282 ผลลัพธ์ สำหรับ *รับรู้*
ภาษา
หรือค้นหา: รับรู้, -รับรู้-Longdo Unapproved TH - MED
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
โรคประจำตัว | (n) ต้องไม่ใช่ underlying disease อยากอธิบายเพิ่ม แต่หากอธิบายแล้ว ใช้เวลาแล้ว ไม่ได้รับรู้ว่าได้ส่งต่อถึงการพิจารณา ก็ไม่อยากเขียนเพิ่มเติม. เคยเขียนแล้ว. |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
รับรู้ | (v) acknowledge, See also: recognize, be aware of, Syn. รับทราบ, Example: ครูเล่าถึงพฤติกรรมและผลการเรียนของเด็กให้ผู้ปกครองรับรู้ |
เป็นที่รับรู้ | (adj) be acknowledged, See also: be recognized, be accepted, be acceptable, Syn. เป็นที่ยอมรับ, เป็นที่รับรอง, Example: การแต่งงานของหญิงสูงศักดิ์และลูกชายนายวาณิชเป็นที่รับรู้ของคนทั่วไป, Thai Definition: รู้กันโดยทั่วไป |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
รับรู้ | ก. ยืนยันว่ารู้, รับว่ารู้ |
รับรู้ | รับผิดชอบ, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น ลูกไปทำผิด พ่อแม่จะไม่รับรู้ได้อย่างไร. |
เข้าฌาน | ก. ทำใจให้สงบตามหลักทางศาสนา, โดยปริยายหมายถึงนั่งหลับหรือเหม่อใจลอยไม่รับรู้อะไร. <i> (ดู ฌาน ประกอบ)</i>. |
ฆาน, ฆาน- | (คาน, คานะ-) น. จมูก, ประสาทที่รับรู้กลิ่น. |
ฆานประสาท | น. ประสาทที่รับรู้กลิ่น. |
งึก ๆ | ว. อาการที่พยักหน้าเป็นการรับรู้, หงึก ๆ ก็ว่า. |
ฐาน ๒, ฐาน-, ฐานะ | หลักฐาน, ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของเขา. |
ดูเถอะ, ดูเถิด | คำบอกกล่าวให้รับรู้ไว้. |
ได้ยิน | ก. รับรู้เสียงด้วยหู. |
ตาบอดสี | น. ตาที่มองเห็นสีผิดไปจากสีที่เป็นจริง เนื่องจากประสาทตาที่รับรู้สีพิการหรือเจริญไม่เต็มที่. |
ทัศนศิลป์ | น. ศิลปกรรมประเภทหนึ่งซึ่งแสดงออกด้วยลักษณะที่เป็นรูปภาพหรือรูปทรง รับรู้ได้ด้วยการเห็นและสัมผัสได้ด้วยการจับต้อง เช่น ภาพจิตรกรรม ภาพพิมพ์ งานประติมากรรม งานสถาปัตยกรรม. |
บอกกล่าว | ก. ร้องบอกให้ผู้อื่นเป็นพยานรับรู้ไว้. |
บอดสี | น. เรียกตาที่มองเห็นสีผิดไปจากสีที่เป็นจริง เนื่องจากประสาทตาที่รับรู้สี พิการหรือเจริญไม่เต็มที่ ว่า ตาบอดสี. |
ประสาทหลอน | น. ความผิดปรกติของการรับรู้ เช่น เห็นภาพหลอน ได้ยินเสียงคนพูดโดยไม่มีคนพูดจริง ได้กลิ่นที่ไม่มีอยู่จริง. |
ปิดหูปิดตา | ก. ไม่ยอมรับรู้รับฟัง, ไม่ยอมให้รู้ให้เห็น. |
ผัสส-, ผัสสะ | น. การกระทบ, การถูกต้อง, เช่น ผัสสะทางกาย ผัสสะทางใจ, การที่ตา หู จมูก ลิ้น และกาย กระทบกับรูป เสียง กลิ่น รส และสิ่งที่รับรู้ได้ทางกาย เช่น ความสุขทางผัสสะ. |
พยัก | (พะยัก) ก. อาการที่ก้มหน้าลงเล็กน้อยแล้วเงยหน้าขึ้นโดยเร็วเป็นการแสดงความรับรู้ เรียกว่า พยักหน้า. |
พยักพเยิด | (-พะเยิด) ก. แสดงกิริยาหน้าตาพลอยรับรู้เห็นกับเขาด้วย, ไม่แสดงอาการให้ชัดเจนเป็นแต่พยักหน้า หรือทำบุ้ยใบ้ไม้มือเพื่อให้รู้. |
พิชาน | น. ความรู้สึกตัว, การรับรู้อารมณ์หรือสิ่งเร้า. |
มนินทรีย์ | น. ใจซึ่งเป็นใหญ่ในการรับรู้ธรรมารมณ์ คือ อารมณ์ที่เกิดทางใจ. |
ไม่รู้ไม่ชี้ | ว. ไม่รับรู้, ไม่รับผิดชอบ, เช่น ทำเป็นไม่รู้ไม่ชี้. |
โยคะ | น. การทำจิตใจให้สงบ, การที่จิตไม่รับรู้อารมณ์ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และสัมผัสต่าง ๆ, วิธีการควบคุมร่างกายและจิตใจได้อย่างสมบูรณ์โดยการทำจิตให้เป็นสมาธิ. |
รูป, รูป- | (รูบ, รูบปะ-) น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยตา เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ, ร่าง เช่น โครงรูป, ร่างกาย เช่น รูปตัวคน รูปตัวสัตว์, เค้าโครง เช่น ขึ้นรูป, แบบ เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปรี รูปไข่ |
โรคจิตเภท | น. กลุ่มอาการของโรคทางจิตที่ทำให้ความคิด การรับรู้ อารมณ์ และบุคลิกภาพผิดปรกติ. |
ลืมหูลืมตา | ก. เปิดหูเปิดตารับรู้ความเป็นไปของสิ่งต่าง ๆ ทั่วไป เช่น รู้จักลืมหูลืมตาดูโลกเสียบ้างซิ |
โลกาภิวัตน์ | การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นต้น. |
วิญญาณ | ความรับรู้ เช่น จักษุวิญญาณ คือ ความรับรู้ทางตา โสตวิญญาณ คือ ความรับรู้ทางหู เป็นขันธ์ ๑ ในขันธ์ ๕ คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ |
เสียง | น. สิ่งที่รับรู้ได้ด้วยหู เช่น เสียงฟ้าร้อง เสียงเพลง เสียงพูด |
หงึก ๆ | ว. อาการที่พยักหน้าเป็นการรับรู้, งึก ๆ ก็ว่า. |
หลับ | ก. อาการพักผ่อนของร่างกายที่มีการรับรู้สภาพแวดล้อมน้อยลง. |
หลับหูหลับตา | อาการที่ไม่รับรู้เหตุการณ์ใด ๆ เลย เช่น เรื่องนี้เขารู้กันทั่วบ้านทั่วเมืองแล้ว คุณมัวไปหลับหูหลับตาอยู่เสียที่ไหน |
หื้อ ๑ | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความรับรู้. |
หูเข้าพรรษา | ว. ไม่รับรู้รับฟังสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้นมักใช้เป็นสำนวนเปรียบเทียบ เช่น ทำเป็นหูเข้าพรรษาไปได้. |
หูหนวกตาบอด | ว. ไม่รับรู้รับเห็นสิ่งใด ๆ ทั้งสิ้น. |
อือ | อ. คำที่เปล่งออกมาเป็นการตอบรับหรือรับรู้. |
เอกภาคี | (เอกะ-, เอกกะ-) น. ฝ่ายเดียว หมายถึงประเทศที่ปลีกตัวปฏิบัติการทางการเมืองเป็นต้นโดยลำพัง ไม่มีประเทศอื่นร่วมหรือรับรู้ด้วย. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
perceive | กำหนดรู้, รับรู้ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
photoreceptive | -รับรู้แสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pressure sense; baraesthesia; baresthesia | การรับรู้แรงกดดัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proprioception; sense, proprioceptive | การรับรู้อากัปกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proprioceptive sense; proprioception | การรับรู้อากัปกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proprioceptor | ปลายประสาทรับรู้อากัปกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
posture sense; sense, position | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perception; aesthesia; esthesia | ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ sense ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
position sense; sense, posture | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
light sense | การรับรู้แสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lambda sensor | ตัวรับรู้แลมบ์ดา [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
Lambda sensor | ตัวรับรู้แลมบ์ดา [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
remote sensing | การรับรู้จากระยะไกล [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
remote sensing | การรับรู้ระยะไกล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
remote sensing geology | ธรณีวิทยาการรับรู้ระยะไกล [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
sense | การรับรู้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sense | ๑. ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ aesthesia; esthesia; perception ]๒. สัมผัส๓. นัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
supraliminal | เกินขีดรับรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stereocognosy; stereognosis | การรับรู้สัณฐานโดยคลำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stereognosis; stereocognosy | การรับรู้สัณฐานโดยคลำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stereognostic sense | การรับรู้สัณฐานโดยสัมผัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, position; sense, posture | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, posture; sense, position | การรับรู้ท่า(ร่างกาย) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, pressure; baraesthesia; baresthesia | การรับรู้แรงกดดัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, proprioceptive; proprioception | การรับรู้อากัปกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, special | การรับรู้เฉพาะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, stereognostic | การรับรู้สัณฐานโดยสัมผัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, tactile; touch | การรับรู้แตะต้อง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, temperature | การรับรู้อุณหภูมิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, visceral | การรับรู้จากอวัยวะภายใน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, visual | ๑. การรับรู้ภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ sight ๑ และ vision ๑ ]๒. การเห็น [ มีความหมายเหมือนกับ sight ๒ และ vision ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensibility | ๑. ความรู้สึกได้, การรับรู้ได้, การกำหนดรู้ได้๒. สภาพสัมผัสได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense switch | สวิตช์รับรู้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sense, color; sense, colour | การรับรู้สี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, colour; sense, color | การรับรู้สี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, gustatory | การรับรู้รส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, light | การรับรู้แสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
special sense | การรับรู้เฉพาะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sight | ๑. การรับรู้ภาพ [ มีความหมายเหมือนกับ sense, visual ๑ และ vision ๑ ]๒. การเห็น [ มีความหมายเหมือนกับ sense, visual ๒ และ vision ๒ ]๓. สายตา [ มีความหมายเหมือนกับ acuity of vision ๒ และ acuity, visual และ vision ๓ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensor | เครื่องรับรู้, ตัวรับรู้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
sensor | ตัวรับรู้, เครื่องรับรู้, อุปกรณ์รับรู้ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
sensor | เครื่องรับรู้, ตัวรับรู้ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensor | ตัวรับรู้ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensory nerve | ประสาทรับความรู้สึก, ประสาทรับรู้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
orientation | ๑. การรับรู้ (กาลเทศะและบุคคล)๒. การแนะแนว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
osmoceptor; osmoreceptor | ๑. ตัวรับกลิ่น๒. ตัวรับรู้ความเข้มเกลือแร่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
oxygen sensor | ตัวรับรู้ปริมาณออกซิเจน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
occlusal perception | การรับรู้การสบ(ฟัน) [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
osmoreceptor; osmoceptor | ๑. ตัวรับกลิ่น๒. ตัวรับรู้ความเข้มเกลือแร่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
apprehension | ๑. ความหวาดวิตก๒. การรับรู้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
globalization | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
globalisation | โลกาภิวัตน์, การแพร่กระจายไปทั่วโลก; การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Geo-Informatics | ระบบภูมิสารสนเทศ, ระบบภูมิสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่รู้จักกันมากขึ้น สำหรับ หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ และติดตามทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เช่น ทรัพยากร ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบบภูมิสารสนเทศได้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีต่างๆ ได้แก่ การรับรู้จากระยะไกล (Remote sensing) ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS - Global Positioning System) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS - Geographic information Systems ) [Assistive Technology] |
Geomatics | ระบบภูมิสารสนเทศ, ระบบภูมิสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่รู้จักกันมากขึ้น สำหรับ หน่วยงาน หรือองค์กรที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ และติดตามทรัพยากรสิ่งแวดล้อม เช่น ทรัพยากร ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ หรือทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น ระบบภูมิสารสนเทศได้เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีต่างๆ ได้แก่ การรับรู้จากระยะไกล (Remote sensing) ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก (GPS - Global Positioning System) และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS - Geographic information Systems ) [Assistive Technology] |
Visual Strategies | กลวิธีผ่านการมอง, วิธีการที่ช่วยพัฒนาการสื่อสารของบุคคลออธิซึมหรือผู้ที่มีปัญหาการรับรู้ภาษาพูด โดยช่วยให้เด็กเข้าใจการสื่อสารจากภาษาพูดเป็นสื่อการรับรู้ด้วยภาพ เพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในสังคมได้ [Assistive Technology] |
โลกาภิวัตน์ | การแพร่กระจายไปทั่วโลก การที่ประชาคมโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ สัมพันธ์ หรือรับผลกระทบจากสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วกว้างขวาง ซึ่งเนื่องมาจากการพัฒนาระบบสารสนเทศ เป็นต้น, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ โลกาภิวัฒน์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Extrasensory perception | การรับรู้ด้วยประสาทสัมผัสพิเศษ [TU Subject Heading] |
Hypesthesia | การรับรู้สัมผัสน้อยลง [TU Subject Heading] |
Language acquisition | การรับรู้ทางภาษา [TU Subject Heading] |
Perception | การรับรู้ [TU Subject Heading] |
Perception in children | การรับรู้ในเด็ก [TU Subject Heading] |
Picture perception | การรับรู้ภาพ [TU Subject Heading] |
Sensor networks | เครือข่ายเครื่องรับรู้ [TU Subject Heading] |
Social perception | การรับรู้ทางสังคม [TU Subject Heading] |
Subliminal perception | การรับรู้แบบซ่อนเร้น [TU Subject Heading] |
Visual perception | การรับรู้ทางสายตา [TU Subject Heading] |
Sensor | ตัวรับรู้ เครื่องรับรู้ อุปกรณ์รับรู้ [พลังงาน] |
Deferred charge income | รายได้รอการรับรู้รายได้ [การบัญชี] |
Revenue recognition | การรับรู้รายได้ [การบัญชี] |
Adaptation, Cross | การปรับตัวของการรับรู้รสต่อสารกระตุ้นชนิดอื่น [การแพทย์] |
Afferent Phase | ระยะที่รับรู้ [การแพทย์] |
Animals, Macrosmatic | สัตว์สามารถรับรู้กลิ่นได้เร็วและดีมาก [การแพทย์] |
Animals, Microsmatic | คนรับรู้กลิ่นได้น้อยกว่าสัตว์ [การแพทย์] |
Aquesia | ไม่สามารถรับรู้รสได้เลย [การแพทย์] |
Awareness, Body | การรับรู้ส่วนของร่างกาย [การแพทย์] |
Awareness, Individual | การรับรู้ของบุคคล [การแพทย์] |
Baroreceptors | ตัวรับแรงดัน, ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงความดัน, บาโรรีเซพเตอร์, ตัวรับรู้แรงกดดัน [การแพทย์] |
Colour Vision | การรับรู้เกี่ยวกับสี [การแพทย์] |
Concept of Self | การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง [การแพทย์] |
Denial | ไม่ยอมรับรู้, ปฏิเสธ, ไม่ยอมรับความเป็นจริง, การปฏิเสธ [การแพทย์] |
Depth Perception | รับรู้ความลึก [การแพทย์] |
Enteroception | การรับรู้ภายใน [การแพทย์] |
Excitability | ถูกกระตุ้น, การรับรู้ต่อสิ่งเร้า, การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น, ภาวะที่ไวต่อการเร่งเร้าหรือถูกกระตุ้น, สภาวะที่ไวต่อการกระตุ้น, การไวต่อการกระตุ้น, ตื่นเต้นตกใจง่าย, การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น, ความไว, การแสดงอาการโต้ตอบสิ่งเร้า, การไวต่อการกระตุ้น [การแพทย์] |
Extraneous | การรับรู้ภายนอก [การแพทย์] |
Facilitation, Sensory | การกระตุ้นด้านการรับรู้ [การแพทย์] |
Figure Identification, Traced | การรับรู้ภาพที่เขียนบนผิวหนัง [การแพทย์] |
ความสับสน | ความสับสน, สภาพการใช้สติสัมปะชัญญะ การรับรู้ หรือการคิด ที่ทำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจ เกิดความไม่ชัดเจน ยุ่งเหยิง วุ่นวายของอารมณ์หรือความคิด จนแสดงออกทางกาย เช่น ประหม่้า กระวนกระวาย สั่น หรือแสดงให้เห็นถึงระดับวุฒิภาวะของบุคคลนั้น โดยเฉพาะเรื่องกาลเวลา สถานที่ แล [สุขภาพจิต] |
ความผิดปกติทางจิต | ความผิดปกติทางจิต, อาการที่แสดงออกที่ผิดแปลก ทำให้การปรับตัวหรือสัมพันธภาพหรือความรับผิดชอบหรือชีวิตประจำวันที่เคยมี เสียไป หรือแตกต่างจากคนทั่วไปอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถแสดงออกหลายด้านไล่เรียงตั้งแต่สิ่งที่สังเกตยากที่สุด คือ ความคิด ความรู้สึก การรับรู้ อารมณ์ หรือพฤติกรรม [สุขภาพจิต] |
ความสุข | ความสุข, สิ่งที่ใช้บ่งบอกระดับสภาวะจิตใจของบุคคล ณ ช่วงเวลา หรือ สถานการณ์หนึ่ง ๆ ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามที่บุคคลนั้นรู้สึก (ปัจจัยภายนอกตัวบุคคล) และรับรู้ (ปัจจัยภายในบุคคล) จากสิ่งกระตุ้น โดยที่การรับรู้จะมีอิทธิพลเหนือกว่าความรู้สึก เพราะใช้สร้างสมดุลของร่างกายแล [สุขภาพจิต] |
Gender Identity Disorders | ความผิดปกติในการรับรู้เพศประจำตัวของตน [การแพทย์] |
Gender Identity Disorders | ความผิดปกติในการรับรู้เพศประจำตัวของตน [การแพทย์] |
Gustation | การรับรู้รส [การแพทย์] |
Ignore | ไม่สนใจ, ไม่รับรู้ [การแพทย์] |
Knowledge | ความรู้, การรับรู้ [การแพทย์] |
Language, Receptive | การรับรู้เข้าใจภาษาของผู้อื่น [การแพทย์] |
Macula Densa Cell | ตัวรับรู้การเปลี่ยนแปลงโซเดียม [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การรับรู้ | [kān raprū] (n) EN: recognition . perception |
การรับรู้การเป็นหนี้ | [kān raprū kān pen nī] (n, exp) EN: acknowledgement of indebtedness |
การรับรู้ปัญหา | [kān raprū panhā] (n, exp) EN: problem recognition |
รับรู้ | [raprū] (v) EN: acknowledge ; recognize ; be aware of FR: reconnaître ; admettre |
Longdo Approved EN-TH
Richter scale | (n, name) หน่วยวัดขนาดของแผ่นดินไหว จากพลังงานที่แผ่นดินไหวปล่อยออกมา เช่น แผ่นดินไหวขนาด (หรือแมกนิจูด) 6.1 ตามมาตราวัดริกเตอร์ หมายเหตุ: แผ่นดินไหวจะรุนแรงไม่รุนแรง ต้องดูขนาดควบคู่ไปกับความลึกของจุดศูนย์กลาง กล่าวคือ ถ้าขนาดใหญ่แต่ถ้าอยู่ลึกมากก็อาจจะไม่แรง แต่ถึงขนาดไม่ใหญ่มาก แต่จุดศูนย์กลางอยู่ตื้นก็อาจสร้างความเสียหายได้มาก, ส่วนสิ่งที่รับรู้ได้บนดินคือ ความสั่นสะเทือน (ความรุนแรง, intensity) ซึ่งแต่ละพื้นที่บนพื้นดินจะมีความสั่นสะเทือนแตกต่างกัน แล้วแต่ว่าอยู่ใกล้ไกล จุดเหนือศูนย์แผ่นดินไหว (epicenter) แค่ไหน <p> <b>เพิ่มเติม:</b>ความสั่นสะเทือน (intensity) ในภาษาญี่ปุ่นจะเรียก ชินโดะ (震度) และมีมาตรวัดของญี่ปุ่นเอง มีระดับตั้งแต่ 1 (เบา) ถึง 7 (รุนแรง) ถ้าพูดถึงขนาดจะใช้ว่า Magnitude |
receive | (vi, vt) รับ, ได้รับ, รับรู้, ประสบ, ค้ำจุน, กำจัดวง, บรรจุ, ระงับ, ทักทาย, ต้อนรับ, เล็งเห็น, Syn. get |
artificial intelligence (AI) | (n) ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ), สาขาหนึ่งของวิทยาการคอมพิวเตอร์ ซึ่งเน้นเรื่องที่จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้ใกล้เคียงมนุษย์มากขึ้น แบ่งย่อยออกเป็นสาขาต่าง ๆ เช่น การแปลภาษาด้วยเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ วิทยาการหุ่นยนต์ การรู้จำแบบ การรับรู้เยี่ยงมนุษย์ (human perception) ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
ack | (แอ็ค) ตอบรับ รับรู้ ย่อมาจากคำว่า acknowledge ใช้ในความหมายของการรับรู้ระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อนที่จะมีการถ่ายโอนข้อมูลให้แก่กันและกัน เท่ากับเป็นการรับรู้ว่ามีเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่ และพร้อมที่จะรับการถ่ายโอนข้อมูลจากกัน |
binary file | แฟ้มข้อมูลฐานสองหมายถึง แฟ้มที่บรรจุข้อมูลที่เป็นฐานสองเท่านั้น ข้อมูลเหล่านี้ คอมพิวเตอร์จะเข้าใจและรับรู้ได้ โดยปกติ แฟ้มข้อมูลเหล่านี้จะถูกกำหนดให้ใช้นามสกุล (file type) ว่า BIN ดู BIN ประกอบ |
characteristic | (แคริคเทอริส'ทิค) adj. เป็นลักษณะเฉพาะ -n. ลักษณะเฉพาะ การรู้จำอักขระหมายถึง เทคโนโลยีในการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์รับรู้ความแตกต่างของรูปลักษณะตัวอักษร ต่าง ๆ ที่มนุษย์เขียนหรือพิมพ์ขึ้น โดยใช้แสงหรือสนามแม่เหล็ก แล้วถอดรหัสเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เพื่อนำไปประมวลผลต่อไปได้ดู pattern recognition ประกอบ |
cogitation | (คอจจิเท'เชิน) n. การพิจารณา, แผนงาน, โครงการ, การรับรู้, สิ่งที่ถูกรับรู้ |
cogitative | (คอจ'จิเททิฟว) adj. ซึ่งไตร่ตรอง, ซึ่งพิจารณา, ซึ่งรับรู้., See also: cogitativeness n. |
cognition | (คอกนิช'เชิน) n. การรับรู้, กระบวนการรับรู้ สิ่งที่เข้าใจหรือรู้, ความรู้ความเข้าใจ., See also: cognitive adj. |
cognizable | (คอก'นิซะเบิล) adj. ซึ่งสามารถรับรู้หรือรู้ได้, ภายในขอบเขตอำนาจการพิจารณาของศาล, Syn. cognisable |
cognizance | n. การรับรู้, การยอมรับ, การสังเกต, คำสั่งศาล, อำนาจการพิจารณาคดี, อำนาจศาล, วงความรู้, ขอบข่ายของการสังเกต, Syn. cognisance |
cognizant | (คอก'นิเซินทฺ) adj. ซึ่งมีพิจารณญาณ, ซึ่งรู้ถึง, ซึ่งรับรู้, ตะหนักถึง, Syn. cognisant |
cognize | (คอก'ไนซ) { cognized, cognizing, cognizes } vt. รับรู้, รู้ถึง, ตระหนัก, รู้., Syn. cognise |
cognosible | adj. ซึ่งสามารถรับรู้ได้ |
com- | 1. Pref. รวมกัน, ด้วยกัน, อย่างสมบูรณ์, Syn. co-, 2. คอม 1. ย่อมาจาก COMmunication port หมายถึงช่องที่ใช้สำหรับต่อออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น เมื่อจะหมุนเลขหมายโทรศัพท์บนคอมพิวเตอร์ผ่านโมเด็ม คอมพิวเตอร์ก็จะต้องรับรู้กันให้ได้ว่า ช่องที่ติดต่อกับโมเด็มนั้นคือช่องไหน กำหนดได้หลายช่องเรียกว่า COM1, COM2 2. ใช้เป็นนามสกุล file type ของแฟ้มข้อมูลในดอสและโอเอสทูว่า .COM เพื่อแสดงว่าเป็นแฟ้มข้อมูลกระทำการ executive program หรือโปรแกรมประเภทเดียวกับ .EXE เช่น FORMAT.COM COMMAND.COM 3. ย่อมาจาก computer output on microfilm ไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโคร ฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโคร ฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
hexadecimal | ฐาน 16ระบบเลขฐาน 16 หมายถึงระบบเลขที่มีสัญลักษณ์ 16 ตัว (ฐานสิบมี 10 ตัวคือ 0-9) ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น เรานิยมใช้เลขฐาน 16 ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์ จะรับรู้ได้ เลขฐานสิบหกก็คือ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F |
ignore | (อิกนอรฺ') vi. ไม่สนใจ, ละเลย, ไม่ยอมรับรู้., See also: ignorable adj. ignorer n., Syn. disregard, Ant. heed |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
non executable statement | ข้อความสั่งไม่ทำการหมายถึง คำสั่งที่เครื่องคอมพิวเตอร์จะไม่ทำการใด ๆ แต่เป็นการแจ้งให้ตัวแปลชุดคำสั่ง (compiler) รับรู้ข้อความบางอย่างที่ต้องการแจ้งให้ทราบเท่านั้น เช่น คำสั่ง END เป็นต้น คำสั่งนี้เป็นเพียงต้องการแจ้งให้ทราบว่า จบโปรแกรมนั้น ๆ แล้วเท่านั้น นอกจากนั้น ก็อาจเป็นคำสั่งให้เตรียมที่ในหน่วยความจำบ้าง เตรียมจัดรูปแบบข้อมูลบ้าง ถ้าสั่งให้อ่านข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Read คำสั่งนี้เป็นข้อความสั่งทำการ (excutable statement) เครื่องจะทำการทันทีที่พบคำสั่งนี้ แต่อ่านข้อมูลแล้วนำไปจัดเก็บในรูปแบบตามคำสั่ง FORMAT (ในภาษาฟอร์แทรน) คำสั่ง FORMAT ถือว่าเป็นข้อความสั่งไม่ทำการดู excutable statement เปรียบเทียบ |
ocr | abbr. optical character recognition, optical character reader (แปลตรง ๆ ได้ว่า เครื่องอ่านอักขระด้วยแสง) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น |
optical character reecogn | การรับรู้อักขระด้วยแสงใช้ตัวย่อว่า OCR (อ่านว่า โอซีอาร์) หมายถึง ความสามารถของคอมพิวเตอร์และการใช้โปรแกรมทำให้แสงผ่านตัวอักขระหรือภาพ แล้วสามารถรับรู้ นำเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ และนำไปประมวลผลได้ ซึ่งจะทำให้ทุ่นเวลากว่าการส่งข้อมูลเข้าด้วยแป้นพิมพ์ได้มากทีเดียว ใช้ในการอ่านตัวเลขต่าง ๆ เช่น ธนาคารนำมาใช้อ่านเบอร์บัญชีของเช็ค เป็นต้น |
pattern recognition | การรู้จำแบบหมายถึงเทคนิคในการทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์รับรู้ความแตกต่างของรูปแบบต่าง ๆ โดยใช้แสงหรือสนามแม่เหล็ก แล้วถอดรหัสเป็นภาษาเครื่อง (machine language) เพื่อนำไปประมวลผลต่อไปได้ |
perception | (เพอเซพ'เชิน) n. การเข้าใจ, การแลเห็น, การมองเห็น, สัญญาณ, การหยั่งรู้, ญาน, ความรู้สึก, ความรู้สึกสัมผัส, สิ่งที่มองเห็น, การรับรู้สัมผัส, การกำหนดรู้, การกำหนดหมาย., See also: perceptional adj. |
phenomenal | (ฟินอม'มเนิล) adj. พิเศษ, ประหลาด, เด่น, ยอดเยี่ยม, มหัศจรรย์, เป็นปรากฎการณ์, ซึ่งรับรู้โดยประสาทสัมผัส. |
software | ซอฟต์แวร์ส่วนชุดคำสั่งหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึ่ง ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแปลและรับรู้ได้ คำนี้มักจะใช้เพื่อชี้ให้เห็นความแตกต่างเมื่อเทียบกับส่วนตัวเครื่องหรือฮาร์ดแวร์ (hardware) ดู hardware เปรียบเทียบ |
Nontri Dictionary
cognizant | (adj) ซึ่งรับรู้, ซึ่งรู้ถึง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*ผงชูรส* | (n) เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต (Monosodium Glutamate) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหารมีลักษณะเป็นผงผลึกสีขาวไม่มีกลิ่น มีประโยชน์ในการเป็นสารเพิ่มรสชาติอาหาร (Flavor Enhancer) ทำให้อาหารมีรสชาติโดยรวมดีขึ้น โดยช่วยเพิ่มรสชาติของรสชาติพื้นฐาน 4 รสที่เรารู้จักกันดีคือ รสหวาน รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสขม ให้เด่นชัดมากขึ้น ในการศึกษาทางเภสัชวิทยาเกี่ยวกับรสชาติพบว่าผงชูรสสามารถกระตุ้น Glutamate Receptor แล้วทำให้เกิดรสชาติเฉพาะตัวที่เรียกว่ารสอูมามิ (Umami) ซึ่งเป็นรสที่ 5 ที่มนุษย์สามารถรับรู้ได้และมีเอกลักษณ์แตกต่างจากรสชาติพื้นฐานทั้ง 4 |
bear | หมี, กำเนิด, อดทน, รับรู้, เเบกของ Image: |
come out of the closet | การเปิดเผยต่อสาธารณะว่าเป็นรักร่วมเพศ, การเปิดเผยความลับหรือเรื่องที่มีคนรู้เพียงไม่กี่คน ให้สาธารณขนได้รับรู้, See also: come out, A. disclose, let on, divulge, expose, give away, let out, reveal, Syn. out |
get the message | รับรู้หรือมองเห็นสาระสำคัญ |
image schema | ภาพร่าง -- เป็นความเข้าใจพื้นฐานที่เราสร้างขึ้นจากประสบการณ์การรับรู้ที่ผ่านมา |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
party to | (adj) มีส่วน (รับรู้, เกี่ยวข้อง)...., , Syn. ้having knowledge of |
self-aesthesis | (n) การรับรู้ด้วยตัวเองว่าเหมือนจริงทั้งที่ไม่ใช่ความจริง sensuous perception |
track record | ภาพรวมของผลงานที่ผ่านมาซึ่งเป็นที่รับรู้ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
感度 | [かんど, kando] (n) การรับรู้ต่อสิ่งที่มากระทบ ความสามารถในการรับรู้ |
Longdo Approved DE-TH
Bescheid wissen | รู้, รับรู้, รู้ข่าว เช่น Hast du über den Ausflug schon Bescheid gewußt? |
spüren | (vi, vt) |spürte, hat gespürt| รู้สึกถึง, รับความรู้สึก, รับรู้ เช่น Du sollst spüren, daß sie immer für dich da ist. นายควรรับรู้ไว้ว่าเธออยู่ตรงนี้เสมอสำหรับนาย (สังเกตความแตกต่างระหว่าง spüren และ fühlen โดยมาก fühlen ใช้บ่งความรู้สึกทางร่างกาย เช่น Ich fühle mich schlecht.ซึ่งจะไม่พูดว่า Ich spüre schlecht. ), See also: Related: fühlen |
Unglück | (n) |das, nur Sg.| ความโชคร้าย หรือ ไม่มีดวง, อุบัติเหตุ, โศกนาฏกรรม ตัวอย่างการใช้คำ 1° Bei diesem Unglück sind 13 Schüler aus Stuttgart gestorben. = ในโศกนาฏกรรม ครั้งนี้ ทำให้นักเรียนจากเมืองชตุ๊ดการ์ด, เยอรมนี ได้เสียชีวิตลง 13 คน 2° Busunglück = อุบัติเหตุโดยรถโดยสารประจำทาง ( ร้ายแรงกว่า Autounfall หน่อย เพราะจำนวนผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตมีจำนวนมากกว่า ) 3° Das bringt mir Unglück! = ผม ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ( Unglück นิยมพูด โดยละ Artikel, das ) 4° Unglücklicherweise, daß ich deine Geschichte erfahren habe! = ช่างโชคร้าย อะไรเช่นนี้ ที่ผมต้องมารับรู้ เรื่องราวของคุณอย่างนี้นะ! ), See also: die Katastrophe, das Pech, Syn. der Unfall |
wahrnehmen | (vt) |nimmt wahr, nahm wahr, hat wahrgenommen| รับรู้, ตระหนักรู้ เช่น Sicherheitsrichtlinien werden oft nicht wahrgenommen. มาตรการเพื่อความปลอดภัยมักจะไม่เป็นที่ตระหนักของผู้คน |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Wahrnehmung { f } | (n) การรับรู้ |
Longdo Approved FR-TH
apprendre | (vt) เรียน, เรียนรู้, รับทราบ เช่น 1° apprendre à nager = เรียนว่ายน้ำ 2° apprendre que... = รับรู้ว่า..., Syn. étudier, métier |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0297 seconds, cache age: 1.529 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม