121 ผลลัพธ์ สำหรับ *รู้ได้*
ภาษา
หรือค้นหา: รู้ได้, -รู้ได้-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กลิ่น ๑ | (กฺลิ่น) น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยจมูก คือ เหม็น หอม และอื่น ๆ, บางทีใช้หมายความว่า เหม็น เช่น แกงหม้อนี้เริ่มมีกลิ่น, โดยปริยายหมายความว่า ลักษณะไม่น่าไว้วางใจ เช่น เรื่องนี้ชักมีกลิ่น การประมูลครั้งนี้เริ่มส่งกลิ่น. |
กำแพงมีหูประตูมีช่อง, กำแพงมีหูประตูมีตา | น. การที่จะพูดหรือทำอะไร ให้ระมัดระวัง แม้จะเป็นความลับเพียงไรก็อาจมีคนล่วงรู้ได้. |
เค้า ๑ | สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ได้ว่ามีลักษณะเหมือนสิ่งอื่น เช่น นาย ก มีเค้าหน้าเหมือนนาย ข |
ตลาดวิชา | น. แหล่งที่ศึกษาหาความรู้ได้โดยเสรี. |
ทัศนศิลป์ | น. ศิลปกรรมประเภทหนึ่งซึ่งแสดงออกด้วยลักษณะที่เป็นรูปภาพหรือรูปทรง รับรู้ได้ด้วยการเห็นและสัมผัสได้ด้วยการจับต้อง เช่น ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ งานประติมากรรม งานสถาปัตยกรรม. |
ทาบ | ก. วางวัตถุสิ่งหนึ่งแนบกับอีกสิ่งหนึ่ง เช่น เอาผ้าทาบตัว เอามือทาบอก, (ปาก) เปรียบ, เทียบ, เช่น เรามีความรู้น้อยจะไปทาบท่านผู้รู้ได้อย่างไร |
นามธรรม | (นามมะทำ) น. สิ่งที่ไม่มีรูป คือ รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น, คู่กับ รูปธรรม. |
ผัสส-, ผัสสะ | น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น ความสุขทางผัสสะ. |
รส | น. สิ่งที่รู้ได้ด้วยลิ้น เช่น เปรี้ยว หวาน เค็ม ฝาด, โดยปริยายหมายถึง ความไพเราะ เช่น กลอนบทนี้ไม่มีรส. |
รับรู้ | รับผิดชอบ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ลูกไปทำผิด พ่อแม่จะไม่รับรู้ได้อย่างไร. |
รูป, รูป- | (รูบ, รูบปะ-) น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยตา เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ, ร่าง เช่น โครงรูป, ร่างกาย เช่น รูปตัวคน รูปตัวสัตว์, เค้าโครง เช่น ขึ้นรูป, แบบ เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปรี รูปไข่ |
รูปธรรม | (รูบปะทำ) น. สิ่งที่รู้ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย อันได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่สามารถสัมผัสได้ด้วยกาย, คู่กับ นามธรรม คือสิ่งที่รู้ได้เฉพาะทางใจเท่านั้น |
ลึก | หยั่งรู้ได้ยาก เช่น ความคิดลึก |
ลึกซึ้ง | ว. ลึกมากจนยากที่จะหยั่งรู้ได้ เช่น ปัญหาลึกซึ้ง คิดลึกซึ้ง. |
สัญญี | ว. มีความหมายรู้ได้, มีความรู้สึก, มีความระลึก, มีความจำได้. |
เสียแรง | ว. ที่น้อยใจหรือผิดหวังที่ลงแรงไปแล้วแต่ไม่ได้ผลสมประสงค์ เช่น เสียแรงไว้วางใจให้รู้ความลับของบริษัท กลับเอาไปเปิดเผยให้ฝ่ายตรงข้ามรู้ได้. |
เสียง | น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด |
แหลม | ชำนาญจนรู้ได้ทันทีว่าอะไรจริงอะไรไม่จริงเป็นต้น เช่น ตาแหลม |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
sensible | ที่รู้ได้ทางประสาทสัมผัส [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensibile (L.) | สิ่งที่รู้ได้ทางประสาทสัมผัส [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensibility | ๑. ความรู้สึกได้, การรับรู้ได้, การกำหนดรู้ได้๒. สภาพสัมผัสได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nescience | ความไม่อาจรู้ได้ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Knowledge broker | นายหน้าความรู้, นายหน้าความรู้ ทำหน้าที่เชื่อมโยงคน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ต่อกัน อันจะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด ประสบการณ์อย่างแคล่วคล่องมากขึ้น ซึ่งความรู้ได้นี้จะเป็นความรู้ในคนหรือความรู้ฝังลึก (Tacit knowledge) เป็นหลัก [การจัดการความรู้] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
รู้ได้อย่างไร | [rū dāi yāngrai] (xp) FR: comment le savez-vous ? |
Longdo Approved EN-TH
Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
aptitude | (n) ความฉลาดในการเรียนรู้, See also: ความสามารถในการเรียนรู้ได้เร็ว |
betray | (vt) แสดงให้รู้, See also: แสดงให้เห็นถึง, รู้ได้ |
beyond one's ken | (idm) ยากจะรู้ได้, See also: เกินกว่าจะเข้าใจ |
clear | (adj) ที่รับรู้ได้ดี |
cognizable | (adj) ที่สามารถเข้าใจได้, See also: ที่สามารถรับรู้ได้, Syn. perceptible |
feeling | (adj) อ่อนไหวง่าย, See also: รับรู้ได้ง่าย |
gather from | (phrv) จับใจความจาก, See also: เข้าใจจาก, ตีความจาก, รู้ได้จาก, เก็บใจความจาก, Syn. understand by |
ineducable | (adj) ซึ่งไม่สามารถให้การศึกษาได้, See also: ซึ่งไม่สามารถให้ความรู้ได้ |
inscrutable | (adj) ไม่อาจหยั่งรู้ได้, See also: ยากที่จะเข้าใจได้, ลึกลับ, ลับลมคมใน, Syn. incomprehensible, mysterious |
know by | (phrv) จำได้จาก (สัญลักษณ์, เครื่องหมาย), See also: รู้ได้จาก |
knowable | (adj) ที่เรียนรู้ได้, Syn. know-all, vain person |
percept | (n) สิ่งที่รับรู้ได้ (คำทางการ), See also: สิ่งที่รับทราบได้ |
perceptible | (adj) ซึ่งเข้าใจได้, See also: ซึ่งรับรู้ได้, Syn. perceivable, cognizable, discernible, Ant. undetectible |
perceptive | (adj) ซึ่งสามารถหยั่งรู้, See also: ซึ่งสามารถเข้าใจได้, ซึ่งสามารถรับรู้ได้, Syn. prehensile, shrewd, Ant. unperceptive |
perceptual | (adj) เกี่ยวกับการรับรู้ได้, See also: เกี่ยวกับการหยั่งรู้, Syn. perceptive |
phenomenal | (adj) ซึ่งรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัส |
piercing | (adj) เฉียบแหลม (สายตา, ปัญญา ฯลฯ), See also: ซึ่งเข้าใจได้เร็ว, ซึ่งรับรู้ได้เร็ว, Syn. acute, perceptive |
positivism | (n) ทฤษฎีที่ว่าความรู้ได้จากการรับโดยตรงมากกว่าการเทียบเคียง, Syn. atheism |
presentative | (adj) ซึ่งสามารถรับรู้ได้ |
retardation | (n) ความปัญญาอ่อน, See also: การมีสติปัญญาเรียนรู้ได้ช้า, Syn. mental retardation, slowness |
self-taught | (adj) ซึ่งเรียนรู้ด้วยตัวเองได้, See also: ซึ่งสามารถเรียนรู้ได้เอง, ซึ่งฝึกฝนเองได้, Syn. amateur, learned, self-educated, self-instructed |
tactile | (adj) ซึ่งรับรู้ได้ด้วยการสัมผัส, Syn. physical, palpable, tactual, sensory |
teachable | (adj) ที่สามารถสอนได้, See also: ที่สามารถเรียนรู้ได้, Syn. qualified, willing to learn, docile |
understandably | (adv) อย่างรับรู้ได้, See also: อย่างสมเหตุสมผล, อย่างเข้าใจได้, Syn. naturally, sensibly, reasonably |
witnessable | (adj) ซึ่งสามารถรับรู้ได้, See also: ซึ่งสามารถรู้เห็นได้ |
Hope Dictionary
agnosticism | (แอกนอส' ทิซิซึม) n. ทฤษฎีที่ไม่มีใครที่อาจจะรู้ได้ |
ai | (เอไอ) abbr. 1. ย่อมาจากคำว่า aortic insufficiency 2. ย่อมาจากคำว่า artificial intelligence แปลว่า ปัญญาประดิษฐ์ หมายถึงแขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
artificial intelligence | ปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์ |
binary file | แฟ้มข้อมูลฐานสองหมายถึง แฟ้มที่บรรจุข้อมูลที่เป็นฐานสองเท่านั้น ข้อมูลเหล่านี้ คอมพิวเตอร์จะเข้าใจและรับรู้ได้ โดยปกติ แฟ้มข้อมูลเหล่านี้จะถูกกำหนดให้ใช้นามสกุล (file type) ว่า BIN ดู BIN ประกอบ |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
cognizable | (คอก'นิซะเบิล) adj. ซึ่งสามารถรับรู้หรือรู้ได้, ภายในขอบเขตอำนาจการพิจารณาของศาล, Syn. cognisable |
cognosible | adj. ซึ่งสามารถรับรู้ได้ |
control card | บัตรควบคุมหมายถึง บัตรซึ่งบรรจุข้อความที่เป็นภาษาควบคุมงานซึ่งได้มีการกำหนดไว้เป็นรหัสเป็นการเฉพาะ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือใช้กับงานชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรควบคุม อาจจะเป็นตัวบอกว่า โปรแกรมหรือชุดคำสั่งชุดต่อไปจะเป็นภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล หรือภาษาอื่น ๅ บัตรควบคุมอาจทำให้รู้ได้ว่างานนี้เป็นงานของนิสิต หรือเป็นงานของนักวิจัยทั่วไป เพราะบางทีอาจมีการกำหนดข้อห้ามบางอย่างสำหรับงานของนิสิตไว้ในระบบ ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีการใช้บัตรแล้ว คำนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปด้วยดู card (บัตร) |
hexadecimal | ฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F |
incognizable | (อินคอก' นิซะเบิล) adj. ไม่อาจรู้ได้ |
inscrutable | (อินสครู'ทะเบิล) adj. ไม่สามารถจะวินิจฉัยได้, ไม่สามารถหยั่งรู้ได้, ยากที่จะเข้าใจได้, ลึกลับ, ลับลมคมใน., See also: inscrutability, inscrutableness n. inscrutably adv, Syn. mysterious, hidden |
knowable | (โน'อะเบิล) adj. รู้ได้, เรียนรู้ได้, See also: knowability n. ดูknowable |
palmy | (พา'มี) adj. ชัดเจน, คลำรู้ได้ |
palpable | (แพล'พะเบิล) adj. ชัดเจน, โจ่งแจ้ง, สัมผัสได้ชัดเจน, คลำรู้ได้, See also: palpability n. |
relational database | ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หมายถึง ฐานข้อมูลแบบหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลที่แยกต่างหากออกจากกันเป็นหลาย ๆ แฟ้ม แต่ละแฟ้มเหล่านั้นมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอยู่ การเรียกหาข้อมูลในแฟ้มหนึ่งจะโยงไปหาแฟ้มอื่นได้ เช่น เราอาจมีแฟ้มข้อมูลที่เก็บสินค้า และอีกแฟ้มข้อมูลหนึ่งเก็บรายชื่อลูกค้า เราอาจสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่ แล้วเลือกเฉพาะข้อมูลที่ต้องการจากแต่ละแฟ้มให้มาสัมพันธ์กัน เพื่อจะรู้ได้ว่า ลูกค้าคนใดสั่งสินค้าใดไปจำนวนเท่าใด ทั้งสิ้นขึ้นกับการออกแบบระบบให้แฟ้มเหล่านั้นสัมพันธ์กันด้วย |
smart card | บัตรเก่งหมายถึง บัตรที่มีข้อมูลซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถตรวจเช็ค หรือนำข้อมูลในบัตรนั้นไปประมวลผลได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ เช่น บัตรโทรศัพท์ ที่จะทำการคำนวณระยะเวลาที่พูด แล้วหักเงินแต่ละครั้งได้ บอกให้รู้ได้ว่ายังใช้ได้อีกเท่าใด ส่วนมากจะเป็นบัตรที่มีแถบแม่เหล็ก เช่น บัตรเอทีเอ็ม (ATM) ซึ่งจะมีชื่อและรหัสให้ตรวจสอบได้ เป็นต้น |
software | ซอฟต์แวร์ส่วนชุดคำสั่งหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแปลและรับรู้ได้ คำนี้มักจะใช้เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่างเมื่อเทียบกับส่วนตัวเครื่องหรือฮาร์ดแวร์ (hardware) ดู hardware เปรียบเทียบ |
user-hostile | ยากสำหรับผู้ใช้หมายถึง ซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ที่ใช้ยาก (แปลตามตัวว่าโหดร้ายกับผู้ใช้) แม้คนที่รู้เรื่องคอมพิวเตอร์ดี ก็ยังไม่สามารถใช้ได้ กล่าวคือ เรียนรู้ได้ยาก มีความหมายตรงข้ามกับ user - friendly ดู user - friendly เปรียบเทียบ |
Nontri Dictionary
inscrutable | (adj) ไม่อาจจะหยั่งรู้ได้, ลึกลับ, เข้าใจยาก |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 |
Longdo Approved DE-TH
nachmachen | (vt) |machte nach, hat nachgemacht, jmdm. etw.| ทำตาม, เลียนแบบ เช่น Kleine Kinder lernen viel, indem sie alles nachmachen. เด็กเล็กๆ เรียนรู้ได้มากโดยที่พวกเขาเลียนแบบทุกอย่าง, Syn. imitieren |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0754 seconds, cache age: 11.751 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม