355 ผลลัพธ์ สำหรับ *ยุติธรรม*
ภาษา
หรือค้นหา: ยุติธรรม, -ยุติธรรม-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม | clerk to the juristic 6 |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ยุติธรรม | (adv) fairly, See also: impartially, honestly, neutrally, Syn. เป็นธรรม, เป็นกลาง, Ant. อยุติธรรม, อคติ, เข้าข้าง, ลำเอียง, Example: เจ้าหน้าที่ควบคุมการเลือกตั้งให้เป็นไปอย่างยุติธรรม ไม่มีการซื้อเสียง, Thai Definition: อย่างเที่ยงธรรม, อย่างชอบธรรม, อย่างชอบด้วยเหตุผล |
ยุติธรรม | (adj) neutral, See also: impartial, fair, unprejudiced, unbiased, equitable, Syn. เป็นธรรม, เป็นกลาง, Ant. อยุติธรรม, อคติ, เข้าข้าง, ลำเอียง, Example: ทุกฝ่ายพอใจกับคำตัดสินที่ยุติธรรมของผู้พิพากษา, Thai Definition: ที่มีความเที่ยงธรรม, ที่ชอบธรรม, ที่ชอบด้วยเหตุผล |
อยุติธรรม | (v) be unjust, See also: be unfair, be partial, Syn. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงตรง, ไม่เป็นกลาง, Ant. ยุติธรรม |
อยุติธรรม | (adj) unjust, See also: unfair, partial, Syn. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงตรง, ไม่เป็นกลาง, Ant. ยุติธรรม, Example: เจ้านายของเธอเป็นคนอยุติธรรมมากๆ ใครจะยอมเคารพนับถือ |
อยุติธรรม | (n) injustice, See also: partiality, Syn. ความอยุติธรรม, Ant. ยุติธรรม, Example: เขามีอยุติธรรมในตัวเองอย่างมาก, Thai Definition: ความไม่เป็นธรรม, ความไม่เป็นกลาง |
ศาลยุติธรรม | (n) Court of justice, Syn. ศาล, Count Unit: ศาล |
ศาลยุติธรรม | (n) Court of Justice, Example: เจ้าพนักงานจะจับกุมพระมหากษัตริย์มิได้ เพราะศาลยุติธรรมจะไม่รับฟ้อง, Count Unit: ศาล, Thai Definition: องค์การฝ่ายตุลาการที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี ตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม, Notes: (กฎหมาย) |
ความยุติธรรม | (n) justice, See also: fairness, Syn. ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, ความถูกต้อง, Ant. ความอยุติธรรม, Example: สัจจะและความยุติธรรมเป็นสิ่งมีค่าสูงสุดที่ชาวอเมริกันทุกคนแสวงหา |
ความอยุติธรรม | (n) injustice, See also: iniquity, partiality, unfairness, Example: นักศึกษาเป็นคนหนุ่มคนสาวมีความคิดเร่าร้อน รักความเป็นธรรม และเกลียดชังความอยุติธรรม |
อย่างยุติธรรม | (adv) fairly, See also: justly, reasonably, Syn. โดยยุติธรรม, Example: รัฐบาลสร้างตลาดของสินค้าเกษตรเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ลงไปสู่เกษตรกรอย่างยุติธรรม |
กระทรวงยุติธรรม | (n) Ministry of Justice, Count Unit: กระทรวง |
ศาลสถิตยุติธรรม | (n) court of justice, Syn. ศาลยุติธรรม, Example: ผมเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม และศาลสถิตยุติธรรม, Thai Definition: สถานที่ที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดีให้ความเที่ยงธรรมแก่คู่ความ |
กระบวนการยุติธรรม | (n) process of judgement, See also: process of equity, Example: คุณภาพงานสอบสวนถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งต่อกระบวนการยุติธรรมขั้นต้น, Thai Definition: วิธีดำเนินการให้ความคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ และให้ความเป็นธรรมในทางกฎหมายแก่บุคคลโดยบุคลากรและองค์กรหรือสถาบันต่างๆ ซึ่งมีหน้าที่บริหารงานยุติธรรม |
ความยุติธรรมทางสังคม | (n) social justice |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระบวนการยุติธรรม | น. ขั้นตอนและวิธีดำเนินการในการบังคับการให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่ออำนวยความยุติธรรม คุ้มครองสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล. |
ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. |
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม | น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กรศาลยุติธรรม และกำหนดอำนาจศาล ตลอดจนเขตอำนาจของศาลยุติธรรมต่าง ๆ. |
ยุติธรรม | น. ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความชอบด้วยเหตุผล, เช่น ศาลย่อมทรงไว้ซึ่งความยุติธรรม |
ยุติธรรม | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการศาลยุติธรรม แต่ไม่รวมถึงการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. |
ยุติธรรม | ว. เที่ยงธรรม, ไม่เอนเอียงเข้าข้างใดข้างหนึ่ง, ชอบด้วยเหตุผล, เช่น ราคายุติธรรม กรรมการตัดสินอย่างยุติธรรม. |
ศาลยุติธรรม | น. ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง ที่ไม่อยู่ในเขตอำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และศาลทหาร. |
ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ | น. องค์กรใหญ่ฝ่ายตุลาการขององค์การสหประชาชาติ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีอำนาจจำกัดเฉพาะการพิจารณาตัดสินคดีแพ่งที่เกิดขึ้นระหว่างประเทศสมาชิกขององค์การสหประชาชาติด้วยกัน ซึ่งประเทศคู่กรณียินยอมให้ศาลเป็นผู้พิจารณาตัดสินเท่านั้น. |
ศาลสถิตยุติธรรม | น. เป็นคำรวมที่ใช้เรียกศาลยุติธรรมทั้งปวง. |
กรม ๓ | แผนกใหญ่ในราชการ ตามลักษณะปกครองในสมัยโบราณ ซึ่งในปัจจุบัน เรียกว่า กระทรวง เช่น กรมพระกลาโหม คือ กรมฝ่ายทหาร เป็นกระทรวงกลาโหม, กรมมหาดไทย คือ กรมฝ่ายพลเรือน เป็นกระทรวงมหาดไทย, กรมเมือง หรือ กรมนครบาล รวมอยู่ในกระทรวงมหาดไทย, กรมวัง แยกเป็นกระทรวงวัง และกระทรวงยุติธรรม (ปัจจุบันกระทรวงวังไม่มีแล้ว), กรมพระคลัง แยกเป็นกระทรวงการคลัง และกระทรวงการต่างประเทศ, กรมนา เป็นกระทรวงเกษตราธิการ (ปัจจุบัน คือ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์). |
ขึ้นโรงขึ้นศาล | ก. ฟ้องเป็นคดีความที่ศาลยุติธรรม. |
ขุนโรง | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมผู้เป็นหัวหน้าในศาลหัวเมืองต่าง ๆ, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล. |
ขุนศาล | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า. |
เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ | น. บุคคลซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมแต่งตั้งโดยเฉพาะตัว หรือโดยตำแหน่งหน้าที่ ให้ปฏิบัติหน้าที่พิทักษ์ทรัพย์สิน และจัดการเกี่ยวกับทรัพย์สินของลูกหนี้ในคดีล้มละลาย. |
เจ้าสังกัด | น. ส่วนราชการที่หน่วยงานย่อยหรือหน่วยงานอื่นสังกัดอยู่ เช่น กระทรวงยุติธรรมเป็นเจ้าสังกัดของกรมราชทัณฑ์ สำนักนายกรัฐมนตรีเป็นเจ้าสังกัดของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. |
เชื่อมั่น | ก. เชื่อโดยไม่เปลี่ยนแปลง เช่น เขาเชื่อมั่นในความยุติธรรมของศาล. |
ซึ่ง | บ. คำสำหรับนำหน้านามที่เป็นผู้ถูกกระทำ เช่น รักษาไว้ซึ่งความยุติธรรม. |
ฎีกา | ชื่อศาลยุติธรรมสูงสุดของประเทศไทย ซึ่งเรียกว่า ศาลฎีกา |
ตีนโรงตีนศาล | ว. เรียกผู้ที่หารายได้โดยรับจ้างเขียนคำร้อง กรอกเอกสารบางอย่าง เป็นต้น ตามศาลยุติธรรม ว่า พวกตีนโรงตีนศาล. |
เที่ยงตรง | ว. ตั้งตรงไม่เอนเอียง, ยุติธรรม. |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม |
ธรรมนูญ | น. กฎหมายที่จัดระเบียบองค์กร เช่น ธรรมนูญศาลทหาร พระธรรมนูญศาลยุติธรรม. |
ธรรมาธรรม | (ทำมา-) น. ธรรมและอธรรม, ความถูกและความผิด, ยุติธรรมและอยุติธรรม. |
ธรรมานุสาร | (ทำมา-) น. ความถูกตามธรรม, ทางหรือวิธีแห่งความยุติธรรม, ความระลึกตามธรรม. |
ธรรมาภิมุข | (ทำมา-) ว. หันหน้าเฉพาะธรรม, มุ่งแต่ยุติธรรม. |
เนติบัณฑิต | น. ผู้ได้รับประกาศนียบัตรทางวิชากฎหมายของโรงเรียนกฎหมาย กระทรวงยุติธรรม, ผู้สอบได้ตามหลักสูตรของสำนักศึกษาอบรมกฎหมายของเนติบัณฑิตยสภา. |
ประชาทัณฑ์ | น. การที่ฝูงชนกลุ้มรุมทำร้าย เป็นการลงโทษบุคคลที่ตนเข้าใจหรือนึกว่ามีความผิด โดยไม่ดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม. |
ยุกติธรรม | น. ยุติธรรม. |
ลูกผู้ชาย | น. เรียกผู้ชายที่มีความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และมีความรับผิดชอบ เป็นต้น. |
ศาลแขวง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีผู้พิพากษาเป็นองค์คณะคนเดียว และมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอันจำกัดกว่าศาลชั้นต้นอื่น. |
ศาลจังหวัด | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่ตั้งประจำในแต่ละจังหวัดหรือในบางอำเภอ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งและคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ. |
ศาลฎีกา | น. ศาลยุติธรรมชั้นสูงสุด คำสั่งและคำพิพากษาของศาลฎีกาย่อมเป็นที่สุด. |
ศาลทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้า ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร และทรัพย์สินทางปัญญาอื่น รวมทั้งกิจการเกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศบางเรื่อง. |
ศาลแพ่ง | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นซึ่งมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวงและคดีอื่นใดที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลแพ่งมีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานคร นอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลแพ่งกรุงเทพใต้ ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลแพ่ง ศาลแพ่งอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้. |
ศาลภาษีอากร | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีเกี่ยวกับภาษีอากร. |
ศาลเยาวชนและครอบครัว | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในคดีอาญาที่มีข้อหาว่าเด็กหรือเยาวชนกระทำความผิดและคดีครอบครัว. |
ศาลแรงงาน | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง. |
ศาลล้มละลาย | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีล้มละลาย. |
ศาลโลก | น. ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ. |
ศาลอาญา | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาทั้งปวงที่มิได้อยู่ในอำนาจของศาลยุติธรรมชั้นต้นอื่น ศาลอาญา มีเขตพื้นที่ตลอดท้องที่กรุงเทพมหานครนอกจากเขตพื้นที่ที่อยู่ในเขตพื้นที่ของศาลอาญากรุงเทพใต้ ศาลอาญาธนบุรี ศาลจังหวัดมีนบุรี แต่คดีที่อยู่นอกเขตพื้นที่ของศาลอาญา ศาลอาญาอาจใช้ดุลพินิจยอมรับไว้พิจารณาพิพากษาได้. |
ศาลอุทธรณ์ | น. ศาลยุติธรรมชั้นสูงถัดจากศาลฎีกาลงมา. |
สถานพินิจ | น.เป็นคำย่อ ใช้เรียกสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นหน่วยงานในกระทรวงยุติธรรม ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคุ้มครองเด็กและเยาวชน เช่น สืบเสาะเรื่องราวบุคคล และสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับเด็กหรือเยาวชนซึ่งต้องหาว่ากระทำความผิด ควบคุมและฝึกอบรมเด็กและเยาวชน . |
สมุหนายก | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายพลเรือน ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายพลเรือน รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองฝ่ายเหนือ. |
สมุหพระกลาโหม | น. ตำแหน่งข้าราชการชั้นอัครมหาสนาบดีฝ่ายทหาร ดูแลรับผิดชอบและเป็นประธานที่ประชุมเสนาบดีของฝ่ายทหาร รวมทั้งการปกครองและการยุติธรรมในหัวเมืองปักษ์ใต้. |
สัตยาเคราะห์ | น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. |
สิ่ง | ภาวะ, ความมีความเป็น, เช่น สิ่งที่มีคุณค่าในสังคมอย่างหนึ่งคือ ความยุติธรรม, อย่าง, อัน, เช่น ในกระเป๋ามีของกี่สิ่ง. |
อธรรม | (อะทำ) ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. |
อาธรรม, อาธรรม์, อาธรรมิก, อาธรรมึก | (-ทำ, -ทัน, -ทันมิก, -ทันมึก) ว. ชั่ว, ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
procedural right | สิทธิตามกระบวนการยุติธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
poetic justice | ยุติธรรมแบบกวี [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Law for the Organization of Courts of Justice | กฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาลยุติธรรม (ไทย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retributive justice | ความยุติธรรมเพื่อสนองตอบ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retributive justice | ความยุติธรรมในการลงโทษ, การลงโทษเพื่อความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right, procedural | สิทธิตามกระบวนการยุติธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Supreme Court of Judicature | ศาลยุติธรรมสูงสุด (อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
social justice | ความยุติธรรมทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
obstructing justice | การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
offences relating to the justice | ความผิดเกี่ยวกับการยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Attorney-General | ๑. อธิบดีกรมอัยการ (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน)๓. ที่ปรึกษากฎหมายแห่งมลรัฐ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Attorney-General | ๑. อัยการแผ่นดิน (อังกฤษ)๒. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
administration of justice | การบริหารงานยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice, corrective | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice, distributive | ความยุติธรรมในการจัดสรร [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice, retributive | ความยุติธรรมเพื่อสนองตอบ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice, retributive | ความยุติธรรมในการลงโทษ, การลงโทษเพื่อความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice, utilitarian | ความยุติธรรมทางประโยชน์นิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice | ความยุติธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
justice | ความยุติธรรม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
justice | ความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
miscarriage of justice | การทำให้เสื่อมเสียความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
court of justice; court of law | ศาลยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Court of Justice of the European Communities (European Court) | ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Court of Justice, International | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
court of law; court of justice | ศาลยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Cassation, Cour de (Fr.); Cour de Cassation (Fr.) | ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Cour de Cassation (Fr.); Cassation, Cour de (Fr.) | ศาลยุติธรรมสูงสุดฝรั่งเศส [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
corrective justice | ความยุติธรรมเพื่อแก้ไขความประพฤติ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
distributive justice | ความยุติธรรมในการจัดสรร [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
denial of justice | การไม่ให้ความยุติธรรม, การปฏิเสธความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fiat justitia (L.) | ให้เป็นไปตามความยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
extrajudicial | นอกกระบวนการยุติธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
European Court (Court of Justice of the European Communities) | ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
European Communities (European Court), Court of Justice of the | ศาลยุติธรรมแห่งประชาคมยุโรป (ศาลประชาคมยุโรป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [ ดู world court ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
natural justice | ความยุติธรรมตามธรรมชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
utilitarian justice | ความยุติธรรมทางประโยชน์นิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
world court | ศาลโลก, ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [ ดู International Court of Justice ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Convention on Access to Information, Public Participation in Decision-making, and Access to Justice in Environmental Matters | อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1, อนุสัญญาว่าด้วยการเข้าถึงข้อมูล การมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการตัดสินใจ และการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมในเรื่องสิ่งแวดล้อม (ค.ศ. 1998) [TU Subject Heading] |
Criminal justice personnel | บุคลากรทางกระบวนการยุติธรรมทางอาญา [TU Subject Heading] |
Criminal justice, Administration of | การบริหารงานยุติธรรมทางอาญา [TU Subject Heading] |
International courts | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Judges (Islamic law) | ดะโต๊ะยุติธรรม [TU Subject Heading] |
Justice | ความยุติธรรม [TU Subject Heading] |
Justice, Administration of | การบริหารงานยุติธรรม [TU Subject Heading] |
Juvenile justice, Administration of | การบริหารงานยุติธรรมด้านเยาวชน [TU Subject Heading] |
Organizational justice | ความยุติธรรมในองค์การ [TU Subject Heading] |
Reparation (Criminal justice) | การชดใช้ค่าเสียหาย ((งานยุติธรรมทางอาญา) [TU Subject Heading] |
Restorative justice | การบริหารงานยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ [TU Subject Heading] |
Retribution | การลงโทษเพื่อความยุติธรรม [TU Subject Heading] |
Volunteer workers in criminal justice administration | อาสาสมัครในงานบริหารงานยุติธรรมทางอาญา [TU Subject Heading] |
Diplomatic Language | ภาษาการทูต ในสมัยโบราณจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 18 รัฐทั้งหลายในสมัยนั้นได้นิยมใช้ภาษาละตินเป็นภาษาการทูตและก็เป็นภาษาเดียว ที่ใช้กันในยุโรปภาคกลางและภาคตะวันตก ต่อมาในราวกลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 ได้ใช้ภาษาฝรั่งเศสแทนภาษาละตินเป็นภาษาการทูต และใช้กันตลอดมาจนถึงสมัยสงครามโลกครั้งแรก หลังจากเสร็จสงครามโลกครั้งแรกจนถึงสงครามโลกครั้งที่สอง รัฐต่างๆ เริ่มนิยมใช้ภาษาอังกฤษมากขึ้น และใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้ แต่ก็ยังไม่มีการรับรองเป็นทางการกันว่าให้ใช้ภาษาใดเป็นภาษาทางการทูตใน องค์กรทั้งหมดของสหประชาชาติยกเว้นศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ใช้ 5 ภาษาเป็นภาษาราชการ คือ ภาษาจีน รัสเซีย สเปน อังกฤษ และฝรั่งเศส ดังนั้น ในการประชุมใด ๆ ณ องค์การสหประชาชาติ หากมีการแถลงเป็นภาษาหนึ่ง ก็จะมีการแปลเป็นอีก 4 ภาษาเกือบพร้อมกันในทันที (Simultaneous Translation) สำหรับศาลยุติธรรมระหว่างประเทศนั้น ภาษาที่ใช้เป็นภาษาราชการคือ ภาษาอังกฤษและฝรั่งเศส เพียงสองภาษา [การทูต] |
Extradition | การส่งผู้ร้ายข้ามแดน การที่ชาติหนึ่งยอมส่งคนในชาติของตนให้แก่อีกชาติหนึ่ง คือคนในชาติที่ถูกกล่าวหา หรือต้องโทษฐานกระทำความผิดภายนอกเขตแดนของตน และเป็นความผิดที่กระทำขึ้นในเขตอำนาจของอีกชาติหนึ่ง ซึ่งมีความสามารถที่จะตัดสินคดี รวมทั้งลงโทษบุคคลที่ถูกกล่าวหานั้นข้ออ้างว่า ในกรณีที่ชนชาติหนึ่งซึ่งถูกกล่าวหาว่าประกอบอาชญากรรมแล้วหลบหนีไปยังต่าง ประเทศนั้น รัฐของผู้ที่ประกอบอาชญากรรมมีสิทธิที่จะขอให้ต่างประเทศนั้นส่งตัวผู้กระทำ ผิดกลับคืนมา เพื่อส่งตัวขึ้นศาลเพื่อพิจารณาลงโทษได้ แต่หลายคนยังมีความเห็นแตกต่างกันอยู่ในข้อนี้ มีไม่น้อยที่สนับสนุนหลักการที่ว่า กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองหน้าที่ที่จะต้องส่งผู้ร้ายข้ามแดน กล่าวคือ นอกจากสนธิสัญญาส่งผู้ร้ายข้ามแดนที่มีต่อกันแล้ว กฎหมายระหว่างประเทศมิได้รับรองสิทธิที่จะส่งผู้ร้ายข้ามแดนให้แก่กัน อย่างไรก็ดี ตามสนธิสัญญาที่มีต่อกัน ผู้ร้ายที่หนีความยุติธรรมจะถูกส่งไปให้อีกประเทศหนึ่งตามสนธิสัญญานั้น จักกระทำโดยวิถีทางการทูต ส่วนผู้หลบหนีเจ้าหน้าที่เพราะเหตุผลทางการเมือง จะส่งข้ามแดนอย่างผู้ร้ายไม่ได้ และเมื่อหลบหนีไปยังอีกประเทศหนึ่งได้สำเร็จ ประเทศนั้นๆ มักจะให้อาศัยพักพิงในประเทศของตนเป็นในฐานะผู้ลี้ภัยทางการเมือง [การทูต] |
Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ตั้งอยู่ที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
International Trade Organization | องค์การการค้าระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดำเนินงานเกี่ยวกับความตกลงทั้วไปว่าด้วยภาษี ศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ ต้องการขยายการค้าของโลกให้กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นการช่วยให้มีมาตรฐานการครองชีพสูงขึ้น ขจัดการกีดกันการค้า หรือพยายามลดให้เหลือน้อยที่สุด เช่น การตั้งข้อจำกัดโควต้า เป็นต้น ตัดทอนภาษีศุลกากรทั่วโลกให้ต่ำลง ดูแลตลาดวัตถุดิบให้เป็นไปอย่างยุติธรรม และพยายามควบคุมด้านการค้าของการร่วมมือกันทางธุรกิจ (Cartels) จุดมุ่งหมายสำคัญที่สุดคือ ป้องกันมิให้กลับไปสู่การดำเนินการทางการค้าที่ตัดราคากันอย่างหั่นแหลก เหมือนเมื่อระยะปี ค.ศ. 1930 ถึง 1939 นั่นเองอย่างไรก็ดี ตั้งแต่มีการปฏิบัติใช้ความตกลงทั่วไปว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้ามาจนบัด นี้ ก็ได้รับผลสำเร็จตามแนววัตถุประสงค์อย่างมากมาย เช่น มีประเทศสมาชิกหลายสิบประเทศลดภาษีศุลกากรและรักษาระดับภาษีอย่างมีเสรีภาพ แต่ละปี ประเทศสมาชิกจะได้ยินได้ฟังเสียงร้องเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติทางการค้า ละเมิดกฎเกณฑ์ของความตกลงทั่วไป แล้วเสียงร้องเรียนดังกล่าวก็ได้รับการแก้ไขจนเป็นที่พึงพอใจของทุกฝ่าย เป็นต้น นอกจากนี้ ได้มีการปรับปรุงและดัดแปลงข้อกำหนดของความตกลงทั่วไป ให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา [การทูต] |
Judicial Settlement | การระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐโดยศาลตุลาการ ก่อนที่จะเกิดองค์การสหประชาชาติ รัฐทั้งหลายที่มีกรณีพิพาทระหว่างประเทศจะฟ้องร้องต่อศาลระวห่างประเทศแห่ง หนึ่ง มีชื่อว่าศาลประจำยุติธรรมระหว่าประเทศ (Permanent Court of International Justice) ซึ่งองค์การสันนิบาตชาติ (League of Nations) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1920 ได้ประชุมกันเป็นครั้งแรก ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 30 มกราคม ค.ศ. 1922 หลังจากนั้นเป็นเวลา 23 ปี ผู้พิพากษาของศาลก็ได้ลาออกในปีค.ศ. 1946 และสันนิบาตชาติได้ยุบศาลนี้ในปีเดียวกันเมื่อมีการสถาปนาองค์การสหประชา ชาติขึ้น ได้มีการจัดตั้งศาลระหว่างประเทศขึ้นใหม่ เรียกว่า ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (International Court of Justice) ตามกฎบัตรสหประชาชาติ กฎบัตรนี้ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 92 ว่า ?ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศจักเป็นองค์กรทางตุลาการอันสำคัญของสหประชาชาติ ศาลจักดำเนินหน้าที่ตามธรรมนูญผนวกท้าย ซึ่งยึดถือธรรมนูญของศาลประจำยุติธรรมระหว่างประเทศเป็นมูลฐาน และซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งส่วนเดียวกับกฎบัตรฉบับปัจจุบัน?ศาลยุติธรรมระหว่าง ประเทศนี้ ประชุมกันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1946 [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
The Hague Peace Conferences | การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์ การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] |
Voting Procedure in the United Nations | วิธีการลงคะแนนเสียงในที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ ในเรื่องนี้ สมาชิกแต่ละประเทศมีคะแนนเสียง 1 คะแนน ข้อมติของสมัชชาในปัญหาสำคัญ (Important Questions) จะกระทำโดยถือคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 ของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียง ที่เรียกว่าปัญหาสำคัญนั้นได้แก่ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ การเลือกตั้งสมาชิกไม่ประจำของคณะมนตรีความมั่นคง การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีเศรษฐกิจและการสังคม การเลือกตั้งสมาชิกของคณะมนตรีภาวะทรัสตี การรับสมาชิกใหม่ของสหประชาชาติ การงดใช้สิทธิและเอกสิทธิแห่งสมาชิกภาพ การขับไล่สมาชิก ปัญหาการดำเนินงานของระบบภาวะทรัสตี และปัญหางบประมาณ คำวินิจฉัยปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งการกำหนดประเภทแห่งปัญหาที่จะต้องวินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก 2 ใน 3 เพิ่มเติมนั้น จัดกระทำโดยอาศัยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกที่มาประชุมและออกเสียงอนึ่ง ในการเลือกตั้งผู้พิพากษาของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ (ศาลโลก) ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งจักต้องได้รับคะแนนเสียงข้างมากเด็ดขาด (Absolute majority) ในที่ประชุมของสมัชชาและในที่ประชุมของคณะมนตรีความมั่นคงด้วย นอกจากนี้สมาชิกสหประชาชาติที่ค้างชำระค่าบำรุงแก่องค์การ ย่อมไม่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงในสมัชชา ถ้าหากจำนวนเงินที่ค้างชำระเท่าหรือมากกว่าจำนวนเงินค่าบำรุงที่ถึงกำหนด ชำระสำหรับ 2 ปีเต็มที่ล่วงมา อย่างไรก็ตาม สมัชชาอาจอนุญาตให้สมาชิกเช่นว่านั้นลงคะแนนเสียงก็ได้ ถ้าทำให้เป็นที่พอใจได้ว่า การไม่ชำระนั้น เนื่องมาจากภาวะอันอยู่นอกเหนืออำนาจควบคุมของสมาชิกนั้น [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Fair market value | ราคาตลาดยุติธรรม [การบัญชี] |
Fair price | ราคายุติธรรม [การบัญชี] |
Fair value | มูลค่ายุติธรรม [การบัญชี] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อยุติธรรม | [ayuttitham] (n) EN: injustice ; partiality FR: injustice [ f ] ; partialité [ f ] |
อยุติธรรม | [ayuttitham] (adj) EN: unjust ; unfair ; partial ; prejudicial FR: injuste ; partial |
โดยยุติธรรม | [dōi yutitham] (adv) EN: fairly |
ให้ความยุติธรรม | [hai khwām yuttitham] (v, exp) EN: administer justice |
การแข่งขันที่ยุติธรรม | [kān khaengkhan thī yuttitham] (n, exp) EN: fair competition |
การแข่งขันอย่างยุติธรรม | [kān khaengkhan yāng yuttitham] (n, exp) EN: fair competition ; heavy competition |
การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม | [kān khatkhwāng krabūankān yutitham] (n, exp) EN: obstruction of justice FR: obstruction à la justice [ f ] |
ความอยุติธรรม | [khwām ayuttitham] (n) EN: injustice |
ความไม่ยุติธรรม | [khwām mai yutitham] (n, exp) EN: inequity ; unfairness |
ความยุติธรรม | [khwām yuttitham] (n) EN: justice ; fairness FR: justice [ f ] |
ความยุติธรรมทางสังคม | [khwām yuttitham thāng sangkhom] (n, exp) EN: social justice FR: justice sociale [ f ] |
กฎหมายไม่ยุติธรรม | [kotmāi mai yuttitham] (n, exp) FR: loi injuste [ f ] |
กระบวนการยุติธรรม | [krabūankān yutitham] (n, exp) EN: judicial administration |
กระทรวงยุติธรรม | [Krasūang Yuttitham] (org) EN: Ministry of Justice FR: ministère de la Justice [ m ] |
ไม่ยุติธรรม | [mai yuttitham] (adj) EN: unfair ; injust ; inequitable ; injustified FR: inéquitable ; injuste |
เพื่อความยุติธรรม | [pheūa khwām yuttitham] (xp) EN: for the sake of justice |
พระธรรมนูญศาลยุติธรรม | [phrathammanūn sān yuttitham] (n, exp) EN: law on court oranization ; basic law on the judiciary |
ราคาตลาดยุติธรรม | [rākhā talāt yutitham] (n, exp) EN: fair market price ; fair market value |
ศาลยุติธรรม | [sān yuttitham] (n, exp) EN: Court of justice ; law court FR: cour de justice [ f ] |
ศาลยุติธรรมแห่งยุโรป | [Sān Yuttitham Haeng Yurōp] (org) EN: European Court of Justice (ECJ) FR: Cour de justice européenne [ f ] ; Cour de justice de l'Union européenne (CJUE) [ f ] |
อย่างยุติธรรม | [yāng yutitham] (adj) EN: fairly |
ยุติธรรม | [yutitham] (n) EN: justice ; fair play ; fairness ; impartiality FR: fair-play [ m ] |
ยุติธรรม | [yutitham] (adj) EN: just ; fair ; impartial ; neutral FR: impartial |
ยุติธรรม | [yutitham] (adv) EN: fairly ; impartially ; honestly ; neutrally |
ยุติธรรม | [yuttitham] (n) EN: justice ; fair play ; fairness ; impartiality FR: justice [ f ] ; fair-play [ m ] ; impartialité [ f ] ; équité [ f ] |
ยุติธรรม | [yuttitham] (adj) EN: just ; fair ; impartial ; neutral ; unprejudiced ; unbiased; equitable FR: juste ; impartial ; équitable |
ยุติธรรม | [yuttitham] (adv) EN: fairly ; impartially ; honestly ; neutrally |
Longdo Approved EN-TH
CIFS | (org) สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยุติธรรม (Central Institute of Forensic Science) |
Attorney General | (n) รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม (ของสหรัฐฯ) |
Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
administration of justice | (n) การบริหารงานยุติธรรม, กระบวนการยุติธรรม เช่น It aims to render accessible, fair, speedy and cost-effective administration of justice in the interest of a safer and more secure country. |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
astraea | (แอสทรี'อะ) n. เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม (goddess of justice) |
candor | (แคน'เดอะ) n. ภาวะเปิดเผย, ภาวะตรงไปตรงมา, ความยุติธรรม, สีขาว, ความบริสุทธิ์, ความใจดี, Syn. openness, Ant. bias |
candour | (แคน'เดอะ) n. ภาวะเปิดเผย, ภาวะตรงไปตรงมา, ความยุติธรรม, สีขาว, ความบริสุทธิ์, ความใจดี, Syn. openness, Ant. bias |
cricket | (คริค'คิท) n. จิ้งหรีด, กีฬาคริคเก็ต, การเล่นที่ยุติธรรม, ความประพฤติของสุภาพของสุภาพบุรุษ vi. |
due | (ดิว) adj. เหมาะสม, สมควร, พอเพียง, พอควร, ครบกำหนด, ถึงกำหนด, ถูกต้อง, ถูกทำนองคลองธรรม, ตรง, หลีกเลี่ยงไม่ได้. n. สิทธิที่ควรได้รับ, หนี้, เงินที่พึงชำระ, ค่าธรรมเนียม, ความยุติธรรม. -adv. โดยตรง, แน่นอน. -Phr. (due to เนื่องจาก, เนื่องด้วย, เพราะ) ., See also: d |
even | (อี'เวิน) adj. เรียบ, ราบ, สม่ำเสมอ, ซึ่งหารด้วยเลข2ได้ลงตัว, ได้สมดุล, ยุติธรรม, พอดี, ไม่ขาดไม่เกิน, เงียบสงบ -adv. อย่างราบเรียบ, ยังคง, ยิ่งกว่านั้น, แม้ว่า n. ตอนเย็น vt. ทำให้ราบ, ทำให้เรียบ, ทำให้สมดุล, ทำให้เท่ากัน. vt. กลายเป็นเท่ากัน. -Id. (be (get) even wi |
even-handed | (อี'เวินแฮน'ดิด) adj. ไม่เอนเอียง, ยุติธรรม, See also: even-handedly adv. even-handedness n. ดูeven-handed, Syn. fair |
fair | (แฟรฺ) adj. ยุติธรรม, ถูกต้อง, ซื่อสัตย์, ใหญ่พอสมควร, มาก, ปานกลาง, ดีพอใช้, สภาพ, สวยงาม, ไม่มีจุดด่างพร้อย, สะอาด, ชัดเจน, มีผิวพรรณดี, มีเสน่ห์., See also: fairness n. -adv. สุภาพ, ยุติธรรม. -Phr. fair and square ซื่อสัตย์, ตรงไปตรงมา . -Phr. see fair ตัด |
fair and square | n. ตรงไปตรงมา, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์ |
fair play | n. การตัดสินอย่างยุติธรรม, การเล่นอย่างยุติธรรม, พฤติกรรมที่เที่ยงธรรม |
fair-minded | (แฟรฺ'ไม ดิด) adj. ซึ่งมีใจยุติธรรม, เที่ยงธรรม., See also: fair-mindedness n. |
fairly | (แฟร'ลี) adj. อย่างตรงไปตรงมา, อย่างยุติธรรม, อย่างปานกลาง, โดยความเป็นจริง, โดยสิ้นเชิง, Syn. justly |
forensic | (ฟอเรน'ซิค) adj. (เกี่ยวกับ) กฎหมาย, ศาลยุติธรรม, การเล่นสำนวนโวหาร, See also: forensics n. วิชาเกี่ยวกับศิลปะแห่งการพูดหรือเขียนเพื่อจูงใจคน forensicality n. forensicsally adv. |
game | (เกม) { gamed, gaming, games } n. กีฬา, เกม, เนื้อสัตว์ที่ล่ามา, สิ่งที่ตามล่า -Phr. (play the game เล่นอย่างยุติธรรม, เล่นตามกติกา) . adj. เกี่ยวกับสัตว์ที่ล่า, อย่างนักกีฬา, กล้าได้กล้าเสีย, เต็มใจเล่น. vi. เล่นพนัน, พนัน, ขันต่อ. vt. พนันหมด, เสียพนัน คำศัพท์ย่อย |
gerrymander | vt., vi., n. (การ) แบ่งเขตเลือกตั้งอย่างไม่ยุติธรรม, ทำตบตา |
impartial | (อิมพาร์'เชิล) adj. ยุติธรรม, ไม่เอนเอียง, ไม่มีคติ., See also: impartiality, impartialness n., Syn. just, fair |
inequality | (อินอิควอล'ลิที) n. ความไม่เท่ากัน, ความไม่ยุติธรรม, ความลำเอียง, ความไม่เสมอภาค |
inequitable | (อินเอค'ควิทะเบิล) adj. ไม่เสมอภาค, ไม่ยุติธรรม., See also: inequitableness n . inequitably adv., Syn. unfair, unjust |
inequity | (อินเอค'ควิที) n. ความไม่เสมอภาค, ความไม่ยุติธรรม, Syn. unfairness, injustice |
iniquitous | (อินิค'ควิทัส) adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่ซื่อตรง, ไร้ศีลธรรม, ชั่วช้า., See also: iniquitously adv. adv. iniquitousness n., Syn. unjust, immoral, wicked |
iniquity | (อนิค'ควิที) n. ความอยุติธรรม, การไร้ศีลธรรม, ความชั่วช้า, Syn. wickedness |
injury | (อิน'จะรี) n. อันตราย, ภัย, ความเสียหาย, ความอยุติธรรมที่ได้รับ, การล่วงละเมิด, การก้าวร้าว, Syn. harm, hurt |
injustice | (อินจัส'ทิส) n. ความอยุติธรรม, ความไม่เป็นธรรม, การล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, การกระทำที่ไม่ยุติธรรม, ความผิด, Syn. grievance |
judicature | (จู'ดะเคเชอะ) n. การพิจารณาอรรถคดีตามกฎหมาย, ผู้พิพากษาทั้งหลาย, อำนาจในการพิพากศาอรรถคดี, ศาลยุติธรรม, กฎหมาย |
judicial | (จูดิช'เชิล) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีตามกฎหมาย, เกี่ยวกับศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับผู้พิพากษา, เกี่ยวกับกฎหมาย, ซึ่งเกิดจากพระผู้เป็นเจ้า, Syn. legal, juridical |
judiciary | (จูดิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการตัดสินอรรถคดีของศาลยุติธรรม, เกี่ยวกับกฎหมาย, เกี่ยวกับผู้พิพากษา n. การพิจารณาคดีตามกฎหมาย, ศาลยุติธรรม, ระบบศาล, การะทรวงยุติธรรม, ผู้พิพากษาทั้ง, หลาย, Syn. legal, discerning |
just | (จัสทฺ) adj. ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม, พอดี, สมควร, พอเหมาะ, สมเหตุสมผล, ถูกต้องแม่นยำ, เล็กน้อย, เท่านั้น, จริง ๆ |
justice | (จัส'ทิส) n. ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, ความสมควร -Phr. (bring tojustice นำขึ้นศาล) -Phr. (dojustice to ให้ความยุติธรรมแก่), Syn. impartiality, equity |
justiciary | (จัสทิช'ชีเออรี) adj. เกี่ยวกับการพิจารณาอรรถคดีโดยศาลยุติธรรม n. ที่ทำการหรืออำนาจหน้าที่ของตุลาการ |
justly | (จัสทฺ'ลี) adv. อย่างยุติธรรม, อย่างซื่อสัตย์, โดยความเป็นธรรม, ตามข้อเท็จจริง, แม่นยำ, แน่ชัด, Syn. honestly, fairly |
justness | (จัสทฺ'นิส) n. ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้อง, Syn. justice, righteousness |
properly | (พรอพ'เพอลี) adv. อย่างเหมาะสม, อย่างสมควร, อย่างถูกต้อง, อย่างแม่นยำ, อย่างแน่ชัด, อย่างยุติธรรม, อย่างสมบูรณ์, อย่างเต็มที่, อย่างถ้วนทั่ว |
raw | (รอ) adj. ดิบ, ยังไม่ได้เสริมแต่ง, หยาบ, ไร้ประสบการณ์, ยังไม่ได้รับการฝึกฝน, ยังไม่คุ้น, (หนัง) ยังไม่ได้ฟอก, (แผล) สด, หนาวเหน็บ, เย็นแสบ, ยังไม่ได้ผสมให้เจือจาง, (ชายผ้า) ยังไม่ได้เย็บ, โหด, หยาบคาย, ต่ำช้า, ทารุณ, ไม่ยุติธรรม n. แผลถลอก, , See also: rawly adv. |
rectitude | (เรค'ทิทูด) n. ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้อง, ความยุติธรรม, ความมีศีลธรรม |
right | (ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม |
rightful | (ไรทฺ'ฟูล) adj. โดยชอบธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้อง, See also: rightfulness n., Syn. legitimate, equitable |
sanctify | (แซงคฺ'ทิไฟ) vt. ทำให้ศักดิ์สิทธิ์, ทำให้พ้นบาป, อวยพร, ทำให้ยุติธรรม |
shabby | (แชบ'บี) adj. โกโรโกโส, ปอน, เก่า, มอมแมม, ขาดกะรุ่งกะริ่ง, ขาดการบำรุงรักษา, โคลงเคลง, เลวทราม, ไม่ยุติธรรม, น่าดูถูก, เลว, ไม่ได้มาตรฐาน, See also: shabbily adv. shabbiness n., Syn. low, mean, abject, faded |
sporting | (สพอร์ท'ทิง) adj. เกี่ยวกับการกีฬา, เกี่ยวกับการกรีฑา, ชอบกีฬา, ชอบการพนัน, คล้ายนักกีฬา, สนใจการกีฬา, ยุติธรรม, มีน้ำใจนักกีฬา, เปลี่ยนแปลงไปจากลักษณะเดิมของพ่อแม่, Syn. fair |
square deal | n. การกระทำที่ยุติธรรม (ซื่อตรง) |
squarely | (สแควร์'ลี) adj. เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุ-รัสโดยตรง, ไม่อ้อมค้อม, ซื่อตรง, ยุติธรรม |
tribunal | (ไทรบิว'เนิล) n. ศาลยุติธรรม, บัลลังก์ตุลาการ, บัลลังก์พิจารณาพิพากษาอรรถคดี |
unequal | (อันอี'เควิล) adj. ไม่เท่ากัน, ไม่เก่งเท่า, ไม่เสมอภาค, ไม่สมดุล, ไม่ยุติธรรม., See also: unequally adv. |
uneven | (อันอี'เวิน) adj. ไม่เรียบ, ขรุขระ, ไม่แน่นอน, เปลี่ยนแปลง, ไม่ยุติธรรม, ไม่เสมอภาค, ลำเอียง, เข้าข้าง, ไม่สมดุล, ไม่ขนานกัน |
unfair | (อันแฟร์') adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่เป็นธรรม, ไม่ถูกต้อง. |
unjust | (อัน'จัสทฺ) adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่ชอบธรรม., See also: unjustly adv. |
unrighteous | (อันไร'เชิส) adj. ไม่ถูกต้อง, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม, ร้าย, บาปหนา., See also: unrighteousness n., Syn. incorrect |
upright | (อัพ'ไรทฺ) adj., adv. ตั้งขึ้น, ตั้งตรง, ยกสูงขึ้น, ซื่อตรง, เที่ยงตรง, ยุติธรรม. n. ความซื่อตรง, ความเที่ยงธรรม, สิ่งที่ตั้งตรง vt. ทำให้ตั้งตรง., See also: uprightly adv. uprightness n., Syn. vertical, upstanding |
wanton | (วอน'ทัน) adj. มุ่งร้ายและไม่ยุติธรรม, ขี้เล่น, ซุกซน, ชอบเล่นพิเรน, ไม่รับผิดชอบ, มั่วโลกีย์, ฟุ่มเฟือย, ฟุ้งเฟ้อ, สุรุ่ยสุร่าย, เขียวชอุ่ม, See also: wantonly adv. wantonness n. |
white | (ไวทฺ) adj. ขาว, หงอก, ขาวบริสุทธิ์, สีเผือก, ผิวขาว, สีเงิน, ขาวหิมะ, มีหิมะ, ไร้สี, โปร่งใส, ว่างเปล่า, สวมเสื้อขาว, โชคดี, ไม่ได้เขียนอะไร, สะอาด, มีเจตนาดี, ซื่อตรง, ยุติธรรม, ไร้เดียงสา, (กาแฟ) ใส่นมหรือครีม n. สีขาว, ความขาว, ผิวขาว, สิ่งที่มีสีขาว, ไข่ขาว, แอลบิวเมน |
Nontri Dictionary
deservedly | (adv) อย่างเหมาะสม, สมควรแล้ว, สมน้ำหน้า, โดยยุติธรรมแล้ว |
due | (n) หนี้, เงินที่ต้องชำระ, ความยุติธรรม, ค่าธรรมเนียม |
equitable | (adj) เสมอภาค, ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม |
equity | (n) ความเสมอภาค, ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม |
foul | (adj) เปรอะเปื้อน, สกปรก, เน่า, ไม่ยุติธรรม, เลว, ร้ายกาจ, ชั่ว, ยุ่ง |
imparity | (n) ความไม่เสมอภาค, ความไม่ยุติธรรม, การขาดดุล |
impartial | (adj) ไม่ลำเอียง, ยุติธรรม, เสมอภาค, เป็นธรรม |
impartiality | (n) ความไม่ลำเอียง, ความยุติธรรม, ความเป็นธรรม |
inequitable | (adj) ไม่สมดุล, ไม่เสมอภาค, ไม่เท่ากัน, ไม่ยุติธรรม |
inimitable | (adj) อยุติธรรม, เลียนแบบไม่ได้, เลิศล้ำ |
iniquity | (n) ความอยุติธรรม, ความไม่มีศีลธรรม, ความชั่วช้า |
invidious | (adj) ขัดเคือง, น่าริษยา, ไม่ยุติธรรม, ไม่เสมอหน้า, แสลงหู |
just | (adj) เที่ยงตรง, เป็นธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้อง, สมควร, สมเหตุผล |
justice | (n) ความยุติธรรม, ความเที่ยงตรง, ความถูกต้อง |
ONE-one-sided | (adj) มีด้านเดียว, เข้าข้าง, ไม่ยุติธรรม, ลำเอียง |
partial | (adj) เป็นบางส่วน, ลำเอียง, อคติ, ไม่ยุติธรรม |
partiality | (n) ความลำเอียง, ความอคติ, ความไม่ยุติธรรม |
rectitude | (n) ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม, ความถูกต้อง, ความมีศีลธรรม |
right | (n) ความยุติธรรม, สิทธิ, ความถูกต้อง, ข้อเท็จจริง, ฝ่ายขวา |
rightful | (adj) โดยชอบธรรม, ถูกกฎหมาย, ยุติธรรม |
rightly | (adv) อย่างยุติธรรม, อย่างถูกต้อง, อย่างเป็นธรรม |
unequal | (adj) ไม่เท่ากัน, ไม่ยุติธรรม, ไม่สม่ำเสมอ |
unfair | (adj) ไม่ยุติธรรม, ไม่ถูกต้อง |
unjust | (adj) ไม่ยุติธรรม, ไม่เที่ยงธรรม |
upright | (adj) ตรง, เที่ยงตรง, ยุติธรรม, ซื่อตรง |
uprightness | (n) ความซื่อตรง, ความเที่ยงตรง, ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม |
wrong | (n) ความผิด, ความชั่ว, ความอยุติธรรม, การใส่ร้ายผู้อื่น |
wrongful | (adj) ผิดพลาด, ไม่ยุติธรรม, ผิดกฎหมาย, ไม่ถูกต้อง, ผิดศีลธรรม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Court Officer | เจ้าพนักงานศาลยุติธรรม |
European Court of Justice | (name) ศาลยุติธรรมยุโรป |
extrajudicial killings | (n, jargon) การสังหารนอกกระบวนการยุติธรรม |
obstruction of justice | (n) การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม |
retributive justice | กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ |
retributive justice | (n) (ก่อนหน้านี้ที่เสนอไปผิดค่ะ) ขอแก้ไขเป็น "กระบวนการยุติธรรมเชิงแก้แค้นทดแทน", See also: A. restorative justice |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
法務省 | [ほうむしょう, houmushou] (n) กระทรวงยุติธรรม |
正義 | [せいぎ, seigi] (n) ความยุติธรรม ความถูกต้อง |
ministry of justice | [houmushou, houmushou] (n, vi, vt, modal, ver) กระทรวงยุติธรรม |
公明正大 | [こうめいせいだい, koumeiseidai] (n, adj) บริสุทธิ์ยุติธรรม |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Gerechtigkeit { f } | (n) ความยุติธรรม |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.1173 seconds, cache age: 3.024 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม