379 ผลลัพธ์ สำหรับ *พิจารณา*
ภาษา
หรือค้นหา: พิจารณา, -พิจารณา-Longdo Unapproved TH-NE-N - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
หิ่น | พิจารณา เช่น หิ่นตอง แปลว่า พิจารณาไตรตรอง |
Longdo Unapproved TH - MED
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
โรคประจำตัว | (n) ต้องไม่ใช่ underlying disease อยากอธิบายเพิ่ม แต่หากอธิบายแล้ว ใช้เวลาแล้ว ไม่ได้รับรู้ว่าได้ส่งต่อถึงการพิจารณา ก็ไม่อยากเขียนเพิ่มเติม. เคยเขียนแล้ว. |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
พิจารณา | (v) consider, See also: inquire, meditate, examine, investigate, Syn. พินิจ, ตรึกตรอง, ใคร่ครวญ, พินิจพิเคราะห์, Example: รัฐบาลพิจารณาการตัดงบประมาณด้านการฝึกอบรม และสัมมนาของราชการใหม่อีกครั้งหนึ่ง |
ผู้พิจารณา | (n) one who consider carefully, See also: one who deliberates, Syn. คนพิจารณา, Example: การรับแพทย์ประจำบ้านปีที่ 1 จะมีคณะกรรมการเป็นผู้พิจารณาจากข้อมูลในใบสมัคร, Count Unit: คน, Thai Definition: คนที่คิดในแง่มุมต่างๆ อย่างถี่ถ้วนเพื่อตัดสินใจ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
พิจาร, พิจารณ์, พิจารณา | (พิจาน, พิจาระนา) ก. ตรวจตรา, ตริตรอง, สอบสวน. |
กฎอัยการศึก | น. กฎหมายที่ให้อำนาจเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารลิดรอนสิทธิเสรีภาพบางประการของประชาชนได้ตามความจำเป็น ทั้งให้มีอำนาจหน้าที่เหนือเจ้าหน้าที่ฝ่ายพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวกับการยุทธ การระงับปราบปรามหรือการรักษาความสงบเรียบร้อย และศาลทหารมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีอาญาบางอย่างที่ประกาศระบุไว้แทนศาลพลเรือน การใช้กฎอัยการศึกจะกระทำได้เมื่อมีเหตุจำเป็นเพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยในบ้านเมือง เช่น ในกรณีเกิดสงคราม การจลาจล โดยจะให้มีผลบังคับทุกท้องที่หรือบางท้องที่ก็ได้ตามความจำเป็น. |
กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น |
กรมพระคลัง | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการคลัง การต่างประเทศ และการค้ากับต่างประเทศ รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความเกี่ยวข้องด้วยพระราชทรัพย์หลวง และคดีความต่างประเทศ, พระคลัง หรือ พระคลังกรมท่า ก็เรียก |
กรมเมือง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ในการรักษาความสงบเรียบร้อยในราชธานีและปริมณฑล ปราบปรามโจรผู้ร้าย รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีความอุกฉกรรจ์และดูแลคุก (เรือนจำ) มหันตโทษ, เวียง หรือ กรมพระนครบาล ก็เรียก |
กรมวัง | (กฺรมมะ-) น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่รักษาพระราชมนเทียร พระราชวังชั้นนอก พระราชวังชั้นใน บริหารกิจการในพระราชสำนัก และบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีที่เกี่ยวข้องกับสมใน ได้แก่ ศาลแพ่งวัง ศาลอาชญาวัง และศาลนครบาลวัง รวมทั้งบังคับบัญชาศาลมรดก |
กรรมาธิการ | (กำ-, กัน-) น. บุคคลที่สภาผู้แทนราษฎรหรือวุฒิสภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการ เพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของแต่ละสภา แล้วรายงานต่อสภา คณะกรรมาธิการมี ๒ ประเภท คือ คณะกรรมาธิการสามัญ และคณะกรรมาธิการวิสามัญ คณะกรรมาธิการสามัญประกอบด้วยบุคคลซึ่งเป็นสมาชิกของสภาล้วน ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญประกอบด้วยบุคคลผู้เป็นสมาชิกและบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภารวมกัน หรือบุคคลที่มิได้เป็นสมาชิกของสภาทั้งหมดที่สภาเลือกและตั้งเป็นคณะกรรมาธิการวิสามัญ. |
กระทรวง ๒ | ส่วนราชการที่พอเทียบได้กับกรมหรือกระทรวงในปัจจุบัน เช่น ถ้าเป็นกระทรวงแพ่ง แลฝ่ายจำเลยนั้นเป็นกรม ฝ่ายนอกให้ส่งไปแพ่งกระเสมพิจารณา, ถ้ามีผู้ร้ายลักช้างม้าผู้คนโคกระบือทรัพยสิ่งใด ๆ เปนกระทรวงนครบาลได้ว่า (สามดวง). |
กระบวน | วิธีการ เช่น จัดกระบวนพิจารณาอรรถคดีในโรงศาล, ใช้เข้าคู่กับคำ กระบิด เป็น กระบิดกระบวน. |
กระหมวด ๒ | น. จอมประสาทหัวช้าง เป็นอวัยวะสำคัญที่เกิดขนช้างฐาน ๑ ใน ๕ ฐาน คือ ขนที่หู หาง บรรทัดหลัง กระหมวดหรือโขมด ราวชัก (คือ สีข้างช้าง แต่โดยนิยมถือเอาเฉพาะแนวที่สายประโคนรัด ซึ่งถัดจากขาหน้าไปหน่อยหนึ่ง), ในการดูลักษณะช้างเผือก ใช้ตรวจขนทั้ง ๕ ฐานนี้ เป็นทางประกอบการพิจารณา. |
กลั่นกรอง | ก. คัดเลือกเอาแต่สิ่งที่เห็นว่าดีที่สุด, พิจารณาอย่างถี่ถ้วนรอบคอบ. |
กินข้าวต้มกระโจมกลาง | ก. ทำอะไรด้วยความใจร้อนไม่พิจารณาให้รอบคอบ มักเป็นผลเสียแก่ตน. |
ข้อเสนอ | น. เรื่องราวที่นำเสนอเพื่อพิจารณา. |
ข้อเสนอแนะ | น. ข้อคิดเห็นเชิงแนะนำที่เสนอเพื่อพิจารณา. |
ข่าย | ขอบเขต เช่น เรื่องนี้ไม่อยู่ในข่ายที่จะพิจารณา. |
ขุนศาล | น. ข้าราชการฝ่ายยุติธรรมตำแหน่งปลัดนั่งศาลหรือราชปลัดนั่งศาลต่าง ๆ ในราชธานี อาทิ กรมกลาโหมมีขุนประชาเสพราชปลัดนั่งศาลอาชญานอก กรมวังมีขุนอินอาญาปลัดนั่งศาลอาชญาวัง, ใช้เป็นสำนวนว่า ขุนโรงขุนศาล เช่น กฎให้แก่ขุนโรงขุนศาลผู้พิจารณาเนื้อความทุกหมู่ทุกกรมในกรุงนอกกรุงจงทั่ว (สามดวง), ขุนสาน หรือ ขุนสาร ก็ว่า. |
เขตอำนาจศาล | น. พื้นที่และอำนาจของศาลหรือผู้พิพากษาในการพิจารณาพิพากษาคดีตามที่กฎหมายบัญญัติ. |
เขม้น | (ขะเม่น) ก. เพ่ง, จ้องดู, มุ่งโดยเฉพาะ เช่น ฝ่ายผู้ได้พิจารณาว่ากล่าวบางคนก็ลำเอียงไปว่าทรัพจะได้เปนหลวง เขม้นว่ากล่าวกันโชกข่มขี่จเอาแต่ทรัพเปนหลวงจงได้ (สามดวง), มักใช้เข้าคู่กับคำ มอง เป็น เขม้นมอง หรือ มองเขม้น, (โบ) เขียนเป็น ขเม่น ก็มี เช่น ขเม่น, คือ คนฤๅสัตวแลดูสิ่งของใด ๆ เพ่งตาดูไม่ใคร่จะกพริบ (ปรัดเล). |
คณะกรรมาธิการ | น. คณะบุคคลที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งเพื่อกระทำกิจการ พิจารณาสอบสวน หรือศึกษาเรื่องใด ๆ อันอยู่ในอำนาจหน้าที่ของสภา แล้วรายงานต่อสภา. |
คณะกรรมาธิการร่วมกัน | น. คณะกรรมาธิการของรัฐสภาที่สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภาเลือกและแต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อพิจารณาหรือดำเนินการเรื่องใดที่รัฐสภามอบหมาย. |
คดี | เรื่องหรือความที่ฟ้องร้องหรือกล่าวหากันในทางกฎหมาย ซึ่งต้องดำเนินการตามกระบวนวิธีพิจารณาความตามที่กฎหมายกำหนด เช่น คดีแพ่ง คดีอาญา คดีปกครอง. |
คบคนให้ดูหน้าซื้อผ้าให้ดูเนื้อ | ก. จะพิจารณาคนหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้พิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบ. |
คำฟ้อง | น. กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาลไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ. |
คิดตก | ก. พิจารณาจนเห็นจริงแล้วปล่อยไปตามสภาพ |
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
ใคร่ครวญ | (ไคฺร่คฺรวน) ก. ตรึกตรอง, พิจารณา, คิดทบทวน. |
จตุปาริสุทธิศีล | (-ปาริสุดทิสีน) น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). |
จรวดไจร | (จะหฺรวดจะไร) ก. ตรวจดู, พิจารณาดู, เช่น ทังทุ่มทู้ต่างย้าง จรวจไจร (ยวนพ่าย). |
จริยศาสตร์ | น. ปรัชญาสาขาหนึ่งว่าด้วยการแสวงหาความดีสูงสุดของชีวิตมนุษย์ แสวงหาเกณฑ์ในการตัดสินความประพฤติของมนุษย์ว่าอย่างไหนถูกไม่ถูก ดีไม่ดี ควรไม่ควร และพิจารณาปัญหาเรื่องสถานภาพของค่าทางศีลธรรม. |
จารีตนครบาล | น. วิธีไต่สวนพิจารณาคดีนครบาลซึ่งเป็นคดีโจรผู้ร้ายหรือคดีที่มีโทษหลวง เมื่อคนร้ายจนต่อพยานหลักฐานแล้วแต่ยังไม่ยอมรับสารภาพ โดยให้ใช้ได้ตามเงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด เช่น เฆี่ยน แต่ไม่ให้ถึงแก่ชีวิต. |
จิตตานุปัสสนา | น. การพิจารณาจิตเป็นอารมณ์เป็นข้อ ๑ ในสติปัฏฐาน ๔. |
เจว็ด | โดยปริยายหมายความว่า ผู้ที่ได้รับยกย่องให้เป็นประธานหรือเป็นใหญ่ แต่ไม่มีอำนาจ เช่น ประธานไม่ได้เป็นเจว็ด ต้องมีสิทธิ์พิจารณาเรื่องที่เสนอได้ |
เจ้าพนักงานบังคับคดี | น. เจ้าพนักงานผู้มีอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อคุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างการพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล. |
ใจเร็ว | ว. ตกลงใจอย่างรวดเร็วโดยไม่พิจารณาให้รอบคอบ. |
ชำระ | พิจารณาตัดสิน เช่น ชำระความ |
ชู้เหนือผัว | น. ชายที่ลอบได้เสียกับหญิงซึ่งสามียังมีชีวิตอยู่ เช่น หญิงใดทำชู้เหนือผัว ผัวจับชู้ได้มิทันพิจารณาบันดาลโกรธตีด่าฆ่าฟันแทงชายชู้นั้นตาย (สามดวง ลักษณ-ผัวเมีย). |
ฎีกา | การคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด |
ดำเนินคดี | ร้องทุกข์ กล่าวโทษ สอบสวน ฟ้องคดี หรือพิจารณาพิพากษาคดี ตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ. |
ดำรวจ | (-หฺรวด) ก. ตรวจตรา, พิจารณา, เขียนเป็น ดำรวด ก็มี เช่น ฝ่ายคนผู้ข้าได้ดำรวดดารทาน (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ดู | ก. ใช้สายตาเพื่อให้เห็น เช่น ดูภาพ ดูละคร, ระวังรักษา เช่น ดูบ้านให้ด้วย ไม่มีคนดูเด็ก, พินิจพิจารณา เช่น ดูให้ดี |
ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. |
ดูวัวให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ | ก. ให้รู้จักพิจารณาผู้หญิงที่จะเลือกเป็นคู่ครองโดยดูจากนิสัยใจคอและความประพฤติของมารดา, ดูช้างให้ดูหาง ดูนางให้ดูแม่ ก็ว่า. |
ตจปัญจก-กรรมฐาน | (ตะจะปันจะกะกำมะถาน) น. กรรมฐานอันบัณฑิตกำหนดด้วยอาการมีหนังเป็นลำดับที่ ๕ เป็นอารมณ์ คือ กรรมฐานที่ท่านสอนให้พิจารณาส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้แก่ ๑. ผม ๒. ขน ๓. เล็บ ๔. ฟัน และ ๕. หนัง ให้เห็นว่าเป็นของไม่เที่ยง. |
ตรวจ | (ตฺรวด) ก. พิจารณาดูความเรียบร้อย เช่น ตรวจพล ตรวจราชการ, พิจารณาดูว่าถูกหรือผิด ดีหรือร้าย เป็นต้น เช่น ตรวจบัญชี ตรวจแบบฝึกหัด ตรวจดวงชะตา, พิจารณาหาสมุฏฐาน เช่น ตรวจโรค, สำรวจ เช่น ตรวจพื้นที่. |
ตรวจข่าว | ก. พิจารณาข่าวว่าควรอนุญาตให้พิมพ์ได้หรือไม่, พิจารณาข่าวที่ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์แล้ว. |
ตรวจตรา | ก. พิจารณาดูให้รอบคอบถี่ถ้วน. |
ตัดประเด็น | ก. ตัดข้อความสำคัญบางเรื่องที่หยิบยกขึ้นพิจารณาออก เช่น คดีนี้ตำรวจตัดประเด็นชู้สาวออก. |
ตื่นตูม | ก. ตกใจโดยไม่ได้พิจารณา เช่น กระต่ายตื่นตูม. |
ตุลาการ | น. ผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี. |
ถก | โดยปริยายหมายความว่า ยกเอาขึ้นมาพิจารณากันด้วยเหตุผล เช่น ถกปัญหา. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
privileged question | ปัญหาที่จะได้รับการพิจารณาก่อน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [ ดู adjective law ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
procedural law | กฎหมายวิธีพิจารณาความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedure | วิธีพิจารณาความ, วิธีดำเนินการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public trial | การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย [ ดู trial in open court ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
public trial | การพิจารณาคดีโดยเปิดเผย [ ดู open court ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pais, trial per; per pais, trial | การพิจารณาคดีในท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pendens lis (L.); pending actions | คดีซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pendente lite (L.) | คดีค้างระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pending actions; pendens lis (L.) | คดีซึ่งอยู่ในระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
plenary action | การพิจารณาเต็มรูป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peremptory day | วันนัดพิจารณาคดีที่แน่นอน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
procedure, grievance | วิธีพิจารณาเรื่องร้องทุกข์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา๒. รายงานการประชุม [ ดู minutes และ verbatim ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
proceedings | ๑. กระบวนพิจารณา (ก. วิ)๒. รายงานการประชุม (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proceedings, interlocutory | กระบวนพิจารณาเบื้องต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
postpone indefinitely, motion to | ญัตติขอให้เลื่อนการพิจารณาไปโดยไม่มีกำหนด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postponement of trial | การเลื่อนการพิจารณาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pleading, trial without | การพิจารณาโดยไม่ต้องสืบพยาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pre-sentence hearing | การนั่งพิจารณาก่อนพิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
proceedings, legal | กระบวนพิจารณาตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
power, rule-making | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
per pais, trial; pais, trial per | การพิจารณาคดีในท้องถิ่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
peers, trial by | การพิจารณาโทษโดยบรรดาขุนนางด้วยกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lack of jurisdiction | การไม่มีอำนาจพิจารณาคดี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legal proceedings | กระบวนพิจารณาตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lex fori (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่ศาลซึ่งพิจารณาคดีตั้งอยู่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lis abili pendens (L.) | คดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลอื่น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
lis pendens (L.) | คดีที่อยู่ระหว่างการพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
law, procedural | กฎหมายวิธีพิจารณาความ, กฎหมายวิธีสบัญญัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Lloyd's Underwriter | ผู้พิจารณารับประกันภัยของสถาบันลอยด์ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retrial | การพิจารณาคดีใหม่ [ ดู re-hearing ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right of audience | สิทธิที่เข้าฟังการพิจารณาของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
re-hearing | การพิจารณาคดีใหม่ (โดยศาลเดิม) [ ดู retrial ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule out | ไม่พิจารณา, ชี้ขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reading | วาระในการพิจารณาร่างกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reading | วาระ (ในการพิจารณาร่างกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reo absente (L.) | การพิจารณาลับหลังจำเลย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reopening a case | การรื้อฟื้นคดีขึ้นพิจารณาใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reference | ๑. การส่งร่างกฎหมายให้คณะกรรมาธิการพิจารณา๒. การมอบคดีให้ทนายความที่ศาลตั้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ)๒. การเลื่อนการนั่งพิจารณาคดี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
recess | ๑. การพักการนั่งพิจารณา (ก. วิ.)๒. การพักการประชุม (สภานิติบัญญัติ) (ก. รัฐธรรมนูญ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
review, judical | การพิจารณาทบทวนโดยศาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reconsider | พิจารณาใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reconsider, motion to | ญัตติขอให้พิจารณาใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reconsideration | การพิจารณาใหม่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Rules, Committee on | คณะกรรมาธิการพิจารณาข้อบังคับของสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rule-making power | ๑. อำนาจออกกฎข้อบังคับ๒. อำนาจศาลสูงสุดในการวางหลักเกี่ยวกับวิธีพิจารณาความ (อเมริกัน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remand | ๑. การย้อนสำนวนไปยังศาลล่าง (ก. วิ.) [ ดู remission ความหมายที่ ๓ ]๒. การขังระหว่างพิจารณา (ป. วิ. อาญา) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sittings | การนั่งพิจารณา, ครั้งประชุม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Preinvestment study | การพิจารณาศึกษาก่อนการลงทุน [เศรษฐศาสตร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
X-ray fluorescence analysis | การวิเคราะห์ธาตุโดยการเรืองรังสีเอกซ์, การวิเคราะห์ธาตุในสารตัวอย่าง โดยพิจารณาจากสเปกตรัมซึ่งแสดงค่าพลังงานและความเข้มของรังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะที่เกิดขึ้นจากการเรืองรังสีเอกซ์ของธาตุนั้นๆ การวิเคราะห์นี้สามารถบอกชนิด และปริมาณธาตุได้ถึงระดับส่วนในล้านส่วน [นิวเคลียร์] |
syntax error | ผิดไวยากรณ์, ความผิดพลาดในโปรแกรมอันเกิดจากการสะกดคำสั่งผิดบ้าง หรือใช้รูปแบบคำสั่งผิดบ้าง โปรแกรมทีเขียนด้วยภาษาระดับสูงนั้นจะต้องนำไปแปลเป็นภาษาเครื่องก่อนจึงจะนำไปใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ได้ ในการแปลนั้นตัวแปลภาษาจะตรวจสอบการใช้ไวยากรณ์ในโปรแกรมนั้นไปด้วย ถ้าหากมีที่ผิดตัวแปลภาษาก็จะรายงานความผิดพลาดให้ทราบ เพื่อที่เราจะได้นำไปพิจารณาแก้ไข [คอมพิวเตอร์] |
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
Pending | ช่วงระยะเวลาที่สำนักงานสิทธิบัตรกำลังพิจารณา ยังไม่ตัดสินว่าจะให้สิทธิหรือปฏิเสธแก่การประดิษฐ์ [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Continuation | การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้, Example: การดำเนินการยื่นต่อแบบต่อเนื่องหลังจากถูกค้างการพิจารณาไว้ ส่วนใหญ่เกิดที่สหรัฐอเมริกาโดยที่ส่วนข้อขอถือสิทธิต้องเหมือนต้นฉบับเดิม [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Preliminary Examination | สำนักงานสิทธิบัตรทำการพิจารณาเอกสารสิทธิบัตรในขั้นตอนแรกสุด, สำนักงานสิทธิบัตรทำการพิจารณาเอกสารสิทธิบัตรในขั้นตอนแรกสุด, Example: เพื่อตรวจสอบข้อมูลรายละเอียดต่าง ๆ ถึงความเหมาะสมและจัดทำรายงานสรุปออกมา [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
Administrative procedure | วิธีพิจารณาคดีปกครอง [TU Subject Heading] |
Civil procedure | วิธีพิจารณาความแพ่ง [TU Subject Heading] |
Class actions (Civil procedure) | การฟ้องคดีในนามกลุ่มบุคคล (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Administrative procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาคดีปกครอง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Civil procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความแพ่ง) [TU Subject Heading] |
Complaints (Criminal procedure) | การร้องทุกข์ (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Consideration (Law) | การพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Court congestion and delay | คดีล้นศาลและความล่าช้าในการพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Criminal procedure | วิธีพิจารณาความอาญา [TU Subject Heading] |
Criminal procedure (International law) | วิธีพิจารณาความอาญา (กฎหมายระหว่างประเทศ) [TU Subject Heading] |
Defense (Criminal procedure) | การป้องกัน (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Fair trial | การพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Judgments by default | การพิจารณาโดยขาดนัด [TU Subject Heading] |
New Trials | การพิจารณาและตัดสินคดีใหม่ [TU Subject Heading] |
Pleading (Criminal procedure) | คำให้การ (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Pleas (Criminal procedure) | คำให้การแก้ฟ้อง (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Pre-trial procedure | วิธีการก่อนพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Preliminary examinations (Criminal procedure) | การไต่สวนมูลฟ้อง (วิธีพิจารณาความอาญา) [TU Subject Heading] |
Psychotherapy, Rational-Emotive | จิตบำบัดตามแนวพิจารณาเหตุผลอารมณ์และพฤติกรรม [TU Subject Heading] |
Speedy trial | การพิจารณาคดีอย่างรวดเร็ว [TU Subject Heading] |
Summary proceedings | กระบวนพิจารณาคดีแบบรวบรัด [TU Subject Heading] |
Trial practice | ระเบียบปฎิบัติการพิจารณาคดี [TU Subject Heading] |
Trials | การพิจารณาและตัดสินคดี [TU Subject Heading] |
Trials (Assassination) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การลอบฆ่า) [TU Subject Heading] |
Trials (Fraud) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อโกง) [TU Subject Heading] |
Trials (Kidnapping) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การจับกุมตัวเรียกค่าไถ่) [TU Subject Heading] |
Trials (Libel) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยลายลักษณ์อักษร) [TU Subject Heading] |
Trials (Military offenses) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดทางทหาร) [TU Subject Heading] |
Trials (Misconduct in office) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การฉ้อราษฎร์บังหลวง) [TU Subject Heading] |
Trials (Murder) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ฆาตกรรม) [TU Subject Heading] |
Trials (Offenses against the enviornment) | การพิจารณาและตัดสินคดี (ความผิดเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม) [TU Subject Heading] |
Trials (Rape) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การข่มขืน) [TU Subject Heading] |
Trials (Slander) | การพิจารณาและตัดสินคดี (การหมิ่นประมาทด้วยวาจา) [TU Subject Heading] |
Trials, litigation, etc. | การพิจารณาและตัดสินคดี, การฟ้องร้อง, ฯลฯ [TU Subject Heading] |
ASEAN-Canada Business Council | การประชุมสภาธุรกิจอาเซียน-แคนาดา มีการประชุมทุกปีในระหว่างการประชุมสภาหอการค้าและอุตสาหกรรมอาเซียน เพื่อพิจารณาปัญหาและอุปสรรคในการติดต่อค้าขาย และการร่วมลงทุนระหว่างกัน ตลอดจนเสนอแนะแนวทางของความร่วมมือ [การทูต] |
Accession | การภาคยานุวัติ คือการที่รัฐหนึ่งเข้าไปเป็นภาคีสนธิสัญญา ซึ่งรัฐอื่น ๆ ได้วินิจฉัยตกลงก่อนแล้วและสนธิสัญญานั้นได้มีผลใช้บังคับก่อนแล้วด้วย บางที่ใช้คำ ?accession? ซึ่งตรงกับคำในภาษาฝรั่งเศสว่า ?adhésion? รัฐจะเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาไม่ได้ นอกจากว่าในสนธิสัญญานั้นมีบทบัญญัติยอมให้รัฐอื่นเข้ามาเป็นภาคีด้วยได้ เช่น มาตรา 4 ของกฎบัตรแห่งสหประชาชาติบัญญัติไว้ว่า?(1) สมาชิกภาพในสหประชาชาติ เปิดรับบรรดารัฐอื่นๆ ทั้งหลายที่ยอมรับพันธกรณีที่ระบุไว้ในกฎบัตรปัจจุบันและองค์การสหประชาชาติ พิจารณาวินิจฉัยแล้วว่า รัฐนั้น ๆ สามารถและเต็มใจที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีเหล่านั้น??(2) การรับรัฐใดๆ ดังกล่าวเข้าเป็นสมาชิกในสหประชาชาติจะเป็นผลสำเร็จก็ต่อเมื่อสมัชชาสหประชา ชาติได้ลงมติรับรองตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง? คือ เอกสิทธิ์ทางการทูตในการที่จะได้มีถิ่นพำนัก [การทูต] |
Ad hoc | เพื่อวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายโดยเฉพาะ เช่น คณะกรรมการการเมืองพิเศษของสหประชาชาติ ซึ่งมีหน้าที่พิจารณาเรื่องต่าง ๆ โดยเฉพาะ ตามที่รับมอบหมายจากสมัชชาสหประชาชาตินั้น แต่เดิมมีชื่อว่าคณะกรรมการการเมืองเฉพาะเรื่อง (Ad hoc Committee) [การทูต] |
ASEAN Economic Ministers Meeting | การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน เป็นการประชุมระดับรัฐมนตรีพาณิชย์หรือรัฐมนตรีด้านการ ค้าต่างประ- เทศ ปกติจัดขึ้นปีละครั้งประมาณเดือนกันยายน/ตุลาคมของทุกปี เพื่อหารือ ทบทวนและพิจารณากำหนดแนวทางความร่วมมือทางเศรษฐกิจของอาเซียน [การทูต] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Commencement of the Functions of the Head of Diplomatic Mission | การเริ่มต้นรับหน้าที่ของหัวหน้าคณะผู้แทนทางการ ทูต กล่าวคือ เมื่อหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตเดินทางไปถึงนครหลวงของประเทศผู้รับแล้ว ควรรีบแจ้งให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศทราบว่า ตนได้เดินทางมาถึงแล้วและขอนัดเยี่ยมคารวะ ตามปกติกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นหน้าที่ของอธิบดีกรมพิธีการทูตจะดำเนินการตระเตรียมให้หัวหน้าคณะ ผู้แทนทางการทูตได้เข้ายื่นสารตราตั้งต่อไประหว่างนั้น หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตจะต้องไม่ไปพบเยี่ยมผู้ใดเป็นทางการ จนกว่าจะได้ยื่นสารตราตั้งเรียบร้อยแล้ว อย่างไรก็ดี หัวหน้าคณะผู้แทนอาจขอพบเป็นการภายในกับหัวหน้าของคณะทูตานุทูต (Dean หรือ Doyen of the Diplomatic Corps) ได้ เพื่อขอทราบพิธีการปฏิบัติในการเข้ายื่นสารตราตั้งต่อประมุขของประเทศผู้รับ เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนา ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 13 ว่า1. พึงถือได้ว่าหัวหน้าคณะผู้แทนได้เข้ารับภารกิจหน้าที่ของตนในรัฐผู้รับ เมื่อตนได้ยื่นสารตราตั้งหรือเมื่อตนได้บอกกล่าวการมาถึงของตน พร้อมทั้งได้เสนอสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้งต่อกระทรวงการต่างประเทศของ รัฐผู้รับ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกันในแนวปฏิบัติที่มีอยู่ในรัฐผู้รับ ซึ่งจะต้องใช้ในทำนองอันเป็นเอกรูป2. ลำดับของการยื่นสารตราตั้ง หรือสำเนาที่ถูกต้องของสารตราตั้ง จะได้พิจารณากำหนดตามวันและเวลาของการมาถึงของหัวหน้าคณะผู้แทน [การทูต] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยมิได้พิจารณา | [dōi midāi phitjāranā] (adv) EN: without thinking |
เอกสารประกอบการพิจารณา | [ēkkasān prakøp kān phijāranā] (n, exp) EN: supporting documents ; records ; material |
ห้องพิจารณาคดี | [hǿng phijāranā khadī] (n, exp) EN: courtroom FR: salle d'audience [ f ] |
การขังระหว่างพิจารณา | [kān khang rawāng phitjāranā] (n, exp) EN: remand |
การขาดนัดพิจารณา | [kān khāt nat phijāranā] (n) EN: default |
การพิจารณา | [kān phijāranā] (n) EN: meditation |
การพิจารณาใหม่ | [kān phijāranā mai] (n, exp) EN: revision |
การพิพากษาในกรณีจำเลยขาดนัดพิจารณา | [kān phiphāksā nai karanī jamloēi khāt nat phijāranā] (n, exp) EN: judgement by default |
การพิจารณา | [kān phitjāranā] (n) EN: consideration ; meditation FR: considération [ f ] |
การพิจารณาคดี | [kān phitjāranā khadī] (n, exp) EN: hearing |
การพิจารณาคดีโดยการทรมาน | [kān phitjāranā khadī dōi kān thøramān] (n, exp) EN: trial by ordeal |
การพิจารณาคดีใหม่ | [kān phitjāranā khadī mai] (n, exp) EN: retrial |
การพิจารณาความผิดทางวินัย | [kān phitjāranā khwāmphit thāng winai] (n, exp) EN: disciplinary action |
การพิจารณาใหม่ | [kān phitjāranā mai] (n, exp) EN: revision |
การตรวจพิจารณาตามวาระ | [kān trūat phijāranā tāmwāra] (n, exp) EN: routine inspection [ f ] FR: examen de routine [ m ] |
คณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน | [khanakammakān phitjāranā khā tøpthaēn] (n, exp) EN: renumeration committee ; compensation committee |
ขาดความพิจารณา | [khāt khwām phijāranā] (v, exp) EN: lack judgement |
ขาดนัดพิจารณา | [khāt nat phijāranā] (x) EN: default |
ข้อพิจารณา | [khø phitjāranā] (n, exp) EN: point worth considering |
ความพิจารณา | [khwām phijāranā] (n) EN: consideration ; judgement FR: jugement [ m ] |
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา | [kotmāi withī phijāranā khwām āyā] (n, exp) EN: criminal procedure code ; criminal procedure law ; criminal procedure |
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง | [kotmāi withī phijāranā khwām phaeng] (n, exp) EN: civil procedure code ; civil procedure law ; law of civil procedures FR: code de procédure civile [ f ] |
กระบวนการพิจารณา | [krabūankān phijāranā] (n, exp) EN: proceedings |
กระบวนการพิจารณาคดี | [krabūankān phijāranā khadī] (n, exp) EN: court proceedings |
กระบวนการพิจารณาตามกฎหมาย | [krabūankān phijāranā tām kotmāi] (n, exp) EN: legal proceedings |
น่าพิจารณา | [nāphitjāranā] (adj) EN: worth considering FR: prenable en compte |
พิจารณา | [phijāranā] (v) EN: consider ; inquire ; meditate ; examine ; investigate ; judge ; peruse FR: considérer ; étudier ; examiner ; évaluer ; juger |
พิจารณาเห็น ว่า... | [phijāranā hen wā …] (v, exp) EN: it's considered that ... FR: on considère que ... |
พิจารณาคดี | [phijāranā khadī] (v, exp) EN: institute criminal proceedings |
พิจารณาคดีใหม่ | [phijāranā khadī mai] (v, exp) EN: retry FR: juger à nouveau |
พิจารณาข้อเสนอ | [phijāranā khøsanōe] (v, exp) EN: consider a proposal FR: étudier une proposition |
พิจารณาใหม่ | [phijāranā mai] (v, exp) EN: recon sider FR: reconsidérer |
พิจารณารอบคอบ | [phijāranā røpkhøp] (v, exp) EN: look at something from every angle FR: étudier sous tous les angles |
พิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วน | [phijāranā yāng la-īet thīthūan] (v, exp) EN: examine very carefully FR: examiner minutieusement |
พิจารณาอย่างสุขุม | [phijāranā yāng sukhum] (v, exp) EN: consider carefully |
วิธีพิจารณา | [withī phijāranā] (n) EN: procedure FR: procédure [ f ] |
วิธีพิจารณาคดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญา | [withī phijāranā khadī nai sān sapsin thāng panyā] (n, exp) EN: intellectual property procedure |
วิธีพิจารณาคดีในศาลแรงงาน | [withī phijāranā khadī nai sān raēng-ngān] (n, exp) EN: ? FR: ? |
วิธีพิจารณาความอาญา | [withī phijāranā khwām āyā] (n, exp) EN: criminal procedure FR: procédure criminelle [ f ] |
วิธีพิจารณาความแพ่ง | [withī phijāranā khwām phaeng] (n, exp) EN: civil procedure FR: procédure civile [ f ] |
อยู่ในระหว่างการพิจารณา | [yū nai rawāng kān phitjāranā] (v, exp) EN: be under consideration |
Longdo Approved EN-TH
Central Bankruptcy Court | (n, name, org, uniq) ศาลล้มละลายกลาง เป็นศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ - อ้างอิงจากhttp://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
account | (vt) พิจารณา, See also: ประเมินค่า, Syn. consider, judge, value |
adjudicate | (vt) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน |
adjudicate | (vi) วินิจฉัย, See also: พิจารณา, ตัดสิน, Syn. judge, adjudge |
advised | (adj) ซึ่งพิจารณามาแล้ว, Syn. thought out, considered, well-considered |
advisedly | (adv) อย่างพิจารณาแล้ว, Syn. thoughtfully, consciously, intentionally |
advisement | (n) การพิจารณาอย่างละเอียด, See also: การคิดอย่างรอบคอบ |
afterthought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought |
after-thought | (n) ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, Syn. second thought, reconsideration, after-thought |
analyse | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, นำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. analyze, resolve into elements |
analysis | (n) การวิเคราะห์, See also: การพิเคราะห์, การนำมาแยกเป็นส่วนๆ เพื่อพิจารณาในประเด็นต่างๆ, Syn. separation, breakdown |
analyze | (vt) วิเคราะห์, See also: ศึกษา, ตรวจสอบ, พิจารณา, Syn. analyse, examine, resolve into elements |
angle | (n) แง่มุมในการพิจารณา, See also: แง่ ความเห็น, มุมมอง, Syn. standpoint, outlook, perspective |
apart | (adv) โดยไม่พิจารณา |
attention | (n) การคำนึงถึง, See also: การพิจารณาอย่างสนใจ |
all in all | (idm) โดยรวม, See also: ดูโดยรวม, พิจารณาจากทั้งหมดแล้ว |
allow for | (phrv) พิจารณา, See also: ไตร่ตรอง, คิดพิจารณา |
ascribe to | (phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. arbitrate to |
at the end of the day | (idm) เมื่อไตร่ตรองทุกอย่างแล้ว (ใช้กล่าวก่อนเข้าสู่สิ่งสำคัญ), See also: เมื่อพิจารณาทุกอย่างแล้ว |
attribute to | (phrv) พิจารณาว่าเขียนโดย, See also: น่าจะมาจาก, คิดว่าเขียนโดย, คิดว่าเป็นของ, Syn. ascribe to |
bar | (n) บัลลังก์ศาล, See also: ที่พิจารณาคดี, คอก |
bat around | (phrv) พิจารณาอย่างถี่ถ้วน (คำไม่เป็นทางการ), See also: อภิปรายอย่างละเอียด |
be out | (phrv) ไม่ได้รับการพิจารณา, See also: ไม่ต้องพูดถึง, Syn. be out of |
be out of the question | (idm) ไม่ต้องพูดถึง, See also: ไม่สามารถพิจารณาได้, Syn. be out |
be the last person | (idm) คนสุดท้าย (ที่จะให้จัดการกับปัญหา), See also: คนสุดท้ายที่จะพิจารณา |
be up for | (phrv) ได้รับพิจารณา, Syn. come up for, put up |
bear in mind | (idm) พิจารณา, See also: จำไว้, ไตร่ตรอง, คิด, Ant. คิดถึง, นึกถึง |
believe in | (phrv) พิจารณาว่าเป็นจริง, See also: เห็นว่าเป็นจริง |
broach to | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
broach with | (phrv) เสนอให้พิจารณา |
calculated | (adj) ที่คิดพิจารณาไว้แล้ว, See also: ที่ทำไปโดยคิดถึงผลที่จะเกิดขึ้นไว้แล้ว, Syn. estimated |
caveat | (n) คำเตือนเพื่อให้พิจารณาก่อนทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจะได้ไม่ผิดพลาด, Syn. warning, alert, caution |
clinch | (vt) ตัดสินใจ (หลังจากที่พิจารณาอย่างมาก) |
cogitate | (vt) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
cogitate | (vi) พินิจพิเคราะห์, See also: ใคร่ครวญ, พิจารณา, ขบคิด, Syn. consider, contemplate, meditate, ponder |
consider | (vt) พิจารณา, See also: คิดอย่างละเอียด, Syn. think, reconsider, study |
consider | (vi) พิจารณา, See also: คิดอย่างละเอียด |
consideration | (n) การคิดพิจารณา, Syn. deliberation, thought, forethought |
considered | (adj) ที่พิจารณาอย่างถี่ถ้วน, Syn. determined, carefully, thought about |
contemplate | (vt) พิจารณา, See also: คิด, Syn. consider, envision |
contemplation | (n) การพิจารณาใคร่ครวญ, See also: การเพ่งพินิจ, การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง |
count | (vi) พิจารณา |
count | (vt) พิจารณา |
count | (vi) รวมเข้าไปด้วย, See also: พิจารณารวมไปด้วย |
count | (vt) รวมเข้าไปด้วย, See also: พิจารณารวมไปด้วย, Syn. include |
courtroom | (n) ห้องพิจารณาคดี |
cater for | (phrv) พิจารณา, See also: ไตร่ตรอง |
chew on | (phrv) ทบทวน, See also: พิจารณาซ้ำ, ไตร่ตรอง, Syn. bite on |
chew upon | (phrv) ทบทวน, See also: พิจารณาซ้ำ, ไตร่ตรอง, Syn. bite on |
commune with | (phrv) ใคร่ครวญ, See also: ไตร่ตรอง, คิดพิจารณา |
consider as | (phrv) คิดว่าเป็น, See also: พิจารณาว่าเป็น |
Hope Dictionary
account | (อะเคานทฺ') n., vi. บัญชี, หนี้, รายงาน, สาเหตุ, คำอธิบาย, เรื่องราว, ลูกค้า, ทำบัญชี, ชี้แจงรายการ, อธิบาย, จับ, สังหาร, ทำให้เกิด, นับ, พิจารณา, ถือเหตุ, ถือสา, Syn. description, narrative, consider, regard, rate |
adjudicate | (อะจู' ดิเคท) vt., vi. (ศาล) สั่งตัดสินใจให้, พิจารณาลงโทษ, ชี้ขาด, Syn. adjudge |
advised | (แอดไวซดฺ') adj. ซึ่งพิจารณามาแล้ว, ทราบแล้ว. -advisedness n., Syn. considered |
advisedly | (แอดไว' ซิดลี่) adv. หลังจากการพิจารณาแล้ว, ตั้งใจ, Syn. deliberately |
aftertaste | (อาฟ' เทอะธอท, แอฟ-') n. ความคิดหรือการพิจารณาภายหลัง, ความคิดที่ล่าช้า, สิ่งเพิ่มเติมที่ไม่ได้คิดมาก่อน, Syn. addendum |
alcalde | (แอลแคล' ดี) n., (pl. -des) นายกเทศมนตรีที่มีอำนาจพิจารณาคดี., Syn. alcade |
allow | (อะเลา') vt., vi. ยอมให้, อนุญาตให้, จ่ายให้, ยกให้, พิจารณา, คิด, ให้อภัย, เพื่อให้, Syn. permit, confess, Ant. refuse, deny, withhold |
allowance | (อะเลา' เอินซฺ) n. การยินยอม, การอนุญาตให้, สิ่งที่ได้รับส่วนแบ่ง, เงินส่วนแบ่ง, เงินช่วยเหลือ, เงินค่าใช้จ่าย, ส่วนเสริม, การอดทน, การยอมรับ, การพิจารณา, การให้อภัย. vt. เพื่อให้, จัดให้, จัดสรร, Syn. share, allotment |
anvil | (แอน'วิล) n. ทั่งตีเหล็ก -on the anvil ในระหว่างการพิจารณา (an iron block) |
appellate | (อะเพล'เลท) adj. เกี่ยวกับการอุทธรณ์, ซึ่งมีอำนาจพิจารณารับการอุทธรณ์ |
assize | (อะไซซ') n. สภานิติบัญญัติ, ศาลอังกฤษที่พิจารณาความโดยข้าหลวงพิเศษ, คำสั่งหรือคำพิพากษาของศาลชนิดนี้, การไตร่สวน, การนั่งพิจารณาคดี, มาตราการกำหนดราคาสินค้า |
attention | (อะเทน'เชิน) n. การเอาใจใส่, ความสนใจ, การเอาอกเอาใจ, การดูแล, การพิจารณา, คำสั่งให้ยืนตรง (แถวทหาร) , การมีคำสั่งดังกล่าว |
bat | (แบท) 1. { batted, batting, bats } n. กระบองสั้น, ไม้ตีลูกบอล, การตี, แผ่นอิฐ, ก้อนดินเหนียว, ความเร็ว, ก้าว, ค้างคาว, โสเภณี vt. ตีด้วยไม้, ได้คะแนนตีถูกลูก, พิจารณาหรืออธิบายอย่างละเอียด vi. ตีด้วยไม้, ถึงตาตีลูก 2. ใช้เป็นนามสกุล (file type) ของแฟ้มคำสั่งรวม หรือที่เรียกว่า batch file เช่น autoexec.bat ดู batch file ประกอบ |
bethink | (บิธิงคฺ') { bethought, bethought } vt. ทำให้ต้องพิจารณา, ทำให้ระลึกถึง, Syn. recollect |
cogitate | (คอจ'จิเทท) v. พิจารณาอย่างรอบคอบ, ไตร่ตรอง, See also: cogitator n. |
cogitation | (คอจจิเท'เชิน) n. การพิจารณา, แผนงาน, โครงการ, การรับรู้, สิ่งที่ถูกรับรู้ |
cogitative | (คอจ'จิเททิฟว) adj. ซึ่งไตร่ตรอง, ซึ่งพิจารณา, ซึ่งรับรู้., See also: cogitativeness n. |
cognizable | (คอก'นิซะเบิล) adj. ซึ่งสามารถรับรู้หรือรู้ได้, ภายในขอบเขตอำนาจการพิจารณาของศาล, Syn. cognisable |
cognizance | n. การรับรู้, การยอมรับ, การสังเกต, คำสั่งศาล, อำนาจการพิจารณาคดี, อำนาจศาล, วงความรู้, ขอบข่ายของการสังเกต, Syn. cognisance |
commitment | (คะมิท'เมินทฺ) n. การมอบ, การมอบหมาย (หน้าที่ความไว้วางใจ) , การส่งให้พิจารณา, การกักตัวไว้ในโรงพยาบาลโรคจิต, การส่งเข้าคุก, การให้คำมั่นสัญญา, คำสั่งศาลให้กักหรือเข้าคุก, การกระทำความผิด, การพัวพัน, การเข้าสู่สงคราม., Syn. committal, delive |
consider | (คันซิด'เดอะ) { considered, considering, considers } vt. พิจารณา, ครุ่นคิด, คิด, คำนึงถึง, See also: considerer n. ดูconsider, Syn. examine, ponder |
considerable | (คันซิด'เดอระเบิล) adj. ค่อนข้างใหญ่, ค่อนข้างมาก, น่าพิจารณา, น่านับถือ. n.จำนวนมาก, จำนวนไม่น้อย, See also: considerably adv. ดูconsiderable, Syn. large, Ant. trifling |
considerate | (คันซิด'เดอเรท) adj. ซึ่งพิจารณาอย่างรอบคอบ, เห็นอกเห็นใจ, ที่คิดถึงคนอื่น, See also: considerateness n. ดูconsiderate, Syn. thoughtful, Ant. inconsiderate |
consideration | (คันซิดเดอเร'เชิน) n. การพิจารณา, การครุ่นคิด, สิ่งที่ควรพิจารณา, การชดเชย, ความเห็นใจคนอื่น, ความสำคัญ, ความนับถือ, Syn. thinking |
considered | (คันซิด'เดอดฺ) adj. ซึ่งได้รับการพิจารณา, เป็นที่นับถือ |
considering | (คันซิด'เดอริง) prep. เกี่ยวกับ, ในด้าน, เมื่อพิจารณาถึง. -adv. เมื่อพิจารณาถึงทุกสิ่งแล้ว |
consult | (คันซัลทฺ') { consulted, consulting, consults } v. ปรึกษา, หารือ, ขอความเห็น, ปรึกษาหมอ, พิจารณา, ปรึกษากับตรวจ, ค้น n. (คอน'ซัลทฺ, คันซัลทฺ') การปรึกษา, See also: consultable adj. ดูconsult consulter n., Syn. confer |
contemplation | (คอนเทมเพล'เชิน) n. การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณาอย่างระมัดระวัง, เจตนา, ความมุ่งหมาย, การอธิษฐาน, การเข้าญาน, Syn. thought |
counterpoise | (เคา'เทอะพอยซฺ) n. น้ำหนักสำหรับถ่วง, เครื่องถ่วง, อำนาจหรือแรงถ่วงที่เท่าเทียมกัน, ดุลยภาพ, ภาวะทรงตัว, คาน, เครื่องคาน, สติ. vt. ถ่วงด้วยน้ำหนัก, ถ่วงให้สมดุล, ทำให้ทรงตัว, พิจารณาอย่างละเอียด, Syn. compensate, offset, equalize |
courtroom | (คอร์ท'รูม) n. ห้องพิจารณาคดี |
debate | (ดิเบท') { debated, debating, debates } vt., n. (การ) ถกเถียง, อภิปราย, พิจารณา, ชิงชัย, ต่อสู้, Syn. argue |
deliberation | (ดิลิบบะเร'เชิน) n. ความสุขุม, ความรอบคอบ, เจตนา, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา, ความเชื่องช้า, Syn. thought, Ant. haste |
deliberative | adj. (เกี่ยวกับ) การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การปรึกษาหารือ., See also: deliberativeness n. ดูdeliberative, Syn. thoughtful |
diesnon | n. วันที่ศาลไม่สามารถพิจารณาคดี |
discreet | (ดิสครีท') adj. พิจารณารอบคอบ, สุขุม, ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ, ระมัดระวัง., See also: discreetness n. ดูdiscreet |
dismiss | (ดิสมิส') vt. ไล่ออก, เลิก, บอกให้เลิกแถว, ไม่พิจารณา, แย้งกลับ, ไม่รับฟ้อง, ยกฟ้อง., See also: dismissible adj. ดูdismiss dismissive adj. ดูdismiss |
dismissal | (ดิสมิส'เซิล) วn. การไล่ออก, การบอกให้เลิก, การไม่พิจารณา, การยกฟ้อง, Syn. dismission |
docket | (ดอค'คิท) n. รายการคดีและคำพิพากษาของศาล, รายการเรื่องราวการพิจารณาโดยคณะกรรมการสภา, ใบเซ็นของสินค้า, ใบปะหน้า, หนังสือแสดงการเสียภาษีศุลกากร, บัตร, สาระสำคัญ. vt. นำเข้ารายการพิจารณาคดีของศาล, เขียนใบปะหน้า, สรุปสาระสำคัญ |
elide | (อิไลดฺ') vt. ตัดออก, ไม่เอา, ไม่พิจารณา, ผ่าน, มองข้าม, ยกเลิก, เลิกล้ม, Syn. omit |
entertain | (เอนเทอะเทน') vt. ทำให้เพลิดเพลิน, ทำให้สนุกสนาน, ต้อนรับ, รับรองแขก, เชิญไปเลี้ยง, ยอมรับ, รับ, รับพิจารณา. -vi. รับรองแขก |
entertainment | n. การให้ความเพลิดเพลิน, การต้อนรับแขก, สิ่งที่ให้ความเพลิดเพลิน, การแสดง, การยอมรับ, การรับพิจารณา, Syn. amusement |
hear | (เฮียร์) { heard, hearing, hears } vt. ฟัง, ได้ยิน, สดับ, รับฟัง, ได้ยินมาว่า, พิจารณา. vi. ฟัง, ได้ยิน., See also: hearable adj. hearer n., Syn. heed, listen |
hearing | (เฮีย'ริง) n. การฟัง, การพิจารณา, การได้ยิน, โสตประสาท, การพิจารณาคดี, Syn. interview |
here | (เฮียร์) adv. ที่นี่, ตรงนี้, ขณะนี้, ซึ่งกำลังพิจารณาอยู่, See also: here below ในโลกนี้, ในชีวิตนี้. -Phr. neither here nor their ไม่สำคัญ, ไร้สาระ n. ที่นี้, โลกนี้, ชีวิตนี้, ปัจจุบันนี้. interj. ขณะนี้!. เดี๋ยวนี้!, เอาละ คำที่มีความหมายเหมือนกั |
impeach | (อิมพีช') vt. กล่าวโทษ, ฟ้องร้อง, ทำคดีชั้นพิจารณา, กล่าวหา, ไม่เชื่อถือ., See also: impeacher n., Syn. charge, accuse, censure |
indiscriminate | (อินอิสคริม'มะเนท) adj. ไม่เลือกเจาะจง, ตามอำเภอใจ, สุ่มตัวอย่าง, ขาดการพิจารณา., See also: indiscriminately adv. indiscriminateness n. indiscrimination n. indiscriminative adj., Syn. casual |
indiscriminating | (อินดิสคริม'มะเนททิง) adj. ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, ซึ่งขาดการพิจารณา., See also: indiscriminatingly adv. |
inquest | (อิน'เควสทฺ) n. การสอบสวนคดี, การพิจารณาคดี' (โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการชันสูตรศพ) คณะผู้สอบสวน, Syn. legal, inquiry |
introspect | (อินทระสเพคทฺ') vt., vi.ใคร่ครวญ, บททวนความคิดของตน, หวนคิด, พินิจพิจารณาตัวเอง, See also: introspective adj. introspectively adv. introspectiveness n. |
judgement | (จัดจฺ'เมินทฺ) n. การพิจารณา, การพิจารณาอรรถคดี, การตัดสิน, การลงความเห็น, ความเห็น, คำวินิจฉัย, การพิพากษาครั้งสุดท้ายของพระเจ้าที่มีต่อมนุษย์ทั้งหลาย, วาระสุดท้ายของโลก (หรือ Last judg (e) ment), Syn. consideration, ruling, opinion, wisdom |
Nontri Dictionary
advised | (adj) ซึ่งพิจารณามาแล้ว |
assize | (n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี |
cogitate | (vi) ใคร่ครวญ, คิด, ไตร่ตรอง, พิจารณา, ตรึกตรอง |
cogitation | (n) การใคร่ครวญ, การไตร่ตรอง, การพิจารณา, การตรึกตรอง |
cognizance | (n) การยอมรับ, การสังเกต, อำนาจการพิจารณาคดี |
consider | (vt) คิด, คำนึงถึง, นึกถึง, พิจารณา, สนใจ |
considerable | (adj) มาก, มากมาย, สำคัญ, น่าพิจารณา |
consideration | (n) การพิจารณา, การครุ่นคิด, การคำนึงถึง, ความเห็นอกเห็นใจ |
considering | (pre) เมื่อพิจารณาถึง, เกี่ยวกับในด้าน |
consult | (vt) ปรึกษาหารือ, พิจารณา, ขอความเห็น |
consultation | (n) การปรึกษาหารือ, การพิจารณา, การประชุม |
deduce | (vt) อ้างจาก, อนุมานจาก, ลงความเห็นจาก, พิจารณาเหตุผลจาก |
diagnose | (vt) พิจารณา, วินิจฉัย, วิเคราะห์, ตรวจโรค |
diagnosis | (n) การพิจารณา, การวินิจฉัย, การวิเคราะห์, การตรวจโรค |
discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา |
discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ |
hearing | (n) การได้ยิน, การฟัง, การสดับ, โสตประสาท, การพิจารณา |
indiscriminate | (adj) ไม่พิถีพิถัน, ไม่พิจารณา, ไม่เจาะจง, ยุ่งเหยิง, ตามอำเภอใจ |
inquest | (n) การไต่สวน, การพิจารณาคดี, การสอบสวนคดี, การชันสูตรศพ |
introspect | (vi) พิจารณา, ใคร่ครวญ, คิดหน้าคิดหลัง, หวนคิด |
introspection | (n) การพิจารณา, การใคร่ครวญ, การทบทวน, การครุ่นคิด |
judge | (n) ผู้พิพากษา, ผู้พิจารณา, ผู้ตัดสิน, ตุลาการ |
judge | (vt) พิพากษา, ตัดสิน, พิจารณา, วิจารณ์, ลงความเห็น |
judgment | (n) การตัดสิน, การพิจารณา, คำตัดสิน, คำพิพากษา |
judicial | (adj) ตามกฎหมาย, ในทางศาล, เกี่ยวกับการพิจารณาคดี |
judiciary | (n) ศาล, ตุลาการ, ผู้พิพากษา, การพิจารณาคดี |
misjudge | (vt) พิจารณาผิด, ตัดสินใจผิด, วินิจฉัยผิด |
perpend | (vi) คิด, ครุ่นคิด, พิจารณา, ไตร่ตรอง, ใช้วิจารณญาณ |
perusal | (n) การอ่าน, การพินิจพิจารณา, การตรวจ |
peruse | (vt) อ่าน, พินิจพิจารณา, ตรวจ |
ponder | (vt) ใคร่ครวญ, ครุ่นคิด, พิจารณา |
pore | (vi) พิจารณา, เพ่ง, ง่วน, เอาใจใส่ |
reckon | (vt) นับ, คิด, คาดคะเน, สรุป, คำนวณ, ประเมิน, พิจารณา |
reconsider | (vt) ไตร่ตรองใหม่, พิจารณาอีกครั้ง, คิดใหม่ |
regard | (n) ความเอาใจใส่, การมองดู, ความนับถือ, มิตรภาพ, การพิจารณา |
regard | (vt) เห็นว่า, มองดู, คำนึงถึง, เกี่ยวกับ, พิจารณา, ฟัง, นับถือ |
retrospect | (n) การหวนคิด, การพิจารณาย้อนหลัง, การนึกถึงอดีต |
retry | (vt) พิจารณาใหม่, ทดลองใหม่, ทดสอบใหม่ |
review | (vt) ทบทวน, วิจารณ์, สังเกตการณ์, พิจารณาใหม่ |
revolve | (vt) คิดทบทวน, ตรึกตรอง, พิจารณา, ครุ่นคิด |
scan | (vt) วิเคราะห์, พิจารณา, ดูผ่านตา |
scrutinize | (vt) พินิจพิเคราะห์, พิจารณา |
scrutiny | (n) การพินิจพิเคราะห์, การพิจารณา |
see | (vi) สนใจ, เห็น, พบ, สังเกต, พิจารณา, สอบถาม |
seeing | (con) เมื่อพิจารณาถึง, ด้วยเหตุว่า, ตามความเป็นจริง |
shelve | (vt) วางบนหิ้ง, วางบนชั้น, ปลดประจำการ, เลื่อนการพิจารณา |
sit | (vi) นั่ง, นั่งพิจารณาความ, เข้าสอบไล่, ประชุม, พักผ่อน |
speculate | (vi) เดา, คิด, เก็ง, เสี่ยงโชค, คาดการณ์, พิจารณา |
stay | (n) การหยุด, การพัก, เครื่องค้ำจุน, การเลื่อนการพิจารณา |
study | (vt) พิจารณา, เรียน, ศึกษา, ค้นคว้า |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
(d) administrative proceeding | การพิจารณาคดีทางปกครอง |
Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง |
dismissive | [dɪsˈmɪs·ɪv] (adj) บางสิ่งบางอย่างหรือบุคคลที่คุณคิดนั้นไม่ได้มีความสำคัญหรือมีค่าพอให้พิจารณา |
holistically | (n) ความครบถ้วนบริบูรณ์, ความบริบูรณ์, สิ่งทั้งหมด, สิ่งทั้งปวง, การนำทุกสิ่งทุกอย่างเข้ามาร่วมในการพิจารณาด้วย, Syn. entirety |
in camera | (พิจารณาคดี)โดยลับ |
pending account | กำลังอยู่ในการพิจารณา |
proceedings | การพิจารณาคดี |
proceedings | การพิจารณาคดี |
step back | หยุดทำกิจกรรม/การงาน โดยเฉพาะเพื่อพิจารณาว่าจะทำอะไรต่อไป to pause in an activity, esp. to consider what to do next. We need to step back and look at all our options. |
testify at hearings | พิจารณาคดี |
This matter coming on to be heard | ศาลได้ออกนั่้งพิจารณาคดี |
toss around | toss around something 1. คิดหรือพิจารณาเกี่ยวกับ.... (to consider or think about something.) Some of us have been tossing around suggestions for improving the show. The morning newspapers print the news, and then commentators toss it around on the evening TV news shows. 2. ใช้คำพูดโดยไม่คิดให้รอบคอบเสียก่อน (to use words without thinking carefully about them.) The financial press tossed around words like “crash” and “disaster.” Students toss bad words around freely. |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
ศาลล้มละลายกลาง | (n, org, uniq) ศาลชั้นต้นตามพระธรรมนูญศาลยุติธรรม ซึ่งมีลักษณะเป็นศาลชำนัญพิเศษ จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลล้มละลายและวิธีพิจารณาคดีล้มละลาย พ.ศ. 2542 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้คดีล้มละลายซึ่งมีลักษณะพิเศษแต่กต่างจากคดีแพ่ง ทั่วไป ได้รับการพิจารณาพิพากษาจากผู้พิพากษาที่มีความรู้ความชำนาญเป็นพิเศษ http://www.judiciary.go.th/bkcc/history.html |
Longdo Approved JP-TH
検討 | [けんとう, kentou] (n) การค้นคว้า พิเคราะห์พิจารณา |
配慮 | [はいりょ, hairyo] พิจารณา นึกถึง คำนึงถึง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
考え物 | [かんがえもの, kangaemono] (n) แปลตรงๆ ว่า เป็นสิ่งที่ควรจะต้องพิจารณา. แต่โดยมากใช้ในการแนะนำผู้อื่นไม่ให้ทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง |
考慮 | [こうりょ, kouryo] การพิจารณา, การไตร่ตรอง |
審査 | [しんさ, shinsa] (vi) การพิจารณาตัดสิน หรือการพิจารณาคัดเลือก |
再考 | [さいこう, saikou] การพิจารณาใหม |
引き合い | [ひきあい, hikiai] (n) การพิจารณาก่อนการตัดสินใจ |
それを考慮に入れて | [それをこうりょに入れて, sorewokouryoni ire te] (exp) เมื่อคิดดูแล้ว......, เมื่อพิจารณาดูแล้ว...... |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
検討 | [けんとう, kentou] TH: การพิจารณา EN: examination (vs) |
Longdo Approved DE-TH
nachdenken | (vi) |dachte nach, hat nachgedacht| (über etw.) คิดพิจารณา, See also: überlegen |
überlegen | (vt) |überlegte, hat überlegt| พิจารณา, See also: nachdenken |
in Frage kommen | ถูกพิจารณา, ถูกคำนึงถึง |
kontemplativ | (adj) ที่คิดลึกซึ้ง, ที่คิดไตร่ตรองอย่างแน่วแน่, ที่ตั้งใจพิจารณาอย่างรอบคอบ |
Kontemplation, -en | (n) การคิดอย่างมีสติ, การพิจารณาอย่างรอบคอบ, การไตร่ตรองอย่างแน่วแน่ (เป็นภาษาเขียน), See also: kontemplativ |
absehen | (vi) |sieht ab, sah ab, hat abgesehen, von etw.| มองข้าม, ไม่ให้ความสำคัญ (ใช้ในรูปของ Partizip Perfekt คือ abgesehen von) เช่น Abgesehen von innerer Ruhe und Entspanntheit, bringt die Meditation uns dazu, die Dinge die uns umgeben zu betrachten. ถ้ามองข้ามความสงบภายในและการผ่อนคลายแล้ว การทำสมาธิทำให้เราพิจารณาสิ่งที่อยู่รอบกาย, Deshalb habe ich vom Kauf bei dieser Firma abgesehen. ดังนั้นฉันจึงไม่เคยคิดจะซื้อของจากบริษัทนี้เลย |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*nblick { m }; Ansicht { f }; Sicht { f }; Blick { m }; Aus* | n. ภาพ, ทิวทัศน์, ทัศนวิสัย, ทรรศนะ, สายตา, การมอง, การสังเกต, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, จุดประสงค์, เจตนา, จุดมุ่งหมาย, การสำรวจทั่วไป, -Phr. (in view ภายในแนวสายตา ภายใต้การพิจารณา) -Phr. (in view of เมื่อพิจารณาถึงในเรื่องเกี่ยวกับ) vt. ดู, มอง, สังเกต, สำรวจ, ตรวจสอบ |
geprüft | (เก-พรูฟ-เทอะ) vt. ทบทวน, ตรวจสอบอีก, พิจารณาใหม่, วิจารณ์, ตรวจพล, สังเกตการณ์ vi. เขียนบทวิจารณ์, เขียนบทปฏิทัศน์ |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ปัญหา | (n) สิ่งที่เป็นอุปสรรคและต้องพิจารณาแก้ไข |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0505 seconds, cache age: 5.018 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม