ เช้า กลางวัน เย็น. |
นึก | ก. คิด เช่น นึกถึงความหลัง นึกถึงอนาคต นึกไม่ถึง, คิดขึ้นมาในฉับพลัน เช่น นึกขึ้นมาได้. |
เบื้องหน้า | ว. ข้างหน้า, ต่อไป, อนาคต. |
ประกันภัย | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้รับประกันภัย ตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจำนวนหนึ่งให้ในกรณีที่หากมีวินาศภัยขึ้น หรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า ผู้เอาประกันภัย ตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัย, สัญญาประกันภัย ก็เรียก. |
ปัจจุบัน | น. เวลาเดี๋ยวนี้, ทันที, เวลาไม่ใช่อดีต ไม่ใช่อนาคต เช่น เวลาปัจจุบัน, สมัยใหม่ เช่น แพทย์แผนปัจจุบัน |
ผูกดวง | ก. นำเครื่องหมายแทนพระเคราะห์มีอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ศุกร์ เป็นต้น บรรจุลงในดวงตามช่องจักรราศีทั้ง ๑๒ ที่โคจรมาสถิตตามวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของเจ้าของชะตานั้น ดูว่าอาทิตย์ตกอยู่ในราศีใด แล้วเอาองศาอาทิตย์ของวันเกิดเจ้าของชะตามาคำนวณว่า เมื่อเวลา ๖.๐๐ นาฬิกา อาทิตย์อยู่ในราศีดังกล่าวมาแล้วนานเท่าใด เรียกว่า อดีตอุทัย และเวลาเหลืออีกนานเท่าใดจึงจะพ้นไปจากราศีนั้น เรียกว่า อนาคตอุทัย แล้วเอาเวลาตกฟากตั้งลบด้วย ๖.๐๐ นาฬิกา และอนาคตอุทัย ต่อไปเอาอันโตนาทีของราศีถัด ๆ ไปลบทีละราศี ถ้าเวลาหรือเลขที่เหลือไม่พอให้อันโตนาทีของราศีใดลบได้ ลัคนาก็อยู่ที่ราศีนั้น การผูกดวงนี้เพื่อทำนายโชคชะตาเป็นต้น. |
ภายหน้า | น. ข้างหน้า, ต่อไป, อนาคตกาล. |
เมื่อใด, เมื่อไร, เมื่อไหร่ | คำที่ใช้ถามเกี่ยวกับเวลา จะเป็นอดีตหรืออนาคตก็ได้ เช่น เมื่อไรเขาจะมา. |
รุ่งเรือง | ว. สว่างไสว เช่น จุดโคมไฟรุ่งเรืองแสงจับท้องฟ้า, งามสุกใส เช่น ปราสาทราชมนเทียรดูรุ่งเรืองเมื่อต้องแสงจันทร์, เจริญ, อุดมสมบูรณ์, เช่น บ้านเมืองเจริญรุ่งเรือง อนาคตรุ่งเรือง, งอกงาม เช่น ให้มีความรุ่งเรืองในพระศาสนา. |
เร็ว ๆ นี้ | ว. ไม่นาน (ใช้แก่อดีต) เช่น เขามาถึงเมื่อเร็ว ๆ นี้ เขาเพิ่งบรรลุนิติภาวะเร็ว ๆ นี้, ไม่ช้า (ใช้แก่อนาคต) เช่น เขาจะมาถึงเร็ว ๆ นี้ เขาจะแต่งงานเร็ว ๆ นี้. |
วันหน้าวันหลัง | น. วันใดวันหนึ่งในอนาคต เช่น จะทำอะไรก็เผื่อวันหน้าวันหลังไว้บ้าง. |
วาด ๑ | ก. เขียนหรือลากเส้นเป็นลวดลายหรือรูปภาพ เช่น วาดภาพดอกไม้ วาดภาพทิวทัศน์, เขียนเป็นลายเส้น เช่น วาดภาพลายไทย, โดยปริยายหมายถึง สิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น วาดวิมานในอากาศเสียสวยหรู วาดโครงการในอนาคต |
วิภัตติ | ประเภทคำในภาษาบาลีเป็นต้นที่แปลงท้ายคำแล้วเพื่อบอกการกหรือกาล เช่น ปุริโส (อันว่าบุรุษ) เป็น กรรตุการก ปุริสํ (ซึ่งบุรุษ) เป็น กรรมการก จรติ (ย่อมเที่ยวไป) เป็น ปัจจุบันกาล จริ (เที่ยวไปแล้ว) เป็นอดีตกาล จริสฺสติ (จักเที่ยวไป) เป็น อนาคตกาล. |
เสี่ยง ๔ | ก. ตั้งจิตอธิษฐานใช้สิ่งใดสิ่งหนึ่งเป็นเครื่องเสี่ยงเพื่อทราบความเป็นไปในอนาคตของตนหรือผู้อื่น, ถ้าใช้เทียนเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงเทียน, ถ้าใช้ดอกบัวเสี่ยง เรียกว่า เสี่ยงดอกบัว, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เสี่ยงบุญ เสี่ยงบารมี เสี่ยงโชค เสี่ยงวาสนา. |
หน่วยก้าน | น. ท่วงที, ท่าที, แวว, เช่น เด็กคนนี้หน่วยก้านดี อนาคตคงไปได้ไกล. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
reversionary lease | ๑. การให้เช่าที่มีผลในอนาคต๒. การให้เช่าหลังสัญญาเช่าเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
chose in action | สิทธิประโยชน์อนาคต [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
de bene esse (L.) | โดยเป็นทางเลือกที่ดีกว่า, โดยเผื่อไว้เพื่ออนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
futurism | อนาคตนิยม [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
futurism | อนาคตนิยม [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
future earnings | รายได้ในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
future estate | ทรัพย์มรดกที่คาดหมายในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
future goods | ทรัพย์ที่จะได้มาในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
future interest | สิทธิประโยชน์ในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
future lease | สิทธิการเช่าในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
estate, future | ทรัพย์มรดกที่คาดหมายในอนาคต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Initial Reserves | ปริมาณน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่ประมาณได้ ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง, ปริมาณน้ำมันดิบและก๊าซธรรมชาติที่ประมาณได้ ณ เวลาใดเวลาหนึ่งว่าจะสามารถผลิตได้จากแหล่งกักเก็บที่สำรวจพบแล้ว โดยรวมถึงปริมาณที่ผลิตไปแล้วทั้งหมดและปริมาณที่คาดว่าจะสามารถผลิตได้ในอนาคต โดยเทคโนโลยีและสภาพเศรษฐกิจที่คาดการณ์ได้ ณ เวลานั้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Future study | การศึกษาภาวะเศรษฐกิจในอนาคต [เศรษฐศาสตร์] |
Condition monitoring | การเฝ้าสังเกตภาวะ, การสังเกต การวัด หรือแนวโน้ม ของตัวบ่งชี้ภาวะโดยเทียบกับพารามิเตอร์เสรี เช่น เวลาหรือรอบการทำงาน เพื่อแสดงว่า โครงสร้าง ระบบ หรือส่วนประกอบ สามารถใช้งานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต, Example: [นิวเคลียร์] |
Futurologist | นักอนาคตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Future markets | ตลาดซื้อขายอนาคต, Example: ตลาดซื้อขายอนาคตเป็นตลาดที่มีการซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์หรือเงินตราต่างประเทศโดยมีการส่งมอบสินค้าในอนาคตอาจนานเป็น 3-12 เดือนหลังจากการซื้อขายแล้วแต่จะกำหนด ตลาดซื้อขายอนาคตประกอบด้วยบริษัทนายหน้า (broker) จำนวนหนึ่ง บริษัทนายหน้าเพียงแต่ทำหน้าที่ติดต่อในเรื่องของสัญญาซื้อขายเท่านั้น ไม่มีการนำสินค้ามาแสดง เพราะสินค้าต่างๆ ที่ซื้อขายผ่านบริษัทนายหน้าจะมีการกำหนดมาตรฐานอย่างละเอียดไว้แล้ว บริษัทนายหน้าเป็นผู้ประกันว่าสินค้าจะส่งถึงมือผู้ซื้อตามเวลา และประกันกับผู้ขายว่าจะได้รับเงินค่าสินค้าเต็มจำนวน สำหรับผู้ที่ซื้อสัญญาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดดังกล่าว อาจแบ่งเป็นผู้ซื้อที่ต้องการนำสินค้านั้นไปใช้ประโยชน์และผู้ซื้อที่ไม่ต้องการสินค้านั้น แต่เป็นการซื้อแล้วขายเพื่อการเก็งกำไร ตลาดซื้อขายอนาคตที่มีชื่อเสียงประเภทสินค้าโภคภัณฑ์ ได้แก่ ตลาดที่ชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนตลาดซื้อขายอนาคตเงินตราต่างประเทศที่สำคัญได้แก่ ตลาดที่ลอนดอน [ตลาดทุน] |
Asia-Europe Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
Young Ambassador of Virtue | ยุวทูตความดี " เป็นโครงการของกระทรวงการต่างประเทศ ร่วมกับกระทรวงศึกษา- ธิการ เริ่มโครงการตั้งวันที่ 5 ธันวาคม 2542 เนื่องในวโรกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม จริยธรรมและคุณธรรมในบรรดาเยาวชนไทย อันเป็นการเสริมคุณภาพของเยาวชนไทยให้มีครบทั้งความเก่ง ความดี และมีความสุข โดยหวังผลในที่สุดว่าคุณภาพของเยาวชนรุ่นใหม่ของไทยจะเป็นการเสริมสร้างพื้น ฐานความแข็งแกร่งแก่สังคมไทยและส่งเสริมให้ความสามารถในการแข่งขันของไทยใน โลกอนาคตมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นในยุคโลกา- ภิวัฒน์ นอกจากการส่งเสริมให้เยาวชนไทยมีความรู้คู่คุณธรรมแล้ว โครงการยุวทูตความดียังส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนไทยและเยาวชนของ ประเทศต่าง ๆ โดยผ่านทางโรงเรียนพี่โรงเรียนน้อง (Sister schools - โรงเรียนในประเทศที่ต่างกันที่มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน) " [การทูต] |
Bangkok Plan of Action | แผนปฏิบัติการกรุงเทพ (ในการประชุมอังค์ถัด) เป็นเอกสารที่ระบุรายละเอียดของแนวนโยบาย วิธีการ และมาตรการในการดำเนินนโยบายด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการพัฒนาที่ประเทศสมาชิกอังค์ถัดได้ตกลงโดยฉันทามติเมื่อการประชุมอัง ค์ถัด ครั้งที่ 10 เพื่อให้ประเทศสมาชิกอังค์ถัดและสำนักเลขาธิการอังค์ถัดดำเนินการให้บรรลุ วัตถุประสงค์ตามที่แถลงไว้ในแถลงการณ์กรุงเทพ และเป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมืองเช่นเดียวกัน แผนปฏิบัติการกรุงเทพแบ่งออกเป็น 4 ส่วนหลัก ดังนี้ (1) การประเมินผลกระทบทั้งด้านบวกและด้านลบของโลกาภิวัตน์และการเปิดเสรีต่อการ พัฒนา (2) การประมวลพัฒนาการของข้อริเริ่มระหว่างประเทศที่สำคัญ ๆ (3) มาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ที่นำมาใช้โดยประชาคมระหว่างประเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าประเทศกำลังพัฒนารวมตัวเข้ากับเศรษฐกิจโลกได้ และ (4) บทบาทในอนาคตของอังค์ถัด [การทูต] |
Declaration | คำประกาศ หรือ ปฏิญญา ตามความเห็นของผู้ทรงคุณความรู้ทางกฎหมายระหว่างประเทศ ส่วนมากได้ให้ความเห็นว่า คำนี้มีความหมายต่างกันอยู่สามประการ คือประการแรก ใช้เป็นชื่อเรียกข้อกำหนดต่าง ๆ ของสนธิสัญญา กล่าวคือ ตามสนธิสัญญานี้ ภาคีคู่สัญญารับที่จะปฏิบัติตามแนวทางบางประการในอนาคตประการที่สอง เป็นคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) ซึ่งก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่แก่รัฐอื่นๆ เช่น คำประกาศสงครามประการสุดท้าย หมายถึง การกระทำซึ่งรัฐหนึ่งหรือหลายรัฐได้ติดต่อแจ้งไปยังรัฐอื่น ๆ ซึ่งเป็นการอธิบายหรือให้เหตุผลสนับสนุนพฤติกรรมของฝ่ายตนในอดีต หรืออธิบายทรรศนะและเจตจำนงเกี่ยวกับเรื่องบางเรื่อง คำประกาศสำหรับความหมายสองประการหลังไม่ถือว่ามีลักษณะเป็นสนธิสัญญาอนึ่ง ในกรณีคำประกาศถ่ายเดียว (Unilateral Declaration) นั้น บางทีรัฐหนึ่งต้องการเสนอนโยบายหรือหนทางปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งของตน โดยประกาศนโยบายหรือหนทางปฏิบัตินั้นไปให้รัฐอื่นๆ ทราบกันไว้ อาทิเช่น ลัทธิมอนโร (Monroe Doctrine) ซึ่งสหรัฐอเมริกาได้ประกาศออกไปในรูปคำประกาศถ่ายเดียว เป็นต้น [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
marginalisation (marginalization) | การถูกเบียดตกขอบ สภาวการณ์ด้านเศรษฐกิจที่มีผลกระทบต่ออนาคตการพัฒนาและเศรษฐกิจของประเทศใด ประเทศหนึ่ง ทำให้ไม่สามารถเก็บเกี่ยวประโยชน์จากเศรษฐกิจโลกที่มีบูรณาการ (integration) เพิ่มขึ้น สภาพการณ์ดังกล่าวมักถูกมองว่าเกิดขึ้นควบคู่ไปกับโลกาภิวัตน์ และประเทศกำลังพัฒนาและประเทศที่พัฒนาน้อยที่สุดมีโอกาสเสี่ยงที่จะตกอยู่ใน สภาวการณ์นี้ เนื่องจากประสบความยากลำบากในการปฏิบัติตามพันธกรณีการเปิดเสรีทางการค้า กอปรกับราคาสินค้าโภคภัณฑ์ที่ประเทศเหล่านี้พึ่งพาตกต่ำลง [การทูต] |
Open Diplomacy | คือการทูตแบบเปิดเผย อดีตประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกา เป็นบุคคลที่สนับสนุนและเผยแพร่วิธีการทูตแบบเปิดเผยอย่างเต็มที่ หวังจะให้ชุมชนนานาชาติพร้อมใจกันสนับสนุนการทูตนี้เช่นเดียวกัน เมื่อวันที่ 8 มกราคม ค.ศ. 1918 วูดโรว์ วิลสัน ได้ประกาศให้โลกทราบนโยบายของท่าน 14 ข้อ ข้อหนึ่งในจำนวนนั้นท่านปรารถนาว่า ในอนาคตประเทศต่าง ๆ ควรจะทำความตกลงกันเกี่ยวกับเรื่องสันติภาพอย่างเปิดเผย และต่อไปไม่ควรจะมีการเจรจาทำความตกลงระหว่างประเทศแบบลับเฉพาะอย่างใดทั้ง สิ้นแม้ว่าโดยทั่วไปจะเห็นพ้องด้วยกับนโยบายข้อแรกของ วูดโรว์ วิลสัน คือ ความตกลงหรือสนธิสัญญาใด ๆ เมื่อตกลงเสร็จสิ้นแล้ว ให้ประกาศเปิดเผยให้โลกทราบ แต่สำหรับข้องสองคือการเจรจาในระหว่างทำสนธิสัญญาให้กระทำกันอย่างเปิดเผย นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่ค่อยเห็นด้วย เพราะเห็นว่าลำพังการเจรจานั้น โดยสารัตถะสำคัญแล้วควรจะถือเป็นความลับไว้ก่อนจนกว่าจะเสร็จการเจรจา ทั้งนี้ เซอร์เดวิด เคลลี่ อดีตนักการทูตอังกฤษเคยให้ทรรศนะว่า การทูตแบบเปิดเผยนั้นเป็นถ้อยคำที่ขัดกันในตัว คือหากกระทำกันอย่างเปิดเผยเสียแล้วก็ไม่ใช่การทูตเกี่ยวกับเรื่องนี้ มาตรา 102 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติว่า ?1. สนธิสัญญาทุกฉบับ และความตกลงระหว่างประเทศทุกฉบับ ซึ่งสมาชิกใด ๆ แห่งสหประชาชาติได้เข้าเป็นภาคี ภายหลังที่กฎบัตรปัจจุบันได้ใช้บังคับ จักต้องจดทะเบียนไว้กับสำนักเลขาธิการโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และจักได้พิมพ์ขึ้นโดยสำนักงานนี้ 2. ภาคีแห่งสนธิสัญญา หรือความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่าใด ซึ่งมิได้จดทะเบียนไว้ตามบทบัญญัติในวรรคหนึ่งข้อนี้ ไม่อาจยกเอาสนธิสัญญาหรือความตกลงนั้น ๆ ขึ้นกล่าวอ้างต่อองค์กรใด ๆ ของสหประชาชาติ? [การทูต] |
Direction, Future | ทิศทางในอนาคต [การแพทย์] |
Function, Future | ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ในอนาคต [การแพทย์] |
ส่งเสริมสุขภาพจิต | ส่งเสริมสุขภาพจิต, มุมมองการดำเนินงานที่เน้นการพัฒนาศักยภาพของผู้ที่มีสุขภาพจิตที่ดีหรือ กลุ่มคนทั่วไปให้มีอยู่อย่างสมำเสมอเพื่อเตรียมพร้อมรับมือปัญหาสุขภาพจิต ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต โดยการดำเนินงานนี้มิได้กระทำเพียงผู้ดำเนินงานสุขภาพจิตเท่านั้น หากแต่ยังมีเครือข่ายสุขภาพจิต [สุขภาพจิต] |
Increment, Future | การเพิ่มในอนาคต [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อาชีพในอนาคต | [āchīp nai anākhot] (n, exp) EN: future career FR: carrière future [ f ] |
อนาคต | [anākhot] (n) EN: future ; prospect FR: futur [ m ] |
อนาคต | [anākhot] (x) EN: to come ; to be FR: à venir |
อนาคตกาล | [anākhothakān] (n) EN: future (grammar) FR: futur [ m ] (conjug.) |
ในอนาคต | [nai anākhot] (x) EN: in the future ; for years to come FR: dans l'avenir ; dans le futur ; du futur |
ทำนายอนาคต | [thamnāi anākhot] (v, exp) FR: prédire l'avenir |
Longdo Approved EN-TH
doraemon | (n) ชื่อตัวละครของการ์ตูนญี่ปุ่นเรื่องหนึ่ง เป็นหุ่นยนต์มาจากโลกอนาคต มีกระเป๋าสารพัดประโยชน์ คอยใช้ของวิเศษเพื่อช่วยเหลือโนบิตะ การ์ตูนเรื่องนี้เป็นที่นิยมอย่างมากประมาณในช่วงทศวรรษที่ 80 |
doraemon | (n) ชื่อการ์ตูนญี่ปุ่นที่มีชื่อเสียง, ตัวเอกของเรื่องเป็นหุ่นยนต์แมวจากโลกอนาคต Image: |
futuristic | (adj) ที่เกี่ยวกับอนาคต เช่น It was the futuristic flick Gattaca that changed her future. |
rain check | [เรน เชค] (n,, idiom, (สำนวน)) เลื่อนไปก่อน ไว้ค่อยทำในอนาคต เช่น Can I have a rain check? ขอเลื่อนไปวันหลังได้ไหม คำนี้มีที่มาจากการแข่งขันกีฬาในสมัยก่อน ซึ่งหากฝนตกหรืออากาศไม่ดี ทำให้ไม่สามารถแข่งขันได้ ผู้เข้าชมสามารถขอรับหางตั๋ว หรือ คูปองกระดาษ (เรียกว่า rain check) เพื่อในครั้งต่อไปที่มา จะได้สามารถแสดงหางตั๋วนี้ และเข้าชมได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aftertime | (n) อนาคต, Syn. future |
ahead | (adj) ในอนาคต, See also: ต่อไป |
ahead | (adv) ในอนาคต, See also: ต่อไป, Syn. in advance |
bullish | (adj) มั่นใจและมีความหวังในอนาคต |
crystal gazing | (n) การทำนายอนาคต |
cross someone's hand | (idm) จ่ายเงินเพื่อให้ทำนายอนาคต |
cross someone's palm with silver | (idm) จ่ายเงินเพื่อให้ทำนายอนาคต |
destine | (vt) กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว (คำทางการ), See also: กำหนดอนาคตของ, Syn. predestine, doom, preordain |
devil-may-care | (adj) สุรุ่ยสุร่าย, See also: ซึ่งไม่กังวลกับเรื่องในอนาคต, ซึ่งไม่แยแสสิ่งใด, ซึ่งไม่รับผิดชอบ, สนใจแต่เรื่องกิน - เล่, Syn. cavalier, casual, indifferent |
ephemeris | (n) ตารางที่แสดงตำแหน่งของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และดาวเคราะห์ต่างๆ ในช่วงเวลาหนึ่งในอนาคต |
esquire | (n) เด็กรับใช้ประจำอัศวิน (ซึ่งกำลังฝึกฝนที่จะเป็นอัศวินเองในอนาคต) |
expectation | (n) สิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต, See also: สิ่งที่คาดหวัง, ความควาดหวัง, Syn. anticipation, hope, prospect |
forward | (adj) เกี่ยวกับอนาคตข้างหน้า, See also: เกี่ยวกับวันข้างหน้า |
future | (adj) อนาคต, Syn. forthcoming, approaching |
future | (n) อนาคต, Syn. hereafter, time to come |
futureless | (adj) ไร้อนาคต |
give to | (phrv) ยอมรับภาระ (ที่ทำให้ยากจะเป็นอิสระในอนาคต) |
go places | (idm) มีอนาคตรุ่งเรือง (คำไม่เป็นทางการ) |
have a lot of promise | (idm) มีอนาคตต่อไป |
in the offing | (idm) เกิดขึ้นในอนาคต |
in the short run | (idm) ในอนาคตอันใกล้ |
jam tomorrow | (idm) สิ่งที่ดีในอนาคต |
on record | (idm) ถูกบันทึกไว้เป็นสถิติ (อ้างอิงในอนาคต) |
on the cards | (idm) ในอนาคต (คำไม่เป็นทางการ) |
save something for a rainy day | (idm) เก็บ(เงิน)ไว้ใช้ในอนาคต |
second sight | (idm) มองเห็นอนาคต, See also: ล่วงรู้อนาตค |
straw in the wind | (idm) สัญญาณบอกสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต, See also: ข้อบ่งชี้สิ่งที่จะเกิด |
lay down | (phrv) เก็บไว้ใช้ในอนาคต, See also: สำรองไว้, Syn. put down |
lay up | (phrv) เก็บไว้ใช้, See also: สำรองไว้ใช้ในอนาคต, Syn. store up |
lay up | (phrv) ทำให้เกิดสิ่งเลวร้ายในอนาคต |
lie ahead | (phrv) มีอยู่ในอนาคต, See also: รออยู่ในอนาคต, Syn. lie before, lie beyond |
lie before | (phrv) รออยู่, See also: มีอยู่ในอนาคต, เกิดขึ้นในอนาคต, Syn. lie ahead, lie beyond |
lie in store for | (idm) จะเกิดขึ้นในอนาคต |
look ahead | (phrv) คิดการณ์ไกล, See also: วางแผนอนาคต |
look ahead | (phrv) เกิดขึ้นจริงในอนาคต |
kingdom come | (n) เวลาในอนาคต, See also: อนาคต, Syn. future |
medium-term | (n) ซึ่งเป็นช่วง 2-3 อาทิตย์หรือเดือนในอนาคต |
nest egg | (n) จำนวนเงินที่เก็บไว้ใช้ในอนาคต |
outlook | (n) อนาคตที่คาดหวังไว้, See also: อนาคตที่คาดหวังให้ดีขึ้น, Syn. expectations, prospect |
precognition | (n) การมองเห็นอนาคต, Syn. clairvoyance |
provident | (adj) ที่เตรียมไว้สำหรับอนาคต, See also: ที่วางแผนล่วงหน้า, Syn. cautious, prepared |
provision | (n) เสบียงที่เตรียมไว้ในอนาคต |
put down | (phrv) เก็บสำรองไว้ (ใช้ในอนาคต), Syn. lay down |
dead-end kid | (sl) เด็ก (ชาย) ไร้อนาคต |
second sight | (n) การหยั่งรู้อนาคต |
seer | (n) ผู้ทำนายเหตุการณ์ในอนาคต, See also: โหร, Syn. fortuneteller, prophet, astrologer, predictor |
seer | (n) ผู้อวดอ้างว่าหยั่งรู้อนาคต, See also: ผู้อ้างว่ามีอำนาจวิเศษ, Syn. wizard, sorcerer, magician |
shall | (aux) จะ (คำกริยาช่วยแสดงถึงอนาคต), See also: จะต้อง, น่าจะ, ควรจะ, อยากจะ, Syn. be going to, must, be about to, will |
shalt | (aux) จะ (คำกริยาช่วยแสดงถึงอนาคต มักใช้กับ thou) (คำโบราณ), Syn. shall |
someday | (adv) ในวันหนึ่ง (ในอนาคต), Syn. sometime, sooner or later |
Hope Dictionary
aftertime | (อาฟ' เทอะไทมฺ, แอฟ-') n. อนาคต (future time) |
back order | n. รายการสั่งซื้อล่วงหน้าที่ต้องส่งของในอนาคต |
before | (บิฟอร์') adv., prep., conj. ก่อน, ก่อนหน้า, อยู่หน้า, หน้า, ตรงหน้า, กว่า, ในอนาคต, คอยอยู่, ภายใต้อิทธิพลของ, Syn. ahead |
by-and-by | (บาย'เอิน บาย') n. อนาคตอันใกล้ |
down | (ดาวนฺ) { downed, downing, downs } adv., adj., prep. ข้างล่าง, อยู่ข้างล่าง, ลงข้างล่าง, ลง -Phr. (down and out ไม่มีเพื่อน, ไม่มีเงิน, ไม่มีอนาคต) n. การเคลื่อนลง, การลดลง vi., vt. (ทำให้) ลง, Syn. dejected, fell, descent |
forward | (ฟอร์'เวิร์ด) adv. ไปข้างหน้า, ข้างหน้า, อยู่ข้างหน้า, ก้าวหน้า, ล้ำหน้า, ล่วงหน้า. adj. เร็ว, ไว, ไปข้างหน้า, เกี่ยวกับอนาคต, กล้า, รุนแรง. n. กองหน้า. vt. ส่งไป, ส่งออก, ส่งล่วงหน้า, สิ่งต่อ, สนับสนุน, เร่ง, เร่งรัด, เย็บเล่มหนังสือ, Syn. help |
future | (ฟิว'เชอะ) n. อนาคต, ภายภาคหน้า, เวลาภายหน้า, อนาคตกาล, สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต, การซื้อขายล่วงหน้า. adj. อนาคต, ภายหน้า, ต่อไป, ภายหลัง., See also: futuristic adj. futuristically adv. |
futurity | (ฟิวทิว'ริที) n. อนาคตกาล, อนาคต, ชนรุ่นหลัง |
improvident | (อิมพรอฟ' วิเดินทฺ) adj. เลินเล่อ, ไม่ได้ตระเตรียมมาก่อน, ไม่ระวัง, ไม่คิดถึงอนาคต, ไม่ประหยัด., See also: improvidence n. improvidently adv., Syn. thoughtless, careless, Ant. careful |
informatics | สนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ |
near-term | (เนีย'เทิร์ม) adj. เกี่ยวกับอนาคตอันใกล้ |
offing | (ออฟ'ฟิง) n. ทะเลตอนเห็นจากฝั่งไกลลิบออกไป, ตำแหน่งที่อยู่ไกลจากฝั่งมาก. -phr. (in the offing ไกลออกไปแต่ยังมองเห็น, ในอนาคตที่คาดหมายไว้) |
operations research | การวิจัยดำเนินการใช้ตัวย่อว่า OR (อ่านว่า โออาร์) หมายถึงการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับผลการดำเนินงาน เพื่อนำมาจัด วางเป็นระบบ หรือเป็นทฤษฎีที่จะทำให้การดำเนินงานต่อไปดีขึ้น รวมทั้งทำให้สามารถพยากรณ์ผลของการประกอบการในอนาคตได้ด้วย บางทีใช้ operational research |
outlook | (เอาทฺ'ลุค) n. ภาพ, ทัศนียภาพ, ช่องหรือหอสังเกตการณ์, ทัศนะ, การภายหน้า, ภาพอนาคต, ท่าทาง, การมอง, การสังเกต |
promising | (พรอม'มิสซิง) adj. มีอนาคตดี, มีความหวัง. |
prospect | (พรอส'เพคทฺ) n. โอกาส, ความหวัง, ความหวังข้างหน้า, กาลภายหน้า, ผู้ที่อาจเป็นลูกค้าได้, ผู้อาจเป็นผู้สมัคร, ทัศนียภาพ. vt., vi. ค้นหา, สำรวจ, มีอนาคต, มีความหวัง., See also: prospector n., Syn. outlook, expectation |
prospective | (พระสเพค'ทิฟว) adj. อนาคต, ซึ่งหวังไว้, ซึ่งคาดคะเนไว้., See also: prospectiveness n., Syn. potential, likely |
prospectus | (พระสเพค'ทัส) n., (pl. -tuses) รายการเกี่ยวกับโครงการในอนาคต, หนังสือชักชวนให้ซื้อหุ้น |
reserve | (รีเซิร์ฟว') vt. สงวน, จอง, รักษาไว้สำรอง n. ทุนสำรอง, เงินสะสม, คนสำรอง, ที่สงวน, กองหนุน, สิ่งที่สงนไว้, ป่าสงวน, เขตสงวน, ความสงบเสงี่ยม, การสงวนท่าที, การไม่พูดมาก, -Phr. (in reserve สำรองไว้ในอนาคต, สิ่งทดแทน, อะไหล่, ส่วนสำรอง, อวัยวะสำรอง) |
shall | (แชล, ชึล) auxv. กริยาช่วยที่มักใช้กับบุรุษที่1เพื่อแสดงถึงอนาคต และใช้กับบุรุษที่ 2 เฉพาะในประโยคคำถาม, จะ, พึงจะ, จักต้อง, จะต้อง, น่าจะ, ควรจะ, อยากจะ |
soon | (ซูน) adv. ในไม่ช้า, ไม่นาน, มิช้ามินาน, เร็ว, ก่อนกำเนิด, ในอนาคตอันใกล้, รวดเร็ว, ฉับพลัน, พร้อมเพรียง, โดยเต็มใจ, ทันที, sooner of later ในที่สุด มิช้ามินาน, Syn. shortly |
to-morrow | (ทูมอ'โร) n. วันพรุ่งนี้, อนาคต, อนาคตกาล. adv. พรุ่งนี้, อนาคต |
tomorrow | (ทูมอ'โร) n. วันพรุ่งนี้, อนาคต, อนาคตกาล. adv. พรุ่งนี้, อนาคต |
unborn | (อันบอร์น') adj. ยังไม่เกิด, ยังไม่ปรากฎ, ในอนาคต, ต่อไป, ยังอยู่ในครรภ์มารดา, ยังไม่คลอด |
upward compatible | เข้ากันได้กับรุ่นหน้าหมายถึง การออกแบบที่มุ่งให้ปรับขยายให้ดียิ่งขึ้นได้ในอนาคต เช่น การออกแบบเอกสารหรือแฟ้มงานใดที่สามารถใช้ได้กับเครื่องรุ่นใหม่ที่จะออกมาสู่ตลาดในอนาคตการออกแบบโปรแกรมที่ทำให้สามารถเรียกแฟ้มข้อมูลที่สร้างไว้ด้วยโปรแกรมรุ่นก่อนออกมาใช้ได้ เรียกว่า downward compatible หรือเข้ากันได้กับรุ่นก่อน เช่น โปรแกรม PageMaker 5.0 จะต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญอันนี้ นั่นคือ สามารถเรียกแฟ้มข้อมูลของ PageMaker รุ่นก่อนหน้านั้น มาแสดงบนจอภาพหรือนำมาแก้ไขได้ |
will | (วิล) auxiliary v. ใช้แสดงอนาคตกับบุรุษที่ 1 และ 3 (ช่อง 2เป็น would) , จะ, อาจจะ, ควรจะ, ย่อมจะ vt. vi., n. (ความ) ประสงค์, ปรารถนา, พึงจะ, ชอบ, พอใจ, อยากจะ, พินัยกรรม, ความกระตือรือร้น vt. ตัดสินใจ, ทำพินัยกรรมยกให้, ใช้อำนาจจิตบังคับ vi. ตั้งใจ, ตัดสินใจ |
Nontri Dictionary
before | (con) ก่อน, ข้างหน้า, ในอนาคต |
future | (adj) อนาคต, ภายหน้า, ต่อไป, ข้างหน้า |
future | (n) อนาคต, ภายหน้า, กาลข้างหน้า, ภายภาคหน้า |
futurity | (n) กาลภายหน้า, ภายภาคหน้า, อนาคต, ชนรุ่นหลัง |
prospective | (adj) ที่คาดหวัง, ที่หวังไว้, ที่มีอนาคต |
tomorrow | (adv) พรุ่งนี้, ในอนาคต |
tomorrow | (n) อนาคตกาล, พรุ่งนี้ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
carpe diem | อยู่กับปัจจุบัน, คำที่กระตุ้นเตือนให้อยู่ปัจจุบัน และไม่ต้องพะวงกับอนาคต, Syn. live in present |
down the line | ในอนาคต |
dreamseer | (n) บุคคลที่มองเห็นอนาคตผ่านความฝัน หรือมักเรียกว่า นักทำนายฝัน |
foreseeable | (adj) (อนาคต) ซึ่งสามารถแลเห็นล่วงหน้าได้, Syn. foreknowledge |
lay away | (vt) สะสมไว้ใช้ในอนาคต |
mega tsunami | (n) คลื่นซึนามิขนาดใหญ่ ที่นักวิทยาศาสตร์คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งคลื่น mega tsunami อาจมีความสูงหลายร้อยเมตร มีอำนาจการทำลายล้างมากกว่า Tsunami หลายสิบเท่า |
prepare the ground | (vt) (for sth) ปูทาง, เตรียมการณ์เพื่อให้ง่ายขึ้น, เตรียมการณ์เพื่อให้บางอย่างเกิดขึ้นมาในอนาคต เช่น They prepare the ground for the international coordination. |
proposed | (adj) ที่วางแผนไว้แล้วสำหรับอนาคต |
subject to change | (adj) เปลี่ยนแปลงได้, อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงในอนาคต |
visionary | [วิเชินน่ารี่] (n) คนที่มีหัวคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถจินตนการอย่างมีเหตุผลได้ว่า อะไรจะเกิดขึ้นหรือสามารถเป็นไปได้ในอนาคต มีความหมายเชิงบวก ตัวอย่างประโยคเช่น This company needs a visionary who can make it profitable. |
Longdo Approved JP-TH
いつか | [いつか, itsuka] (adj) ตำแหน่งเวลาในอนาคตซึ่งไม่รู้ว่าเมื่อไหร่ เช่น いつか会える。แปลว่า คงจะได้เจอกันวันใดวันหนึ่ง |
将来 | [しょうらい, shourai] (n) อนาคตกาล |
未来 | [みらい, mirai] (n) อนาคต |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
不透明 | [ふとうめい, futoumei] (adj) ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง ทึบแสง มองไม่เห็นอนาคต |
不透明 | [ふとうめい, futoumei] (adj) แปลตรงๆ ว่า ไม่แจ่มชัด ไม่แจ่มแจ้ง ทึบแสง. แต่โดยมากใช้ในความหมายว่า มองไม่เห็นอนาคต |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
後々 | [のちのち, nochinochi] TH: อนาคตข้างหน้า |
Longdo Approved DE-TH
Zukunft | (n) |die, nur Sg.| อนาคต |
künftig | ในอนาคต, หลังจากนี้ |
Zukunft | (n) |die| อนาคต, See also: künftig |
werden | (vi) |ich werde, du wirst, er/sie/es wird, sie/Sie werden, ihr/Ihr werdet, + infinitiv ท้ายประโยค| จะ (เป็นกริยาช่วยในไวยากรณ์อนาคตบ่งว่าจะทำอะไร) เช่น Nächste Woche werde ich in den Alpen skifahren. สัปดาห์หน้าฉันจะไปเล่นสกีที่เทือกเขาแอลป์ |
Vorstellung | (n) |die, pl. Vorstellungen| มโนภาพ, จินตนาการ เช่น Man soll eine konkrete Vorstellung für die Zukunft haben. มนุษย์เราควรมีมโนภาพที่เด่นชัดสำหรับอนาคต |
Longdo Approved FR-TH
aller | (vi) |je vais, tu vas, il va, nous allons, vous avez, ils vont| (1) ไป เช่น aller à pied ไปด้วยเท้า, aller à l'étranger ไปต่างประเทศ (2) ใช้เป็นกิริยาช่วยในประโยคที่บ่งอนาคตอันใกล้รูป futur proche โดย aller + infinitif เช่น Je ne vais pas sortir ce soir. เย็นนี้ฉันจะไม่ออกจากบ้าน (3) ในประโยคทักทาย แปลว่า สบายดีหรือเป็นเช่นใด เช่น Comment vas-tu? = (Comment) ca va? เธอสบายดีไหม หรือ เธอเป็นอย่างไรบ้าง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0434 seconds, cache age: 0.365 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม