386 ผลลัพธ์ สำหรับ *รัฐบาล*
ภาษา
หรือค้นหา: รัฐบาล, -รัฐบาล-Longdo Unapproved JP - JP
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
รัฐบาล | (n) government, Example: คนทั้งสองประท้วงรัฐบาลมาตั้งแต่ก่อนหน้านักศึกษาจะเคลื่อนไหวเรียกร้องประชาธิปไตยเสียอีก, Count Unit: ชุด, Thai Definition: องค์กรที่ใช้อำนาจบริหารในการปกครองประเทศ |
ทุนรัฐบาล | (n) government scholarship |
ภาครัฐบาล | (n) government sector, Syn. ภาครัฐ, Ant. ภาคเอกชน, Example: การใช้คอมพิวเตอร์ในภาครัฐบาลขยายตัวมากขึ้น ซึ่งมีผลทำให้วิธีการดำเนินงานเปลี่ยนแปลงไป |
รัฐบาลผสม | (n) coalition government, Example: รัฐบาลชุดปัจจุบันเป็นรัฐบาลผสมระหว่างพรรคการเมืองต่างๆ ถึง 6 พรรค, Thai Definition: รัฐบาลที่ตั้งขึ้นจากสมาชิกของพรรคการเมืองหลายพรรครวมกัน |
ฝ่ายรัฐบาล | (n) government party, See also: government sector, Example: ในช่วงหลายสิบปีมานี้มีแรงผลักดันจากฝ่ายรัฐบาลที่จะลดอิทธิพลส่วนตัวของพ่อค้านักธุรกิจลง, Count Unit: ฝ่าย, Thai Definition: สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล |
รัฐบาลหุ่น | (n) puppet government, Example: คุณอานันท์ ก็เคยตำหนิคุณธานินทร์ กรัยวิเชียร ไปแล้ว ว่าเป็นรัฐบาลหุ่นให้เขาเชิดอะไรทำนองนั้น |
ผู้นำรัฐบาล | (n) government leader, See also: head of government, Example: สื่อมวลชนในประเทศไทยมีเสรีภาพในการวิพากษ์วิจารณ์นักการเมือง ผู้นำรัฐบาล หรือบุคคลสาธารณะอื่นๆ ภายใต้ทฤษฎีเสรีนิยม, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่มีอำนาจมากที่สุดในรัฐบาล |
ทำเนียบรัฐบาล | (n) Government House, Example: นายกรัฐมนตรีได้สั่งให้มีการสัมมนาใหญ่ ที่ตึกสันติไมตรีในทำเนียบรัฐบาล |
ลูกจ้างรัฐบาล | (n) government employee |
องค์การรัฐบาล | (n) government organization, Example: ชุมชนจำต้องมีองค์การรัฐบาลซึ่งทำหน้าที่บริหารกิจการของส่วนรวม |
พรรคร่วมรัฐบาล | (n) coalition government parties, Ant. พรรคฝ่ายค้าน, Example: พรรคกิจสังคมไม่ขอร่วมเป็นพรรคร่วมรัฐบาลกับพรรคประชาธิปัตย์, Thai Definition: พรรคการเมืองที่ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล หรือพรรคการเมืองที่ได้รับเชิญให้เข้าร่วมเป็นรัฐบาล เพื่อที่จะทำให้เสียงของฝ่ายรัฐบาลกลายเป็นเสียงข้างมาก พอที่จะทำให้การดำเนินงานในรัฐสภา มีเสถียรภาพ และมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น |
พันธบัตรรัฐบาล | (n) government bond, Example: รัฐบาลได้นำเอาเงินกองทุนประกันสังคมไปซื้อพันธบัตรรัฐบาล และนำเงินที่เหลือไปฝากไว้กับธนาคารเพื่อกินดอกเบี้ย, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: พันธบัตรของรัฐบาล ซึ่งรัฐบาลขายให้กับประชาชน และสัญญาว่าจะใช้เงินคืนพร้อมกับดอกเบี้ย |
รัฐบาลท้องถิ่น | (n) local government, See also: local authorities, Example: การจัดเก็บภาษีจะแบ่งเป็นหลายส่วน โดยให้ทั้งรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่น แทนที่จะให้แต่รัฐบาลกลางแต่อย่างเดียว |
โรงเรียนรัฐบาล | (n) government school, Ant. โรงเรียนราษฎร์, โรงเรียนเอกชน, Count Unit: โรง, แห่ง, Thai Definition: โรงเรียนที่กระทรวงศึกษาธิการตั้ง และดำรงอยู่ได้ด้วยเงินงบประมาณของกระทรวงศึกษาธิการ |
สลากกินแบ่งรัฐบาล | (n) lottery, Syn. ลอตเตอรี่, หวยรัฐบาล, Count Unit: ฉบับ, ใบ |
สลากกินแบ่งรัฐบาล | (n) lottery, See also: sweepstake, Syn. สลากกินแบ่ง, ลอตเตอรี่, หวยรัฐบาล, Example: เขาอยากจะถูกสลากกินแบ่งรัฐบาลรางวัลที่หนึ่ง เพื่อเอาเงินมาใช้หนี้ที่ทำไว้, Count Unit: ฉบับ, ใบ, Thai Definition: สลากที่จำหน่ายแก่ผู้ถือ เพื่อรับรางวัลในการเสี่ยงโชค โดยผู้จำหน่ายชักส่วนลดเป็นกำไร |
สำนักสลากกินแบ่งรัฐบาล | (n) The Government Lottery Office |
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล | (n) Government Lottery Office |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
รัฐบาล | (รัดถะบาน) น. องค์กรปกครองประเทศ, คณะบุคคลที่ใช้อำนาจบริหารในการปกครองประเทศ. |
กงสุล | น. ชื่อตำแหน่งของบุคคลซึ่งรัฐบาลของประเทศหนึ่งแต่งตั้งให้เป็นผู้แทนประจำอยู่ในเมืองต่าง ๆ ของอีกประเทศหนึ่ง เพื่อทำหน้าที่ช่วยเหลือคนชาติของตนและดูแลผลประโยชน์ทั่วไปของประเทศของตน. |
กรุง | (กฺรุง) น. เมืองหลวง, เมืองซึ่งเป็นที่ตั้งรัฐบาลกลาง, แต่ก่อนหมายถึงประเทศก็ได้ เช่น กรุงสยาม กรุงจีน |
ก่อการร้าย | น. เป็นฐานความผิดอาญา ที่ผู้กระทำก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงต่อบุคคล ต่อทรัพย์สินอันเป็นสาธารณะ หรือต่อทรัพย์สินของรัฐหนึ่งรัฐใด หรือของบุคคลใดหรือต่อสิ่งแวดล้อมอันก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจอย่างสำคัญ โดยผู้กระทำมุ่งหมายเพื่อขู่เข็ญหรือบังคับรัฐบาลไทย รัฐบาลต่างประเทศ หรือองค์การระหว่างประเทศ ให้กระทำหรือไม่กระทำการใดอันจะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรง หรือเพื่อสร้างความปั่นป่วนโดยให้เกิดความหวาดกลัวในหมู่ประชาชน แต่ทั้งนี้ไม่รวมถึงการใช้เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ. |
กองทุนประกันสังคม | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสำนักงานประกันสังคม เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายให้ผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทน กองทุนนี้มีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสมทบจากรัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตน. |
การคลัง | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการเงินแผ่นดิน ภาษีอากร การรัษฎากร กิจการเกี่ยวกับที่ราชพัสดุ กิจการอันกฎหมายบัญญัติให้เป็นการผูกขาดของรัฐ กิจการหารายได้ ซึ่งรัฐมีอำนาจดำเนินการได้แต่ผู้เดียวตามกฎหมาย และไม่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรมอื่น และกิจการซึ่งจะเป็นสัญญาผูกพันต่อเมื่อรัฐบาลได้ให้อำนาจหรือให้สัตยาบัน รวมทั้งการคํ้าประกันหนี้ของส่วนราชการ องค์การของรัฐ สถาบันการเงิน และรัฐวิสาหกิจ. |
แกนนำ | ผู้ที่เป็นหลักในการเจรจาเพื่อดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น พรรคที่ได้คะแนนเสียงข้างมากเป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล. |
ขานรับ | ก. ออกเสียงตอบ เช่น พอครูเรียกชื่อ นักเรียนก็ขานรับ, ตอบรับ เช่น หน่วยราชการขานรับนโยบายของรัฐบาล. |
โครงการตามพระราชประสงค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชประสงค์ให้เกิดขึ้น โดยทรงศึกษาทดลองปฏิบัติด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ เมื่อทรงศึกษาหารือผู้เชี่ยวชาญและทดลองจนได้ผลสรุปที่ดี และทรงมั่นพระราชหฤทัยว่าเป็นประโยชน์แก่ประชาชนอย่างแท้จริง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้รัฐบาลหรือผู้สนใจรับไปดำเนินงานต่อ แบ่งเป็นโครงการทดลองในเขตพระราชฐาน และโครงการทดลองนอกเขตพระราชฐาน. |
เงินคงคลัง | น. บรรดารายได้ที่รัฐบาลได้รับมาและยังไม่ได้จ่ายออกไป. |
เจ้าภาษี | น. ผู้ผูกขาดตัดตอนจากรัฐบาลไปเรียกเก็บภาษีบางอย่างจากราษฎร. |
โจทย์ | (โจด) น. คำถามในวิชาคณิตศาสตร์, โดยปริยายใช้หมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหานี้เป็นโจทย์ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก. |
ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. |
ตรงกันข้าม, ตรงข้าม | คนละฝ่ายคนละพวก เช่น ฝ่ายค้านอยู่ตรงกันข้ามกับฝ่ายรัฐบาล |
ตั๋วเงินคลัง | น. ตั๋วเงินซึ่งออกโดยกระทรวงการคลัง เพื่อเป็นหลักฐานการกู้เงินระยะสั้นของรัฐบาล. |
ทำเนียบ ๑ | น. ที่พักทางราชการของผู้มีตำแหน่งสูง เช่น ทำเนียบผู้สำเร็จราชการ, ที่ทำการของคณะรัฐบาล เรียกว่า ทำเนียบรัฐบาล. |
ธนาคารออมสิน | น. ธนาคารที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้นเพื่อรับฝากเงินออมสินเป็นสำคัญ. |
นิตยภัต | น. อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายภิกษุสามเณรเป็นนิตย์, เงินงบประมาณแผ่นดินที่สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเป็นประจำทุกปี เพื่อเบิกจ่ายถวายอุดหนุนอุปถัมภ์แก่พระภิกษุผู้ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ พระสังฆาธิการ พระเลขานุการ พระเปรียญธรรม ๙ ประโยค เป็นต้น. |
บาล | ก. เลี้ยง, รักษา, คุ้มครอง, ปกครอง, เช่น บาลเมือง, โดยมากใช้เป็นคำหลังสมาส เช่น โลกบาล รัฐบาล นครบาล โคบาล นิรยบาล. |
ประชุมสุดยอด | น. การประชุมระหว่างประเทศของเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารระดับสูงของรัฐบาล. |
ผู้ก่อการร้าย | น. บุคคลที่ตั้งตนเป็นปฏิปักษ์ต่อรัฐบาลและพยายามก่อความไม่สงบขึ้นในที่ต่าง ๆ. |
ผูกพัน | ก่อหนี้สินผูกมัดรัฐบาลให้ต้องจ่ายในงบประมาณแผ่นดินต่อ ๆ ไป เช่น หนี้ผูกพัน งบประมาณผูกพัน รายจ่ายผูกพัน. |
ฝ่ายค้าน | น. ฝ่ายที่แสดงความเห็นโต้แย้งความเห็นของฝ่ายเสนอในการโต้วาที, ตรงข้ามกับ ฝ่ายเสนอ, สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคที่ไม่ได้ร่วมเป็นรัฐบาล ซึ่งทำหน้าที่ค้านรัฐบาลในรัฐสภา, โดยปริยายหมายถึง ผู้ที่มีความเห็นโต้แย้งกับผู้อื่น เช่น เรื่องนี้แม้ใครจะเห็นด้วยก็ตาม แต่ฉันขอเป็นฝ่ายค้าน. |
พลัดถิ่น | ว. อยู่ไกลจากถิ่นที่อยู่ของตน เช่น เรียกรัฐบาลที่ตั้งศูนย์บัญชาการอยู่นอกประเทศของตน ว่า รัฐบาลพลัดถิ่น. |
พันธบัตร | น. เอกสารหลักทรัพย์ชนิดหนึ่งที่ออกโดยรัฐบาลหรือนิติบุคคล แสดงการเป็นหนี้ระยะยาวที่กู้จากบุคคลทั่วไป. |
ภาค, ภาค- | (พาก, พากคะ-) น. ส่วน เช่น ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ, ฝ่าย เช่น ภาครัฐบาล ภาคเอกชน ภาคเหนือ ภาคใต้, บั้น, ตอน, เช่น หนังสือภูมิศาสตร์ภาคต้น หนังสือประวัติศาสตร์ภาคปลาย พงศาวดารภาค ๑, คราว เช่น การศึกษาภาคฤดูร้อน, ส่วนของประเทศที่แบ่งออกเป็นส่วนย่อยเพื่อสะดวกในด้านการปกครอง การศึกษา การทหาร เป็นต้น เช่น เจ้าคณะภาค แม่ทัพภาค. |
ภาษาราชการ | ภาษาที่รัฐบาลประกาศให้ใช้เป็นทางราชการ เช่น ประเทศไทยใช้ภาษาไทยเป็นภาษาราชการ ประเทศสิงคโปร์ใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาฮินดี และภาษามาเลย์ เป็นภาษาราชการ. |
เมืองหลวง | น. เมืองเป็นที่ตั้งรัฐบาล. |
รัฐประหาร | (รัดถะปฺระหาน, รัดปฺระหาน) น. การใช้กำลังเปลี่ยนแปลงคณะรัฐบาลโดยฉับพลัน. |
รัฐพิธี | น. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นโดยกราบบังคมทูลพระกรุณาให้ทรงรับไว้มีกำหนดการเป็นประจำ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธาน เช่นวันที่ระลึกสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช วันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหาเจษฎาราชเจ้า. |
รัฐมนตรี | (รัดถะมนตฺรี) น. ผู้เป็นสมาชิกของคณะรัฐมนตรีหรือคณะรัฐบาล รับผิดชอบร่วมกับคณะรัฐมนตรีในนโยบายทั่วไปของรัฐบาลในการบริหารราชการแผ่นดิน, ถ้าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงหรือทบวง ก็เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุดในกระทรวงหรือทบวงที่ตนว่าการ และรับผิดชอบในการบริหารราชการกระทรวงหรือทบวงนั้นด้วยอีกฐานะหนึ่ง |
รัฐวิสาหกิจ | (รัดถะวิสาหะกิด, รัดวิสาหะกิด) น. กิจการที่รัฐเป็นผู้ลงทุนหรือถือหุ้นข้างมาก, (กฎ) องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจซึ่งรัฐเป็นเจ้าของ หรือกิจการของรัฐ หรือบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ส่วนราชการ องค์การของรัฐบาลหรือหน่วยงานธุรกิจของรัฐมีทุนรวมอยู่ด้วยเกินกว่าร้อยละ ๕๐. |
รับซื้อ | ก. ตกลงซื้อ เช่น รัฐบาลรับซื้อข้าวจากชาวนา. |
รับราชการ | ก. เข้าทำงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน. |
ราชการ | น. การงานของรัฐบาลหรือของพระเจ้าแผ่นดิน. |
เรียก | กำหนดเอา, ร้องเอา, เช่น หมอเรียกค่ารักษาพยาบาล โจทก์เรียกค่าเสียหาย รัฐบาลเรียกเก็บภาษี |
เรียงเบอร์ | น. ใบตรวจสลากกินแบ่งรัฐบาลที่ถูกรางวัล เรียงตามลำดับหมายเลข. |
ลุกฮือ | อาการที่คนจำนวนมากลุกขึ้นพร้อม ๆ กันเพราะแตกตื่นชั่วขณะเป็นต้น เช่น พอเห็นตำรวจมาก็ลุกฮือ, อาการที่กลุ่มคนกลุ้มรุมกันเข้าต่อสู้กับผู้มีอำนาจ เช่น ประชาชนลุกฮือขึ้นต่อต้านรัฐบาลที่กดขี่ประชาชน. |
เลี้ยงต้อนรับ | ก. เลี้ยงอาหารเนื่องในการรับรองแขกหรือบุคคลใดบุคคลหนึ่ง เช่น รัฐบาลเลี้ยงต้อนรับแขกเมือง. |
สนอง | (สะหฺนอง) ก. ทำตามที่ได้รับคำสั่งหรือคำขอร้องเป็นต้น เช่น สนองโครงการในพระราชดำริ สนองนโยบายของรัฐบาล |
สมาพันธรัฐ | (สะมาพันทะ-) น. รัฐหลาย ๆ รัฐที่รวมกันเพื่อประโยชน์ร่วมกันบางอย่าง โดยมีข้อตกลงระหว่างกันให้มีรัฐบาลกลาง และให้มีอำนาจหน้าที่เฉพาะกิจการบางอย่างที่รัฐสมาชิกยินยอมมอบหมายให้เท่านั้น, ปัจจุบันไม่มีแล้ว. |
สโมสรสันนิบาต | น. งานที่รัฐบาลจัดขึ้นเพื่อเฉลิมฉลองในโอกาสสำคัญ เช่น งานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาลเนื่องในพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา. |
สลากกินรวบ | น. การพนันเสี่ยงโชคอย่างหนึ่งที่ผิดกฎหมาย เจ้ามือรับแทงตัวเลขซึ่งใช้ตัวเลขท้ายของรางวัลที่หนึ่งหรือรางวัลเลขท้ายสองตัว สามตัว ของสลากกินแบ่งรัฐบาลเป็นตัวเลขถูกรางวัล ถ้าผู้เล่นแทงถูก เจ้ามือจ่ายเงินให้ตามอัตราที่กำหนดไว้ เช่น เขาถูกสลากกินรวบกินจนหมดตัว, ภาษาปากว่า กินรวบ หวยใต้ดิน หรือหวยเถื่อน |
สหพันธรัฐ | น. รัฐหลายรัฐที่รวมกันเป็นรัฐรวม โดยมีรัฐบาลกลางเป็นผู้ดำเนินกิจการต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับประโยชน์ส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ แต่ละรัฐมีอำนาจเฉพาะกิจการภายในรัฐของตนเท่านั้น. |
สอดส่อง | ก. ตรวจดูทั่ว ๆ ไป, เอาใจใส่ดูแล, เช่น รัฐบาลที่ดีจะต้องสอดส่องดูแลทุกข์สุขของราษฎร. |
สันติสุข | น. ความสุขที่เกิดจากความสงบ เช่น รัฐบาลบริหารประเทศเพื่อสันติสุขของประชาชน. |
สันนิบาต ๑ | น. การประชุม, ที่ประชุม, เช่น สังฆสันนิบาต สันนิบาตชาติ, งานชุมนุม เช่น รัฐบาลจัดงานสโมสรสันนิบาตที่ทำเนียบรัฐบาล. |
เสถียรภาพ | (สะเถียนระ-) น. ความมั่นคง, ความคงตัว, ความไม่เปลี่ยนแปลง, เช่น เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจไม่ดีรัฐบาลก็ไม่มีเสถียรภาพ. |
เสียงสวรรค์ | น. เสียงของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที่รัฐบาลควรรับฟัง ในความว่า เสียงประชาชนคือเสียงสวรรค์. |
หนักอก | ว. ลำบากใจ เพราะต้องแบกภาระไว้มาก เช่น ปัญหาเศรษฐกิจตกต่ำเป็นปัญหาหนักอกของรัฐบาล, บางทีใช้เข้าคู่กับคำ หนักใจ เป็น หนักอกหนักใจ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
puppet government | รัฐบาลหุ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public school | ๑. โรงเรียนรัฐบาล๒. โรงเรียนราษฎร์ (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
power, resulting | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
power, express | อำนาจเฉพาะของรัฐบาลกลาง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
provisional government | รัฐบาลชั่วคราว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Leader of the House | ผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Leader of the House | ผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
responsible government | รัฐบาลที่รับผิดชอบ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
responsible government | รัฐบาลที่ต้องรับผิดชอบ (ต่อรัฐสภา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recognition | ๑. การรับรอง (รัฐ, รัฐบาลใหม่)๒. การอนุญาตให้อภิปราย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recognition | ๑. การรับรอง (รัฐ, รัฐบาลใหม่)๒. การยอมรับนับถือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resulting power | อำนาจของรัฐบาลกลางที่ได้มาโดยทางอื่น (นอกจากทางรัฐธรรมนูญ) (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
seditious libel | การโฆษณาปลุกปั่นเพื่อล้มล้างรัฐบาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
school, public | ๑. โรงเรียนรัฐบาล๒. โรงเรียนราษฎร์ (อังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sector, government | ภาครัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agreement, executive | ความตกลงระหว่างหัวหน้ารัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
administration | ๑. การบริหาร๒. ฝ่ายปกครอง๓. รัฐบาล (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bill, government | ร่างกฎหมายของรัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
bench, government | ที่นั่งฝ่ายรัฐบาล (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
military government | รัฐบาลทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
military government | รัฐบาลทหาร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
minority government | รัฐบาลเสียงข้างน้อย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
majority government | รัฐบาลเสียงข้างมาก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
caretaker government | รัฐบาลรักษาการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
concordat (Fr.) | ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
coalition government | รัฐบาลผสม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
concordat (Fr.) | ๑. ข้อตกลงประนอมหนี้ (ระหว่างลูกหนี้กับเจ้าหนี้) (ก. ฝรั่งเศส)๒. ความตกลงระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาล (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
crisis government | รัฐบาลยามวิกฤต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delegation | ๑. คณะผู้แทน (ของรัฐบาลหรือองค์การ) (ก. ระหว่างประเทศ)๒. การมอบอำนาจ (ก. แพ่ง)๓. การมอบหมายอำนาจ (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
delegate | ผู้แทน (ของรัฐบาลหรือองค์การ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
delegation | ๑. การมอบหมาย (อำนาจ)๒. คณะผู้แทน (ของรัฐบาลหรือองค์การ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government sector | ภาครัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, coalition | รัฐบาลผสม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, crisis | รัฐบาลยามวิกฤต [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, invisible | รัฐบาลกำบัง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government | ๑. การปกครอง๒. รัฐบาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
government bench | ที่นั่งฝ่ายรัฐบาล (ในรัฐสภาแบบอังกฤษ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government bill | ร่างกฎหมายของรัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government bill | ร่างกฎหมายของรัฐบาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
government employee | ลูกจ้างรัฐบาล [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
government in exile | รัฐบาลพลัดถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government in exile | รัฐบาลพลัดถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
government, military | รัฐบาลทหาร [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, national | รัฐบาลแห่งชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, provisional | รัฐบาลชั่วคราว [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government, world | รัฐบาลโลก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
government | ๑. การปกครอง๒. รัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
executive agreement | ความตกลงระหว่างหัวหน้ารัฐบาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
express power | อำนาจเฉพาะของรัฐบาลกลาง (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
exile, government in | รัฐบาลพลัดถิ่น [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Government publication | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Gilt-edged bond | พันธบัตรรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] |
Government contribution | เงินสมทบจากรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] |
Government regulation | ข้อบังคับของรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] |
Treasury bond | พันธบัตรรัฐบาล [เศรษฐศาสตร์] |
Cataloging of government publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Cataloging of government publications | การทำรายการสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading] |
Central-local government relations | ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกลางและส่วนท้องถิ่น [TU Subject Heading] |
Coalition governments | รัฐบาลผสม [TU Subject Heading] |
Documents libraries | ห้องสมุดสิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading] |
Federal aid to community development | ความช่วยเหลือของรัฐบาลกลางด้านการพัฒนาชุมชน [TU Subject Heading] |
Federal aid to eduction | ความช่วยเหลือของรัฐบาลกลางด้านการศึกษา [TU Subject Heading] |
Federal aid to research | ความช่วยเหลือของรัฐบาลกลางด้านการวิจัย [TU Subject Heading] |
Federal government | รัฐบาลกลาง [TU Subject Heading] |
Government consultants | ที่ปรึกษาของรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Government lending | การให้กู้ยืมของรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Government productivity | ผลงานรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Government publications | สิ่งพิมพ์รัฐบาล [TU Subject Heading] |
Government, Resistance to | การต่อต้านรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Governments in exile | รัฐบาลพลัดถิ่น [TU Subject Heading] |
Legitimacy of governments | ความชอบธรรมของรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Military government | รัฐบาลทหาร [TU Subject Heading] |
No confidence motions | อภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาล [TU Subject Heading] |
Public schools | โรงเรียนรัฐบาล [TU Subject Heading] |
ASEAN Cultural Fund | กองทุนวัฒนธรรมอาเซียน จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นกองทุนสนับสนุนการดำเนินกิจกรรม/โครงการความ ร่วมมือของอาเซียนทางด้านวัฒนธรรมและสนเทศ โดยในปี พ.ศ. 2521 รัฐบาลญี่ปุ่นได้บริจาคเงินจำนวน 5, 000 ล้านเยน หรือประมาณ 25 ล้านเหรียญสหรัฐ ให้แก่กองทุนฯ เพื่อนำดอกผลไปใช้ในการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรมความร่วมมือต่าง ๆ [การทูต] |
apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] |
Asia-Pacific Inter-Governmental Consultations on Refugees Displaced Persons and Migrants | กรอบการหารือระหว่างรัฐบาลในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิกว่าด้วย ผู้ลี้ภัย ผู้พลัดถิ่น และผู้โยกย้ายถิ่น [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
ASEAN Heads of State/Government Meeting | การประชุมสุดยอดอาเซียน เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาลอาเซียน ปัจจุบันมีการประชุมเป็นประจำทุกปี โดยประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
ASEAN-UN Summit | การประชุมผู้นำอาเซียน-สหประชาชาติ เป็นการประชุมระหว่างหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนกับเลขาธิการสห ประชาชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 ที่กรุงเทพฯ ในช่วงการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 [การทูต] |
Bureau de Cooperation pour le Francais | สำนักงานความร่วมมือด้านภาษาฝรั่งเศส ปัจจุบันมีความร่วมมือระหว่างรัฐบาลฝรั่งเศสกับรัฐบาล ไทยเพื่อดำเนินโครงการ BCF โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนภาษาฝรั่งเศส ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และอุดมศึกษา โดยรัฐบาลฝรั่งเศสให้ความร่วมมือด้านผู้เชี่ยวชาญ ทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรม เป็นต้น [การทูต] |
Berne Initiative | การหารือด้านการโยกย้ายถิ่นฐานระหว่างประเทศ ซึ่งริเริ่มโดยรัฐบาลสวิตเซอร์แลนด์ เมื่อปี พ.ศ. 2544 [การทูต] |
Commemorative Summit | การประชุมสุดยอดหรือการประชุมระดับผู้นำประเทศ/หัวหน้า รัฐบาลในโอกาสครบรอบปีสำคัญ อาทิ การสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน [การทูต] |
Commission on Human Rights | คณะกรรมาธิการว่าด้วยสิทธิมนุษยชน แต่งตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1946 ตามมติของคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติ มีหน้าที่รับผิดชอบในการเสนอข้อเสนอแนะและรายงานการสอบสวนต่าง ๆ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนไปยังสมัชชา (General Assembly) สหประชาชาติ โดยผ่านคณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะกรรมาธิการประกอบด้วยผู้แทนประเทศสมาชิก 53 ประเทศ ซึ่งได้รับเลือกตั้งให้ปฏิบัติหน้าที่ตามวาระ 3 ปี มีการประชุมกันทุกปี ปีละ 6 สัปดาห์ ณ นครเจนีวา และเมื่อไม่นานมานี้ คณะกรรมาธิการได้จัดตั้งกลไกเพื่อให้ทำหน้าที่สอบสวนเกี่ยวกับปัญหาสิทธิ มนุษยชนเฉพาะในบางประเทศ กลไกดังกล่าวประกอบด้วยคณะทำงาน (Working Groups) ต่าง ๆ รวมทั้งเจ้าหน้าที่พิเศษที่สหประชาชาติแต่งตั้งขึ้น (Rapporteurs) เพื่อให้ทำหน้าที่ศึกษาและสอบสวนประเด็นปัญหาสิทธิมนุษยชนโดยเฉพาะในบาง ประเทศมีเรื่องน่าสนใจคือ ใน ค.ศ. 1993 ได้มีการประชุมในระดับโลกขึ้นที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งแสดงถึงความพยายามของชุมชนโลก ที่จะส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นมูลฐานไม่ว่าที่ไหน ในระเบียบวาระของการประชุมดังกล่าว มีเรื่องอุปสรรคต่างๆ ที่เห็นว่ายังขัดขวางความคืบหน้าของการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชน รวมทั้งการหาหนทางที่จะเอาชนะอุปสรรคเหล่านั้น เรื่องความเกี่ยวพันกันระหว่างการพัฒนาลัทธิประชาธิปไตย และการให้สิทธิมนุษยชนทั่วโลก เรื่องการท้าทายต่างๆ ที่เกิดขึ้นใหม่ ซึ่งทำให้ไม่อาจปฏิบัติให้บรรลุผลอย่างสมบูรณ์ในด้านสิทธิมนุษยชน เรื่องการหาหนทางที่จะกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านสิทธิมนุษยชน และการที่จะส่งเสริมศักยภาพของสหประชาชาติในการดำเนินงานในเรื่องนี้ให้ได้ ผล ตลอดจนเรื่องการหาทุนรอนและทรัพยากรต่างๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานดังกล่าวในการประชุมระดับโลกครั้งนี้มีรัฐบาลของ ประเทศต่างๆ บรรดาองค์กรของสหประชาชาติ สถาบันต่างๆ ในระดับประเทศชาติ ตลอดจนองค์การที่มิใช่ของรัฐบาลเข้าร่วมรวม 841 แห่ง ซึ่งนับว่ามากเป็นประวัติการณ์ ช่วงสุดท้ายของการประชุมที่ประชุมได้พร้อมใจกันโดยมิต้องลงคะแนนเสียง (Consensus) ออกคำปฏิญญา (Declaration) แห่งกรุงเวียนนา ซึ่งมีประเทศต่าง ๆ รับรองรวม 171 ประเทศ ให้มีการปฏิบัติให้เป็นผลตามข้อเสนอแนะต่างๆ ของที่ประชุม เช่น ข้อเสนอแนะให้ตั้งข้าหลวงใหญ่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนหนึ่งตำแหน่งให้มีการรับ รู้และรับรองว่า ลัทธิประชาธิปไตยเป็นสิทธิมนุษยชนอันหนึ่ง ซี่งเป็นการเปิดโอกาสให้ลัทธิประชาธิปไตยได้รับการสนับสนุนส่งเสริมให้มั่น คงยิ่งขึ้น รวมทั้งกระชับหลักนิติธรรม (Rule of Law) นอกจากนี้ยังมีเรื่องการรับรองว่า การก่อการร้าย (Terrorism) เป็นการกระทำที่ถือว่ามุ่งทำลายสิทธิมนุษยชน ทั้งยังให้ความสนับสนุนมากขึ้นในนโยบายและแผนการที่จะกำจัดลัทธิการถือเชื้อ ชาติและเผ่าพันธุ์ การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเชื้อชาติ การเกลียดคนต่างชาติอย่างไร้เหตุผล และการขาดอหิงสา (Intolerance) เป็นต้นคำปฎิญญากรุงเวียนนายังชี้ให้เห็นการล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะอย่างยิ่งการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ (Genocide) และการข่มขืนชำเราอย่างเป็นระบบ (Systematic Rape) เป็นต้น [การทูต] |
Communiqué | คำประกาศทางการหรือแถลงการณ์ทางการ ซึ่งรายงานให้ทราบผลของการประชุม หรือการเจรจาเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ในรัฐบาล เช่น ประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ เอกอัครราชทูต หรือบุคคลอื่นในระดับนั้น คำแถลงการณ์ที่เรียกว่า Communiqué นี้ไม่มีรูปแบบโดยเฉพาะแต่อย่างใด โดยปกติอะไรที่ได้ตกลงกันไว้ในการเจรจาจะบรรจุไว้ด้วยถ้อยคำกว้างๆ ส่วนอะไรที่มิได้ระบุไว้ในแถลงการณ์มักจะมีความสำคัญยิ่งกว่าถ้อยคำที่เขียน ไว้เสียด้วย [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Corps Diplomatique หรือ Diplomatic Corps | คณะทูตานุทูตที่ประจำอยู่ในนครหลวง (Capital) ของประเทศ ซึ่งจะมีหัวหน้าคณะทูตพร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทางการทูตใน คณะทูต เจ้าหน้าที่ทางการทูตในคณะทูตนั้นจะประกอบไปด้วย อัครราชทูต (Minister) อัครราชทูตที่ปรึกษา (Minister Counselor) และที่ปรึกษา (Counselor) ซึ่งอาจจะมีคนเดียวหรือหลายคน นอกจากนี้ มีเลขานุการทางการทูตอีกหลายคน คือ เลขานุการเอก โท ตรี และตามปกติยังมีผู้ช่วยทูต (Attaché) อีกหลายคนซึ่งมีฐานะทางการทูต (Diplomatic status) คือผู้ช่วยทูตฝ่ายทหาร (บก เรือ และอากาศ) ผู้ช่วยทูตฝ่ายพาณิชย์ (Commercial Attaché) ผู้ช่วยทูตฝ่ายการแถลงข่าว (Press Attaché) และผู้ช่วยฝ่ายอื่น ๆ ซึ่งกระทรวงทบวงกรมของรัฐบาล (นอกจากกระทรวงการต่างประเทศ) เป็นฝ่ายแต่งตั้งข้าราชการของตนไปประจำในคณะทูต รวมทั้งเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ซึ่งมีฐานะทางการทูตด้วยในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูต (Head หรือ Dean of the Diplomatic Corps) จะได้แก่ผู้แทนทางการทูตอาวุโสที่ได้ประจำการอยู่ในประเทศนั้นเป็นเวลานาน ที่สุด ยกเว้นแต่ในบางประเทศ จะถือเอกอัครราชทูตผู้แทนองค์สมเด็จพระสันตะปาปา (Papal Nuncio) เป็นหัวหน้าคณะทูตานุทูตตลอดไป โดยไม่คำนึงถึงเรื่องอาวุโสแต่อย่างใด เช่น ฟิลิปปินส์ [การทูต] |
Credential หรือ Letter of Credence | เอกสารทางราชการที่ประมุขของประเทศเป็นผู้ลงนาม ในเอกสารนั้น ประมุขของประเทศจะกล่าวยกย่องตัวทูตต่อประมุขของรัฐที่ผู้ที่เป็นทูตไปประจำ อยู่ (รัฐผู้รับ) ภาษาที่ใช้ในเอกสารจะเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนหรูหรา และกล่าวถึงคุณสมบัติของทูตอย่างสูงส่ง แล้วลงท้ายด้วยการขอให้ความเชื่อถือแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทูตอาจจะกล่าวใน นามของรัฐบาลของตน [การทูต] |
Council for Security and Cooperation in the Asia-Pacific | ชมรมด้านความมั่นคงและความร่วมมือในเอเชียแปซิฟิก เป็นสถาบันเอกชนก่อตั้งขึ้นเมื่อ 8 มิถุนายน 2536 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยมีสถาบันศึกษาความมั่นคงและนานาชาติ (Institute of Security and International Studies : ISIS) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นสถาบันก่อตั้งร่วมกับสถาบันอื่น ๆ จากประเทศอาเซียนและประเทศในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก CSCAP เป็นกลไกที่ไม่ใช่เป็นทางการ เพื่อให้นักวิชาการ เจ้าหน้าที่รัฐบาลในฐานะส่วนตัวและบุคคลอื่นได้อภิปรายปัญหาทางการเมืองและ ความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Diplomatic Privilege of Accommodation | มาตรา 21 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตบัญญัติไว้ว่า ?1. รัฐผู้ต้อนรับจะต้องอำนวยความสะดวกตามบทกฎหมายของประเทศของตน ในการจัดการให้ได้มาซึ่งดินแดนของตนให้แก่รัฐผู้ส่ง ซึ่งจำเป็นแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่ของรัฐนั้น หรือช่วยเหลือให้รัฐผู้ส่งได้รับอาคารที่พำนักด้วยวิธีการหนึ่งใด 2. ในกรณีจำเป็น รัฐผู้รับจะต้องช่วยให้คณะเจ้าหน้าที่ทางการทูต ได้มีสถานที่อยู่อาศัยอย่างเหมาะสม?เมื่อตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่ง ตั้งได้เดินทางไปถึงประเทศที่เขาจะเข้าดำรงตำแหน่ง ซึ่ง ณ ที่นั้นมีคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลของเขาประจำทำงานอยู่แล้ว ตามปกติตัวแทนทูตดังกล่าวจะมีสำนักงานทางการทูตตั้งอยู่แล้วในสถานที่เหมาะ สม มีอุปกรณ์เครื่องใช้ไม้สอยสำหรับการปฏิบัติงานโดยครบครัน และผู้ที่ดำรงตำแหน่งก่อนหน้าเขาหรืออุปทูตชั่วคราวมักจะเตรียมการไว้ก่อน แล้วเกี่ยวกับที่พักอาศัย เรียกว่าทำเนียบ นอกจากว่าจะมีทำเนียบตั้งอยู่ภายในบริเวณตึกสถานเอกอัครราชทูตซึ่งรัฐบาลของ เขาเป็นเจ้าของเองแต่ถ้าหากตัวแทนทางการทูตที่เพิ่งได้รับแต่งตั้งใหม่ จะต้องตั้งคณะผู้แทนทางการทูตในประเทศที่เขาเข้าดำรงตำแหน่งเป็นครั้งแรก ก็จะต้องประสบกับปัญหาเรื่องหาสถานที่สำหรับใช้เป็นที่ตั้งสถานเอกอัคร ราชทูตขึ้น ในกรณีเช่นนี้จึงจำเป็นจะต้องอาศัยคำแนะนำและความช่วยเหลือจากกระทรวงการ ต่างประเทศของรัฐผู้รับ กระทรวงการต่างประเทศของบางประเทศจะมีแผนกหนึ่งทำหน้าที่ให้ความช่วยเหลือ และอำนวยความสะดวกแก่คณะทูตต่างประเทศโดยเฉพาะ เป็นแผนกหนึ่งในกรมพิธีการทูต ซึ่งมีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับเรื่องทำนองนี้อยู่แล้ว [การทูต] |
Diplomatic Privileges and Immunities | เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูต เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตที่ได้ให้แก่เจ้า หน้าที่ทางการทูต โดยถือว่าบุคคลดังกล่าวเป็นผู้แทนส่วนตัวของประมุขของรัฐ เหตุผลที่ให้มีการคุ้มกันทางการทูต ก็เพราะถือว่ารัฐบาลหนึ่งใดก็ตามจะถูกกีดกันขัดขวางด้วยการจับกุม หรือกีดกันมิให้ผู้แทนของรัฐบาลนั้นปฏิบัติหน้าที่ในความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นมิได้ ถ้าหากเห็นว่าผู้แทนนั้นมีพฤติกรรมหรือพฤติการณ์ที่ก้าวร้าวซึ่งรัฐผู้รับ ไม่อาจรับได้ก็ชอบที่รัฐผู้รับจะขอร้องให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวผู้แทนของตนกลับ ประเทศได้ อนึ่ง การที่สถานเอกอัครราชทูตได้รับความคุ้มกันจากอำนาจศาลของรัฐผู้รับ เพราะต้องการให้บรรดาผู้แทนทางการทูตเหล่านั้น รวมทั้งบุคคลในครอบครัวของเขาได้มีโอกาสมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการปฏิบัติหน้าที่เป็นตัวแทนผลประโยชน์ของประเทศของเขาอนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตมีบทบัญญัตินิยามคำว่า เอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางการทูตในเรื่องต่างๆ ไว้มากพอสมควร เช่น เรื่องสถานที่ของคณะผู้แทนทางการทูต รวมทั้งบรรณสารและเอกสาร เรื่องการอำนวยความสะดวกให้แก่การปฏิบัติงานของคณะผู้แทน และเสรีภาพในการเคลื่อนย้ายรวมทั้งการคมนาคมติดต่อ เป็นต้น [การทูต] |
East Asia Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก จัดตั้งขึ้นตามข้อเสนอของประธานาธิบดีคิม แด จุง แห่งสาธารณรัฐเกาหลี ในระหว่างการประชุมหัวหน้ารัฐบาลอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธารณรัฐเกาหลี ที่กรุงฮานอย เมื่อเดือนธันวาคม 2541 เพื่อเป็นเวทีระดมความคิดและแสวงหาแนวทางขยายความร่วมมือระหว่างกันในทุก ด้านและทุกระดับเพื่อมุ่งแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจและพัฒนาภูมิภาคนี้อย่างต่อเนื่อง [การทูต] |
Excellency | เป็นคำแสดงตำแหน่งที่ใช้เรียกตัวเอกอัครราชทูต ทั้งโดยวาจาและโดยลายลักษณ์อักษร เป็นคำที่เริ่มใช้กันตั้งแต่สมัยทำสนธิสัญญาเวสต์ฟาเลีย (Treaty of Westphalia) เมื่อ ค.ศ. 1648 และได้นำมาใช้ทั่วทวีปยุโรปหลังจากการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนา (ค.ศ. 1815) แต่ถ้าบังเอิญเอกอัครราชทูตของประเทศหนึ่งใดเป็นบุคคลเชื้อพระวงศ์ แทนที่จะเรียกเอกอัครราชทูตผู้นั้นด้วยคำว่า Excellency ก็ให้เรียกด้วยคำว่า ?Royal Highness? แทนแต่เดิมคำ ?Excellency? ซึ่งเป็นคำเติมหน้าชื่อแสดงตำแหน่งนี้ใช้เรียกเฉพาะตัวเอกอัครราชทูตเท่า นั้น แต่ในทางปฏิบัติ ทุกวันนี้ได้นิยมใช้เรียกตัวอัครราชทูต (Ministers) เช่นกัน ส่วนภริยาของเอกอัครราชทูตนั้นก็ได้รับการยกย่องโดยใช้คำ Excellency ด้วย แต่สำหรับเอกอัครราชทูตที่เป็นสตรี สามีของเธอจะไม่ได้รับเรียกเช่นนั้น นอกจากนั้น คำแสดงตำแหน่งนี้ยังใช้กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ และมีหลายประเทศได้นำไปใช้เรียกประมุขของรัฐบาลหรือรัฐมนตรีด้วย แต่การปฏิบัติดังนี้ย่อมแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ส่วนเลขาธิการสหประชาชาตินั้น ใช้เรียกกันเป็นทางการว่า Excellency และสำหรับกรณีที่ไม่เป็นทางการก็เรียกว่า Mr. Secretary-General [การทูต] |
Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บริษัทของรัฐบาล | [børisat khøng ratthabān] (n, exp) EN: state-owned company |
เดินขบวนประท้วงรัฐบาล | [doēnkhabūan prathūang ratthabān] (v, exp) EN: march in protest against the government |
ฟอร์มรัฐบาล | [føm ratthabān] (v, exp) EN: form a cabinet FR: former un gouvernement |
หัวหน้ารัฐบาล | [hūanā ratthabān] (n, exp) FR: chef de gouvernement [ m ] |
การปรับปรุงคณะรัฐบาล | [kān prapprung khana ratthabān] (n, exp) EN: reshuffle of a cabinet FR: remaniement ministériel [ m ] |
ข้อศอกรัฐบาล | [khøsøk ratthabān] (n, exp) EN: government spokesman FR: porte-parole du gouvernement [ m, f ] |
เกี่ยวกับรัฐบาล | [kīokap ratthabān] (adj) EN: public |
ลูกจ้างรัฐบาล | [lūkjāng ratthabān] (n, exp) EN: government employee |
ภาครัฐบาล | [phāk ratthabān] (n, exp) EN: public sector ; government sector |
พรรครัฐบาลผสม | [phak ratthabān phasom] (n, exp) EN: coalition partner FR: parti de la coalition [ m ] ; partenaire de la coalition [ m ] |
พันธบัตรรัฐบาล | [phanthabat ratthabān] (n, exp) EN: government bond ; treasury bond FR: obligation du gouvernement [ f ] |
รัฐบาล | [ratthabān] (n) EN: government ; administration (Am.) FR: gouvernement [ m ] |
รัฐบาลชั่วคราว | [ratthabān chūakhrāo] (n, exp) EN: provisional government FR: gouvernement provisoire [ m ] |
รัฐบาลชุดใหม่ | [ratthabān chut mai] (n, exp) FR: nouveau gouvernement [ m ] ; prochain gouvernement [ m ] |
รัฐบาลชุดนี้ | [ratthabān chut nī] (n, exp) EN: this government FR: ce gouvernement |
รัฐบาลแห่งชาติ | [ratthabān haeng chāt] (n, exp) EN: State Government FR: gouvernement national [ m ] ; gouvernement d'Etat [ m ] ; gouvernement fédéral [ m ] |
รัฐบาลจีน | [ratthabān Jīn] (n, exp) EN: Chinese Government FR: gouvernement chinois [ m ] |
รัฐบาลกลาง | [ratthabān klāng] (n, exp) EN: central government ; federal government FR: gouvernement central [ m ] ; gouvernement fédéral [ m ] |
รัฐบาลหลายพรรค | [ratthabān lāi phak] (n, exp) EN: coalition government FR: gouvernement de coalition [ m ] |
รัฐบาลเงา | [ratthabān ngao] (n, exp) EN: shadow cabinet FR: cabinet fantôme [ m ] |
รัฐบาลพรรคเดียว | [ratthabān phak dīo] (n, exp) EN: single party government |
รัฐบาลผสม | [ratthabān phasom] (n, exp) EN: coalition government FR: gouvernement de coalition [ m ] |
รัฐบาลรักษาการ | [ratthabān raksākān] (n, exp) EN: caretaker government ; interim government FR: gouvernement intérimaire [ m ] ; gouvernement de transition [ m ] ; gouvernement qui expédie les affaires courantes [ m ] |
รัฐบาลทหาร | [ratthabān thahān] (n, exp) EN: military government FR: gouvernement militaire [ m ] |
โรงเรียนรัฐบาล | [rōngrīen ratthabān] (n, exp) EN: government school FR: école officielle [ f ] ; école de l'État [ f ] |
สลากกินแบ่งรัฐบาล | [salākkinbaeng ratthabān] (n, exp) EN: lottery ; sweepstake FR: loterie nationale [ f ] |
ตั้งรัฐบาล | [tang ratthabān] (v, exp) EN: form a government FR: former un gouvernement |
แถลงนโยบายรัฐบาล | [thalaēng nayōbāi ratthabān] (n, exp) EN: government's policy statements ; policy statement ; policy speech FR: déclaration de politique gouvernementale [ f ] |
ทำเนียบรัฐบาล | [thamnīep ratthabān] (n, exp) EN: government house ; government's official residence FR: résidence officielle du gouvernement [ f ] |
ทำเนียบรัฐบาล | [Thamnīep Ratthabān] (n, prop) EN: Royal Thai Government House ; Government House |
ทุนจากรัฐบาล | [thun jāk ratthabān] (n, exp) EN: public funds |
Longdo Approved EN-TH
government in exile | (n) รัฐบาลพลัดถิ่น |
public sector | (n) ภาครัฐบาล |
on the breadline | ในสถานการณ์ที่ยากจนมาก (สำนวนนี้มีที่มาจากการเข้าแถวรอรับขนมปังจากรัฐบาลในสมัยก่อน) เช่น She has been forced to live on the breadline for failing to sign Child Support Agency forms. |
public education | (n) ระบบการศึกษาของรัฐ ที่ถูกกำหนดขึ้นโดยรัฐบาลและใช้เงินภาษีช่วยสนับสนุน เช่น โรงเรียนภายใต้การดูแลของรัฐ หรือโรงเรียนรัฐ ถูกเรียกว่า public school (ขณะที่ในอังกฤษ public school คือโรงเรียนอิสระที่ได้รับความช่วยเหลือทางการเงินจากการบริจาคเพื่อให้คนยากจนได้เรียน) |
pork-barrel | (n) การแบ่งสรรปันส่วน(ผลประโยชน์)ในรัฐบาลด้วยเหตุผลทางการเมือง เช่น The pork barrel was to become as central to our national political culture. |
payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
admiralty | (n) หน่วยงานด้านกองทัพเรือของรัฐบาลอังกฤษ |
anarchism | (n) ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล |
anarchy | (n) อนาธิปไตย, See also: ภาวะที่ไม่มีรัฐบาล, Syn. absence of government, political nihilism |
blacklist | (n) รายชื่อผู้ที่รัฐบาลไม่ยอมรับหรือต้องถูกหลีกเลี่ยง |
caretaker government | (n) รัฐบาลชั่วคราวที่ตั้งขึ้นเพื่อรอการเลือกตั้งครั้งใหม่ |
central government | (n) รัฐบาลของประเทศ |
coalition | (n) รัฐบาลผสม, See also: รัฐบาลร่วม |
departmental | (adj) เกี่ยวกับแผนก, See also: เกี่ยวกับกรม, เกี่ยวกับหน่วยงานของรัฐบาลหรือองค์กร |
dictatorship | (n) รัฐบาลที่ปกครองแบบเผด็จการ |
dole | (n) เงินที่รัฐบาลแจกให้คนว่างงานทุกๆ เดือน, See also: เงิน / อาหารที่ให้เพื่อการกุศล, ของบริจาค |
fed2 | (n) เจ้าหน้าที่ส่วนกลาง, See also: เจ้าหน้าที่รัฐบาล |
go on | (phrv) จ่ายโดยรัฐบาลเมื่อไม่สามารถทำงาน, See also: ได้รับการช่วยเหลือ |
giro cheque | (n) เช็คที่รัฐบาลโอนเงินผ่านระบบ giro เพื่อให้กับประชาชนผู้ยากไร้, Syn. giro |
government | (n) รัฐบาล, See also: คณะผู้ปกครอง, ฝ่ายปกครอง, ฝ่ายบริหาร |
government bond | (n) พันธบัตรรัฐบาล, Syn. bond |
Government House | (n) ทำเนียบรัฐบาล |
government official | (n) ข้าราชการ, See also: เจ้าหน้าที่ราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐบาล, Syn. commissioner |
government organization | (n) องค์การรัฐบาล |
government party | (n) พรรครัฐบาล |
government scholarship | (n) ทุนรัฐบาล |
governmental | (adj) แห่งการปกครอง, See also: ทางการ, ทางราชการ, เกี่ยวกับรัฐบาล |
government-in-exile | (n) รัฐบาลพลัดถิ่น |
insurgent | (n) กบฏ, See also: ผู้ก่อกบฏ, ผู้ต่อต้านรัฐบาล, ผู้ประท้วง, Syn. rebel, revolter |
insurgent | (adj) ซึ่งต่อต้านรัฐบาล, See also: ซึ่งก่อกบฏ, ซึ่งเป็นกบฏ, Syn. rebellious |
interregnum | (n) ช่วงเวลาที่ไร้ผู้ปกครองประเทศ, See also: ช่วงเวลาที่ไม่มีรัฐบาล, Syn. interval |
junket | (n) การท่องเที่ยวของคนในรัฐบาลที่ใช้เงินส่วนรวม (คำไม่เป็นทางการ) |
junta | (n) รัฐบาลทหารที่เข้ามาบริหารประเทศ |
Kremlin | (n) พระราชวังเครมลินในเมืองมอสโคว์ (เป็นที่ทำการของรัฐบาลรัสเซีย) |
land reform | (n) การปฏิรูปที่ดินของรัฐบาลเพื่อให้เกษตรกรมีที่ดินของตนเอง, See also: การปฏิรูปที่ดิน |
Medicaid | (n) โครงการประกันสุขภาพของรัฐบาล, Syn. Medicare |
Medicare | (n) โครงการประกันสุขภาพของรัฐบาล, Syn. Medicaid |
nationalise | (vt) กำกับดูแลโดยรัฐบาล |
nationalize | (vt) กำกับดูแลโดยรัฐบาล |
office-bearer | (n) เจ้าหน้าที่รัฐบาล, See also: ข้าราชการ, Syn. office-holder |
office-holder | (n) เจ้าหน้าที่รัฐบาล, Syn. office-bearer |
ombudsman | (n) ผู้ตรวจการของรัฐสภา, See also: ผู้ตรวจการที่ไม่ใช่ฝ่ายรัฐบาล |
political | (adj) เกี่ยวกับรัฐบาล, See also: เกี่ยวกับรัฐ |
press office | (n) สำนักงานข่าวของรัฐบาลหรือองค์กรใหญ่ๆ |
press officer | (n) ผู้ทำงานในสำนักข่าวรัฐบาล องค์กรใหญ่ๆ หรือพรรคการเมือง |
press secretary | (n) โฆษกรัฐบาล |
price control | (n) การควบคุมราคาสินค้าโดยรัฐบาล |
price support | (n) การพยุงราคาสินค้าโดยรัฐบาล |
public debt | (n) หนี้สินทั้งหมดของรัฐบาล |
public school | (n) โรงเรียนรัฐบาล |
quango | (n) องค์กรรัฐบาลที่ปฏิบัติงานอย่างอิสระ, See also: องค์กรอิสระ |
Big Brother | (sl) รัฐบาล (คำเปรียบเทียบ) |
Uncle Sugar | (sl) รัฐบาลสหรัฐอเมริกา |
savings bond | (n) พันธบัตรรัฐบาลมีค่า 50-10, 000 ดอลล่าร์ |
sedition | (n) การปลุกระดมฝูงชนให้ต่อต้านรัฐบาล, See also: การช่วยก่อความไม่สงบ, คำพูดปลุกระดม, การสนับสนุนพวกกบฏ, Syn. rebellion, revolt, revolution, agitation |
self-determination | (n) สิทธิของประชาชนในการเลือกรูปแบบการปกครองและรัฐบาลของตน, Syn. liberty, self-government |
Hope Dictionary
anarchism | (แอน' นะคิสซีม) n. ลัทธิที่เห็นว่าบ้านเมืองไม่ควรมีกฎหมายหรือรัฐบาล, ลัทธิไม่มีรัฐบาล, อนาธิปไตย |
anarchy | (แอน' นะคี) n. ภาวะอนาธิปไตย, ภาวะไม่มีรัฐบาล, ความสับสน, ภาวะไม่มีขื่อไม่มีแป. -anarchist n., -anarchic (al) adj. |
antigovernment | (แอนทีกัฟ' เวอเมินท) adj. ซึ่งต่อต้านรัฐบาล |
autarchy | (ออ' ทะคี) n. เอกาธิปไตย, รัฐบาลที่ปกครองแบบเอกาธิปไตย. -autarchic (al) adj. -autarchist n., Syn. absolute sovereignty |
brother jonathan | n. รัฐบาลของสหรัฐอเมริกา, ชาวอเมริกัน |
cabal | (คะแบล) { caballed, caballing, cabals } n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่วางแผนต่อต้านรัฐบาล, แผนร้าย vt. วางแผนต่อต้าน |
class a/class b | ชั้นเอ/ชั้นบีเป็นการกำหนดคุณภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ของคณะกรรมการคมนาคมของรัฐบาลกลางสหรัฐ (Federal Communications Commission) ที่ใช้กำหนดระดับของพลังงานไฟฟ้าแรงสูงที่จะใช้ในคอมพิวเตอร์ ถ้าเป็น Class A แปลว่า อนุญาตให้ใช้ในที่ทำงานได้ ถ้าเป็น Class B หมายความว่า ใช้ในที่ทำงานก็ได้ ที่บ้านก็ได้ (ถ้าหากนำคอมพิวเตอร์ Class A มาใช้ที่บ้านอาจไปรบกวนการรับวิทยุหรือภาพทางโทรทัศน์ของบ้านอื่น) |
coalition | (โคอะลิช'เชิน) n. การร่วมกัน, การร่วมมือกัน, สัมพันธมิตร, รัฐบาลผสม, การประสานกัน., See also: coalitionist, coalitoiner n., Syn. alliance |
common school | n. โรงเรียนรัฐบาลที่ไม่เก็บเงิน |
concordat | (คอนคอร์'แดท) n. ข้อตกลงเป็นทางการ, สัญญา, สนธิสัญญาระหว่างสันตะปาปากับรัฐบาลที่เกี่ยวกับเรื่องของสงฆ์, See also: concordatory adj., Syn. concord |
condominium | (คอนดะมิน'เนียม) n. การร่วมกันควบคุมหรือปกครอง, รัฐบาลร่วม, บ้านอพาร์ทเม้นท์ที่ผู้อยู่มีกรรมสิทธิส่วนตัวของแต่ละห้องอาพาร์เม้นท์, ตึกอพาร์ทเม้นท์ดังกล่าว -pl. -niums |
corsair | (คอร์'แซร์) n. เรือส่วนตัวที่ได้รับอนุญาตจากรัฐบาลให้ทำการจับกุมข้าศึกได้, โจรสลัด |
data encryption standards | มาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล |
des | 1. abbr. disequilibrium syndrome 2. (ดีอีเอส) ย่อมาจากคำ data encryption standards (แปลว่า มาตรฐานการเข้ารหัสลับข้อมูล) หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัสผ่าน (pass word) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล |
fascism | (แฟซ'ซิสซึม) n. ลัทธิชาตินิยมของรัฐบาลเผด็จการ มีลักษณะก้าวร้าวและแบ่งผิว |
fcc | (เอฟซีซี) ย่อมาจากคำว่า Federal Communication Commission (แปลว่า คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสาร) ซึ่งเป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ |
federal communication com | คณะกรรมการกลางกำกับดูแลกิจการสื่อสารใช้ตัวย่อว่า FCC (อ่านว่า เอฟซีซี) เป็นหน่วยงานของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ที่มีหน้าที่ควบคุมในเรื่องการสื่อสาร โดยเฉพาะการควบคุมสัญญาณความถี่ของคลื่นวิทยุ |
g-man | abbr. government-man (จี'แมน) n. เจ้าหน้าที่รัฐบาล |
gazette | (กะเซท') n. หนังสือพิมพ์, หนังสือราชกิจจานุเบิกษาของรัฐบาล, Syn. journal, newspaper, periodical |
government | (กัฟ'เวิร์เมินทฺ) n. รัฐบาล, การปกครอง, See also: governmental adj., Syn. order, rule control, Ant. anarchy, chaos |
government house | ทำเนียบรัฐบาล |
government issue | สิ่งที่จัดการหรือจัดทำให้โดยรัฐบาล (สหรัฐอเมริกา) |
government man | ข้าราชการ, เจ้าหน้าที่รัฐบาล |
government paper | พันธบัตรของรัฐบาล |
government security | หลักทรัพย์หรือพันธบัตรของรัฐบาล |
government-in-exile | รัฐบาลพลัดถิ่น |
gynecocracy | (จินนะคอด'ระซี) n. การปกครองโดยผู้หญิง, รัฐบาลที่ ปกครองโดยผู้หญิง., See also: gynecocrat n. gynecratic adj. |
impeachment | (อิมพีช' เมินทฺ) n. การกล่าวโทษ, การฟ้องร้อง, การกล่าวโทษเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหารชั้นสูงของรัฐบาลโดยสภาผู้แทนราษฎรต่อสภาสูง (senate) ของสหรัฐอเมริกา, การไม่เชื่อถือ, ภาวะที่ถูกกล่าวโทษดังกล่าว |
indian agent | เจ้าหน้าที่รัฐบาลสหรัฐอเมริกาที่มีหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องของอินเดีย |
junta | (จัน'ทะ) n. กลุ่มเล็ก ๆ ที่บริหารประเทศ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังการรัฐประหารและก่อนที่จะมีการจัดตั้งรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ) , สภาการเมือง, คณะกรรมการที่ตั้งขึ้นเอง, Syn. clique |
kremlin | (เครม'ลิน) n. ที่ทำการของรัฐบาลรัสเซียในกรุงมอสโก, ราชวังเครมลิน, รัฐบาลรัสเซีย |
laissez faire | (เลสเซแฟรฺ') n. ทฤษฎีที่ว่ารัฐบาลควรเข้ายุ่งเกี่ยวในเรื่องเศรษฐกิจให้น้อยที่สุด, ทฤษฎีการไม่ยุ่งเรื่องของผู้อื่น., See also: laissez-faire adj. ดูlaissez faire laisser-faire adj. ดูlaissez faire, Syn. laisser faire |
legislature | (เลจ'จิสเลเชอะ) n. สภานิติบัญญัติ, หน่วยนิติกรของรัฐบาล, Syn. congress |
passive resistance | n. การต่อต้านรัฐบาลหรือกฎหมายโดยการไม่ยอมร่วมมือหรือวิธีรุนแรงอื่น ๆ, See also: passive resister n. |
price support | n. การผดุงราคาสินค้าโดยรัฐบาล |
public school | n. (ในอเมริกา) โรงเรียนประ-ถมหรือโรงเรียนมัธยมของรัฐบาล, (ในอังกฤษ) โรงเรียนมัธยมกินนอน, See also: public-school adj. |
publicly | (พับ'ลิคลี) adv. ในที่สาธารณะ, โดยเปิดเผยแก่คนทั่วไป, ในนามของชุมชน, ต่อธารกำนัล, ต่อสาธารณชน, โดยรัฐบาล, โดยกลุ่มชน, Syn. generally, popularly |
regimen | (เรจ'จะเมน) n. กฎเกณฑ์, หลัก, กฎเกณฑ์ที่เคร่งครัดเกี่ยวกับการกิน การออกกำลังกายหรือกิจกรรมอื่น ๆ , การปกครอง, ระบบการเมือง, รัฐบาล, Syn. rule, government |
regiment | (เรจ'จะเมินทฺ) n. กรมทหาร, กองทหาร, รัฐบาล vt. จัดเป็นกรมหรือกองทหาร, บริหารอย่างเคร่งครัดโดยไม่เลือกหน้า, See also: regimentation n. |
resistance | (รีซิส'เทินซฺ) n. การต้าน, การต่อต้าน, การต้านทาน, ความทน, ความอดทน, See also: Resistance n. องค์การใต้ดินที่ต้องการโค่นล้มรัฐบาล, Syn. fight, withstand |
savings bond | n. พันธบัตรรัฐบาลที่มีเงินค่าสูงถึง $10, 000 |
sedition | (ซีดิช'เชิน) n. การปลุกปั่นให้ก่อความไม่สงบหรือก่อการกบฏ, การจราจล, การต่อต้านรัฐบาล, Syn. rebellion, mutiny, defiance |
toleration | (ทอล'เลอเร'เชิน) n. ความอดทน, ความทนทาน, การมีรัฐบาลยอมให้มีการนับถือศาสนาอื่นที่ไม่ใช่ศาสนาประจำชาติ., See also: tolerationism n. tolerationist n., Syn. tolerance |
whisker | (วิส'เคอะ) n. หนวดเครา, หนวด, หนวดแมวหนวดเสือ, ไม้ขนไก่, ผู้ปัด, ผู้กวาด, ผู้ที่เดินอย่างรวดเร็ว, คาง, แก้ม, ผู้อาวุโสรัฐบาลสหรัฐอเมริกา, See also: whiskery adj. |
white house | n. ทำเนียบประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกาในกรุงวอชิงตัน , รัฐบาลสหรัฐอเมริกา |
whitehall | (ไวทฺ'ฮอล) n. รัฐบาลอังกฤษ |
wild west | n. พรมแดนด้านตะวันตกของอเมริการะหว่างศตวรรษที่ 19 ก่อนที่จะมีรัฐบาลที่มั่นคงในเวลาต่อมา |
Nontri Dictionary
anarchy | (n) อนาธิปไตย, ลัทธิไม่มีรัฐบาล |
coalition | (n) การประสานกัน, การรวมกัน, การร่วมมือกัน, รัฐบาลผสม, สัมพันธมิตร |
government | (n) รัฐบาล, คณะปกครอง, การปกครอง, เขตปกครอง, การควบคุม |
governmental | (adj) เกี่ยวกับการปกครอง, ของรัฐบาล, เกี่ยวกับรัฐบาล |
public | (adj) สาธารณะ, ของประชาชน, เพื่อประชาชน, ของหลวง, ของรัฐบาล, โดยส่วนรวม |
regiment | (n) กรมทหาร, กองร้อย, กองทหาร, รัฐบาล |
sedition | (n) การปลุกระดมมวลชน, การปลุกปั่น, การต่อต้านรัฐบาล |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bailout | (n) สถานการณ์ที่ธุรกิจ บุคคลส่วนตัว หรือ รัฐบาลให้เงินช่วยเหลือแก่ธุรกิจที่ล้มเหลว เพื่อที่จะป้องกันผลลัพธ์ที่จะตามมาจากความหายนะของธุรกิจ การช่วยเหลือมีหลายรูปแบบ เช่น สินเชื่อ พันธบัตร หุ้น หรือ เงินสด ในเงื่อนไขที่จะคืนหรือไม่ก็ตาม |
Council of Ministers | "คณะมนตรีบริหาร" เป็นชื่อเรียกรัฐบาลระดับแคว้น รัฐ หรือภูมิภาค คำนี้ปรากฎในบางประเทศที่ใช้ระบอบการปกครองแบบสหพันธรัฐ หัวหน้าคณะมนตรีบริหารมักมีชื่อตำแหน่งว่า "มุขมนตรี" |
counterstate | (n) รัฐบาลเงา A counterstate [ or shadow government ] is a competing structure that a movement sets up to replace the government. It includes the administrative and bureaucratic trappings of political power and performs the normal functions of a government., Syn. shadow government |
Debsirin school | (n) โรงเรียนเทพศิรินทร์ เป็นโรงเรียนรัฐบาลสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ ๑๔๖๖ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดเทพศิรินทราวาส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร เป็นโรงเรียนชายล้วน โดยรัชกาลที่ 5 สร้างโรงเรียนขึ้นเพื่อลำรึกถึงสมเด็จพระเทพศิรินทร์ทราบรมราชินี (พระมารดา) |
Electronic Government Agency (Public Organization) | (abbrev) สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) |
Great Offices of State | (n) อำมาตย์นายก เป็นตำแหน่งในรัฐบาลสหราชอาณาจักร |
Library of Congress | (n) ห้องสมุดแห่งชาติของสหรัฐอเมริกาในเขตที่ตั้งรัฐบาลวอชิงตัน ดี.ซี. |
Lifeguard | [ชีพบาล (ชีบ-พะ-บาน)] น. ผู้ดูแลความปลอดภัยในการทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ และช่วบชีวิตคนตกน้ำ life - ชีวิต หรือ ชีพ guard - ผู้ดูแล ในที่นี้ขอใช้คำว่า " บาล " ที่มี ความหมายว่าผู้ดูแล รักษา ปกครอง เช่น รัฐบาล, นครบาล, โคบาล, พยาบาล |
lifeguard | [คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน] (n) lifeguard [ 1 ] - (N) - ชีพบาล คำอ่าน :: ชีบ-พะ-บาน คำหมาย :: ผู้ประกอบวิชาชีพดูแลความปลอดภัยทางน้ำ ให้แก่ผู้ทำกิจกรรมนันทนาการทางน้ำ เช่น สระว่ายน้ำ , สวนน้ำ, ชายหาด, ชายทะเล ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข็มข้น ทั้งทักษะการว่ายน้ำ ปฐมพยาบาล การกู้ชีพ กู้ภัยทางน้ำ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์หลากหลายที่เกี่ยวข้องการทำงาน บางพื้นที่ในต่างประเทศ ยังต้องทำงานเกี่ยวข้องกับการงานฉุกเฉิน เช่น การกู้ภัยบนภูเขา การนำส่งผู้ประสพภัยฉุกเฉิน จากภัยพิบัติต่างๆ อ้างอิง :: life = ชีวิต, ชีพ guard = ยาม, ผู้ดูแล ในที่นี้ ขอใช้คำว่า บาล ซึ่งหมายถึงผู้ดูแล เช่น รัฐบาล, คชบาล, โคบาล, ทวารบาล, พยาบาล, อภิบาล, อนุบาล lifeguard [ 2 ] - (N) – ทหารรักษาพระองค์ (ทหารมหาดเล็ก) ในกองทัพ สหราชอาณาจักร (ประเทศอังกฤษ), See also: Lifesaving, Lifesaver |
puppet government | (n) รัรัฐบาลหุ่นเชิด รัฐบาลที่ทำงานโดยมีผู้อื่นบางการอยู่ข้างหลัง เช่น คุณสมัครดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยมีคุณทักษิณเป็นคนคอยสั่งการ แต่งตั้ง โยกย้ายตำแหน่งต่างๆและกำหนดนโยบายต่างๆเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนและญาติพี่น้อง แม้จะพักอาศัยอยู่ไกลถึงลอนดอนก็ตาม |
Secretary of State | (n) เสนาบดีใหญ่ เป็นตำแหน่งในรัฐบาลสหราชอาณาจักร มีประจำอยู่ในสองกระทรวงคือกระทรวงการต่างประเทศ และกระทรวงปิตุภูมิ |
Longdo Approved JP-TH
政府 | [せいふ, seifu] (n) รัฐบาล |
政治 | [せいじ, seiji] (n) รัฐบาล, การเมือง |
暫定政府 | [ざんていせいふ, zanteiseifu] (n) รัฐบาลชั่วคราว |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
印紙 | [いんし, inshi] TH: อากรที่ชำระให้รัฐบาล EN: a stamp |
公社 | [こうしゃ, kousha] TH: กิจการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ |
政府 | [せいふ, seifu] TH: รัฐบาล EN: government |
Longdo Approved DE-TH
Bundesregierung | (n) |die| รัฐบาลกลางของเยอรมนี |
Regierung | (n) |die, pl. Regierungen| รัฐบาล |
Koalition | (n) |die, pl. Koalitionen| พรรคร่วมรัฐบาล |
Mehrwertsteuer | (n) |die, pl. Mehrwertsteuern| ภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น Die Regierung kündigt an, dass die Mehrwertsteuer steigt. = รัฐบาลแจ้งว่า ภาษีมูลค่าเพิ่มปรับตัวเพิ่มขึ้น |
senken | (vt) |senkte, hat gesenkt, etw.(A)| ทำให้สิ่งใดสิ่งหนึ่งลดน้อยลง, ทำให้น้อยลง, ทำให้ต่ำลง เช่น Die Regierung hat die Steuern gesenkt. รัฐบาลลดภาษีลง, See also: A. erhöhen, steigern, Related: sinken, verringern, Syn. herabsetzen |
drängen | (vt) |drängte, hat gedrängt| ผลักดัน, กระตุ้น, เร่ง เช่น CDU und FDP wollen nach 39 Jahren die SPD aus der Regierungsverantwortung drängen. พรรคเซเดอูและเอฟเดเพต้องการผลักดันให้พรรคเอสเพเดออกจากหน้าที่การเป็นรัฐบาลในอีก 39 ปีหลังจากนี้ |
Marionettenregierung | (n) |die, pl. Marionettenregierungen| รัฐบาลหุ่นเชิด รัฐบาลที่ทำงานโดยมีผู้อื่นบงการอยู่ข้างหลัง เช่น Diese Marionettenregierungen waren in der Nachkriegszeit bemüht, die Folgen alliierter Gewaltherrschaft und des Völkermordes zu mildern. |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Bundesregierung | (n) |die| รัฐบาลกลางของเยอรมนี |
Führer | ฟือเรอร์ เป็นตำแหน่งในรัฐบาลเยอรมนีในอดีต มีความหมายว่า ผู้นำ หรือ ผู้ชี้แนะ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.7388 seconds, cache age: 0.075 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม