326 ผลลัพธ์ สำหรับ *ผู้นำ*
ภาษา
หรือค้นหา: ผู้นำ, -ผู้นำ-Longdo Unapproved JP - JP
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
政権交代 | [せいけんこうたい] การเปลี่ยนพรรคการเมืองที่มาเป็นผู้นำในการจัดตั้งรัฐบาล(ดังนั้นหากเป็นแค่การเปลี่ยนพรรคร่วมรัฐบาล โดยที่พรรคที่เป็นผู้นำยังคงเป็นพรรคเดิม ก็ยังไม่สามารถใช้คำนี้ได้) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ผู้นำ | (n) leader, See also: chief, captain, boss, head, ruler, Syn. หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, Ant. ผู้ตาม, ลูกน้อง, Example: ประชาชนต่างต้องการผู้นำประเทศที่เข้มแข็ง, Count Unit: คน, Thai Definition: คนชักจูงให้ผู้อื่นทำตาม |
ผู้นำทาง | (n) guide, Syn. คนนำทาง, Example: เราจ้างชาวบ้านคนหนึ่งให้เป็นผู้นำทางในการเดินป่า |
ผู้นำฝูง | (n) leader, See also: ringleader, chief, head, chieftain, Syn. จ่าฝูง, หัวหน้าฝูง, Example: บุคคลที่ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้นำฝูง จะต้องมีความรับผิดชอบและแข็งแกร่งพอสมควร, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นหัวหน้ากลุ่มหรือพวกพ้อง ใช้กับกลุ่มคนหรือสัตว์ เป็นต้น |
ผู้นำเข้า | (n) importer, Ant. ผู้ส่งออก, Example: สหรัฐฯ กำหนดโทษจำคุก 6 เดือนสำหรับผู้นำเข้าปลาชะโด, Count Unit: ราย, Thai Definition: ผู้ประกอบธุรกิจด้านการนำสินค้าจากต่างประเทศเข้ามาจำหน่ายภายในประเทศ |
ภาวะผู้นำ | (n) leadership, Example: การที่เขายังสามารถกุมกลไกภายในพรรคได้อย่างสมบูรณ์ เป็นการตอกย้ำภาวะผู้นำภายของเขาให้แน่นกระชับเข้ามาอีก, Thai Definition: สภาพหรือสถานะที่เป็นหัวหน้าผู้อื่น |
ผู้นำประเทศ | (n) leader, See also: ruler, head, chief, Example: ทางการจัดต้อนรับผู้นำประเทศทั่วโลกที่มาประชุม อย่างยิ่งใหญ่สมเกียรติ, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลที่เป็นหัวหน้าคณะบริหารงานแผ่นดินภายในประเทศและมีหน้าที่เป็นตัวแทนติดต่อกับต่างประเทศ |
ผู้นำรัฐบาล | (n) government leader, See also: head of government, Example: สื่อมวลชนในประเทศไทยมีเสรีภาพในการวิพากษ์วิจารณ์นักการเมือง ผู้นำรัฐบาล หรือบุคคลสาธารณะอื่นๆ ภายใต้ทฤษฎีเสรีนิยม, Count Unit: คน, ท่าน, Thai Definition: ผู้ที่มีอำนาจมากที่สุดในรัฐบาล |
ความเป็นผู้นำ | (n) leadership, See also: chiefdom, Syn. ความเป็นหัวหน้า, Ant. ความเป็นผู้ตาม, Example: ผู้บริหารระดับกลางควรผ่านการฝึกความเป็นผู้นำก่อน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ผู้นำจับ | น. บุคคลผู้มิใช่พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งนำความมาแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ให้ทำการจับกุมผู้กระทำความผิด. |
ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร | น. สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งจากหัวหน้าพรรคการเมืองในสภาผู้แทนราษฎรที่สมาชิกในสังกัดของพรรคตนมิได้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรี ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ. |
กบเต้น | น. ชื่อเพลงไทย อัตรา ๒ ชั้น สมัยอยุธยาใช้ขับร้องและบรรเลงตอนโศกเศร้า ต่อมามีผู้นำไปทำเป็นเพลงเถา. |
กระแตไต่ไม้ ๑ | ชื่อเพลงโหมโรงเสภา เดิมเป็นเพลงไทยภาคเหนือสำเนียงลาว ต่อมามีผู้นำมาแต่งขยายเป็นอัตรา ๓ ชั้น โดยใช้ชื่อเดิม. |
การเวก ๒ | (การะ-) น. ชื่อนกขนาดเล็กถึงขนาดกลางหลายชนิดหลายสกุล ในวงศ์ Paradisaeidae แต่ละชนิดมีสีสันหลากหลาย อาจมี ๕-๑๐ สีในตัวเดียวกัน ตัวผู้สีสดกว่าตัวเมีย พบในเกาะนิวกินี เกาะใกล้เคียง และทางตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศออสเตรเลีย ในประเทศไทยมีผู้นำมาเลี้ยงตามบ้าน เช่น ชนิด Paradisea apoda Linn. |
ไกด์ | น. มัคคุเทศก์, ผู้นำเที่ยว. |
คลังสินค้าทัณฑ์บน | น. สถานที่ซึ่งอธิบดีกรมศุลกากรอนุมัติและกำหนดให้เป็นสถานที่ตรวจและเก็บของซึ่งมีผู้นำเข้ามาในราชอาณาจักร โดยยังไม่ต้องชำระอากรขาเข้า. |
จุฬาราชมนตรี | น. ตำแหน่งผู้นำสูงสุดทางด้านการบริหารกิจการมุสลิมในประเทศไทย เป็นที่ปรึกษาทางราชการเกี่ยวกับกิจการมุสลิมทั้งปวง. |
ซุ้ม ๓ | น. ทำนองเพลงไทยสำเนียงลาว อัตราชั้นเดียว เดิมประดิษฐ์ขึ้นสำหรับบรรเลงต่อท้ายเพลงเดี่ยวลาวแพน เรียกว่า ออกซุ้ม ต่อมามีผู้นำไปบรรเลงต่อท้ายเพลงสำเนียงลาวอื่น ๆ. |
โต๊ะอิหม่าม | (-หฺม่าม) น. ผู้อาวุโสที่เป็นผู้นำในพิธีทางศาสนาอิสลาม และมักเป็นหัวหน้าชุมชนด้วย. |
ทูต | น. ผู้นำข้อความไปแจ้งทั้ง ๒ ฝ่าย, ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน, ผู้สื่อสาร, ผู้ที่ได้รับมอบหมายให้เป็นผู้แทนไปยังต่างประเทศ เพื่อเจรจาหรือเจริญสัมพันธไมตรีเป็นทางราชการ. |
นายก | (นา-ยก) น. ผู้นำ, ผู้เป็นหัวหน้า, เช่น นายกราชบัณฑิตยสถาน นายกสมาคม นายกสโมสร. |
เนตร | ผู้นำทาง. |
เนตรนารี | น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. |
บริณายก | (บอรินายก) น. ปริณายก, ผู้นำบริวาร, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่. |
บ้า ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดขนาดเล็กถึงขนาดกลางชนิด Leptobarbus hoeveni (Bleeker) ในวงศ์ Cyprinidae ลำตัวค่อนข้างยาวหนาเกือบเป็นรูปทรงกระบอก หัวกว้าง มีหนวด ๒ คู่ ท้องกลมมน ด้านหลังและข้างตัวสีเขียวอ่อน ด้านท้องสีขาวแต้มเหลือง ครีบท้อง ครีบก้น และครีบหลังสีแดงอ่อน ในปลาขนาดเล็กมีแถบสีดำคลํ้าพาดตลอดข้างตัว พบอาศัยตามแม่นํ้าลำคลองและบึงใหญ่ทั่วไป ขนาดยาวได้ถึง ๕๐ เซนติเมตร ในธรรมชาติกินผลไม้รวมทั้งผลกระเบา เมื่อมีผู้นำไปบริโภคทำให้เกิดอาการมึนเมา, อ้ายบ้า หรือ พวง ก็เรียก. |
ใบขนสินค้า | น. เอกสารแสดงรายการสินค้า อันได้แก่ ชนิด คุณภาพ ปริมาณ นํ้าหนัก ราคาศุลกากร ซึ่งผู้นำของเข้าหรือผู้ส่งของออกต้องยื่นต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เมื่อนำของใด ๆ เข้ามาในประเทศ หรือส่งของใด ๆ ออกนอกประเทศ. |
ปริณายก | (ปะ-) น. ผู้นำบริวาร, หัวหน้า, ผู้เป็นใหญ่. |
เผด็จการ | น. การใช้อำนาจบริหารเด็ดขาด, เรียกลัทธิหรือแบบการปกครองที่ผู้นำคนเดียวหรือบุคคลกลุ่มเดียวใช้อำนาจอย่างเด็ดขาดในการบริหารประเทศ ว่า ลัทธิเผด็จการ, เรียกผู้ใช้อำนาจเช่นนั้น ว่า ผู้เผด็จการ. |
ฟาสซิสต์ | น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น. |
มรรคนายก | (มักคะนายก) น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือ ผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด. |
มัคนายก | น. “ผู้นำทาง” คือ ผู้จัดการทางกุศล หรือผู้ชี้แจงทางบุญทางกุศลและป่าวประกาศให้ประชาชนมาทำบุญทำกุศลในวัด. |
มัคคุเทศก์ | น. ผู้นำทาง, ผู้ชี้ทาง, ผู้บอกทาง |
มัคคุเทศก์ | ผู้นำเที่ยว. |
ยมทูต | น. ผู้นำคนตายไปยังบัลลังก์พระยมเพื่อรอคำตัดสิน. |
ราชทูต | น. ผู้นำพระราชสาส์นไปประเทศอื่น, ผู้แทนชาติในประเทศอื่น, ตำแหน่งผู้แทนรัฐถัดจากอัครราชทูต. |
สง่า | (สะหฺง่า) ว. มีลักษณะผึ่งผายเป็นที่น่ายำเกรงหรือน่านิยมยกย่อง เช่น ผู้นำจะต้องมีบุคลิกลักษณะสง่า, เป็นที่น่าเกรงขาม เช่น เสือโคร่งมีท่าทางสง่า. |
สินบน | เงินที่จ่ายให้แก่ผู้นำจับ. |
สูจกะ | ผู้นำจับ |
เสนานี | น. ผู้นำทัพ. |
เสนีย์, เสนียะ | น. จอมทัพ, ผู้นำทัพ. |
หัวแถว | น. คนที่อยู่ต้นของแถว, โดยปริยายหมายถึงหัวหน้าหรือผู้นำ. |
อัตตาธิปไตย | ระบอบการปกครองที่ผู้นำมีอำนาจเด็ดขาดและไม่จำกัด. |
อิหม่าม | น. คำเรียกผู้นำในศาสนาอิสลาม, ผู้นำในการทำละหมาด, ตำแหน่งสำคัญของคณะกรรมการบริหารมัสยิด, โต๊ะอิหม่าม ก็เรียก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
parlor caucus | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
political clearance | การได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leader | ผู้นำ, หัวหน้าพรรค [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leader | ผู้นำ, หัวหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Leader of the House | ผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Leader of the House | ผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Leader of the Opposition | ผู้นำฝ่ายค้านในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Leader of the Opposition | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
leader, authoritarian | ผู้นำแบบอำนาจนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leader, floor | ผู้นำสมาชิกพรรคในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leader, majority | ผู้นำเสียงข้างมากในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leadership | ภาวะผู้นำ, ประมุขภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
leadership principle | หลักการเป็นผู้นำ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Opposition, Leader of the | ผู้นำฝ่ายค้านในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Opposition, Leader of the | ผู้นำฝ่ายค้านในสภาผู้แทนราษฎร [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
authoritarian leader | ผู้นำแบบอำนาจนิยม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
minority leader | ผู้นำเสียงข้างน้อยในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
majority leader | ผู้นำเสียงข้างมากในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
clearance, political | การได้รับความเห็นชอบจากผู้นำทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
caucus, parlor | การประชุมลับของผู้นำในพรรคการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Führer (G.); Fuehrer | ฟือเรอร์, ผู้นำประเทศ (ของเยอรมันในสมัยนาซี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
floor leader | ผู้นำสมาชิกพรรคในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Fuehrer; Führer (G.) | ฟือเรอร์, ผู้นำประเทศ (ของเยอรมันในสมัยนาซี) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
House, Leader of the | ผู้นำฝ่ายรัฐบาลในสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
navigator | ผู้นำทาง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
navigator | ผู้นำทาง [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Lead manager | ผู้นำการจัดจำหน่าย [เศรษฐศาสตร์] |
Women labor leaders | ผู้นำแรงงานสตรี [TU Subject Heading] |
Civic leaders | ผู้นำท้องถิ่น [TU Subject Heading] |
Command of troops ; Military leadership | ความเป็นผู้นำทางการทหาร [TU Subject Heading] |
Community leadership | ความเป็นผู้นำชุมชน [TU Subject Heading] |
Educational leadership | ความเป็นผู้นำทางการศึกษา [TU Subject Heading] |
Heads of state | ผู้นำรัฐ [TU Subject Heading] |
Labor leaders | ผู้นำแรงงาน [TU Subject Heading] |
Leadership | ความเป็นผู้นำ [TU Subject Heading] |
Leadership in children | ความเป็นผู้นำในเด็ก [TU Subject Heading] |
Leadership in women | ความเป็นผู้นำในสตรี [TU Subject Heading] |
Political leadership | ความเป็นผู้นำทางการเมือง [TU Subject Heading] |
Women civic leaders | ผู้นำท้องถิ่นสตรี [TU Subject Heading] |
Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy | ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี ? เจ้าพระยา ? แม่โขง ACMECS หรือชื่อเดิม ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างกัมพูชา ลาว พม่า และไทย (ECS : Economic Cooperation Strategy among Cambodia, Lao PDR, Myanmar and Thailand) คือ กรอบความร่วมมือระหว่าง 5 ประเทศ คือ กัมพูชา ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม ACMECS เป็นแนวคิดที่ พ.ต.ท. ดร. ทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีได้หยิบยกขึ้นหารือกับผู้นำกัมพูชา ลาว และพม่า ในช่วงการประชุมผู้นำอาเซียนสมัยพิเศษว่าด้วยโรค SARS เมื่อ 29 เมษายน 2546 ที่กรุงเทพฯ และได้มีพัฒนาการอย่างรวดเร็วต่อเนื่องจนถึงการประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 1 ที่เมืองพุกาม สหภาพพม่า เมื่อ 12 พฤศจิกายน 2546 โดยผู้นำทั้ง 4 ประเทศร่วมกันออกปฏิญญาพุกาม (Bagan Declaration) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ (Plan of Action) ครอบคลุมความร่วมมือ 5 สาขา ได้แก่ การอำนวยความสะดวกด้านการค้าและการ ลงทุน ความร่วมมือทางด้านเกษตรและอุตสาหกรรม การเชื่อมโยงเส้นทางคมนาคม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ บนหลักการที่เน้นการส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและยกระดับความ เป็นอยู่ของประชาชน รวมทั้งเปิดกว้างให้นานาประเทศและองค์การระหว่างประเทศได้มีส่วนร่วมเป็น หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา (Development Partner) ในโครงการต่างๆ ของ ACMECS ด้วย * เวียดนามร่วมเป็นสมาชิก ACMECS เมื่อ 10 พฤษภาคม 2547 สถานะล่าสุด ระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2547 ที่จังหวัดกระบี่ ไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมระดับเจ้าหน้าที่อาวุโสสมัยพิเศษและการประชุม รัฐมนตรี ACMECS อย่างไม่เป็นทางการ รวมทั้งการประชุมร่วมกับ Development Partners (ผู้แทนจากออสเตรเลีย ฝรั่งเศส เยอรมนี ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ และธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย) ซึ่งการประชุมประสบผลสำเร็จอย่างดียิ่ง สมาชิก ACMECS ทั้ง 5 ประเทศได้ร่วมกันแสดงความเป็น เอกภาพ โดยยืนยันเจตนารมณ์ที่จะดำเนินการตามกรอบความร่วมมือ ACMECS อย่าง เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันต่อผู้แทนของ Development Partners รวมทั้งมีการหารือถึงความคืบหน้าของการดำเนินโครงการระหว่างกันอย่างเป็น รูปธรรม นอกจากนี้ ยังสามารถมีข้อสรุปที่สำคัญๆ เกี่ยวกับกลไกการประสานงานระหว่างกันซึ่งจะช่วยให้การดำเนินกิจกรรมความร่วม มือของ ACMECS มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป * ไทยมีกำหนดเป็นเจ้าภาพจัดประชุมระดับผู้นำ ACMECS ครั้งที่ 2 ในเดือนธันวาคม 2548 ที่กรุงเทพฯ [การทูต] |
Anti-dumping duty | ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดที่เรียกเก็บจากผู้นำเข้าสินค้า จากต่างประเทศ เนื่องจากผู้ส่งออกในต่างประเทศได้ส่งสินค้านั้นเข้ามา เพื่อประโยชน์ในทางพาณิชย์ในราคาที่ต่ำกว่าราคาจำหน่ายในประเทศของตน หรือในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนการผลิต [การทูต] |
Asia-Europe Cooperation Framework | กรอบความร่วมมือเอเชีย-ยุโรป เป็นเอกสารที่กำหนดแนวทางความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ การเมือง สังคมและวัฒนธรรมในกรอบอาเซม ซึ่งได้รับรองในที่ประชุมผู้นำอาเซม ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน [การทูต] |
Accelerating Economic Recovery in Asia | โครงการเร่งรัดการฟื้นฟูเศรษฐกิจในเอเชีย (สำหรับประเทศไทย) เป็นโครงการที่สหรัฐอเมริกาได้ประกาศในระหว่างการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 6 ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2541 ที่จะให้ความช่วยเหลือประเทศในเอเชีย 3 ประเทศที่ประสบภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ คือ สาธารณรัฐเกาหลี อินโดนีเซีย และไทย [การทูต] |
Asia-Europe Vision Group | กลุ่มวิสัยทัศน์เอเชีย-ยุโรป เป็นกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งจัดตั้งภายหลังจากการประชุมผู้นำเอเชีย-ยุโรป (อาเซม) ครั้งที่ 2 ที่กรุงลอนดอน เพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับอนาคตของกระบวนการอาเซม [การทูต] |
ASEAN-JAPAN SUMMIT | การประชุมสุดยอดอาเซียน-ญี่ปุ่น เป็นการประชุมระหว่างผู้นำอาเซียนและนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่น ซึ่งในหลักการจะจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2540 [การทูต] |
APSC | แผนงานการจัดตั้งประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียน เป็นเอกสารที่รวบรวมรายการกิจกรรมต่างๆ ที่รัฐสมาชิกอาเซียนจะทำร่วมกันเพื่อสร้างประชาคมการเมืองและความมั่นคงอา เซียนภายในปี 2558 แผนงานฯ ได้รับการรับรองโดยผู้นำในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ที่ชะอำ หัวหิน เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยแผนงาน มีวิสัยทัศน์ 3 ประการ ให้อาเซียนเป็น(1) ประชาคมที่มีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน (2)เป็นประชาคมที่สงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษาความมั่นคงสำหรับ ประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน และ (3)เป็นประชาคมที่มีพลวัตรและร่วมมือปฎิสัมพันธ์กับโลกภายนอก [การทูต] |
ASEAN Charter | กฎบัตรอาเซียน เป็นความตกลงระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน ที่จะให้สถานะทางกฎหมายหรือนิติฐานะแก่อาเซียน และวางกรอบโครงสร้างองค์กรใหม่เพื่อทำให้อาเซียนเป็นหน่วยงานที่ยึดมั่นมาก ยิ่งขึ้นต่อกติกาและกฏเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกร่วมกันกำหนดขึ้น อันจะนำมาซึ่งการเป็นองค์กรที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ กฎบัตรอาเซียนยังมีเป้าหมายเพื่อเปลี่ยนให้อาเซียนเป็นองค์กรที่มีประชาชน เป็นศูนย์กลางของความร่วมมือมากยิ่งขึ้นด้วยการจัดตั้งองค์กรใหม่ๆ เพื่อปกป้องและส่งเสริมผลประโยชน์ของประชาชนอาเซียน เช่น องค์กรสิทธิมนุษยชนอาเซียน เป็นต้น ทั้งนี้ ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ได้ร่วมลงนามกฎบัตรฯ เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 และเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551 [การทูต] |
ASEAN Heads of State/Government Meeting | การประชุมสุดยอดอาเซียน เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาลอาเซียน ปัจจุบันมีการประชุมเป็นประจำทุกปี โดยประเทศสมาชิกอาเซียนหมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ [การทูต] |
ASEAN Troika | กลุ่มผู้ประสานงานของอาเซียน " เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นำประเทศ/รัฐบาลอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียนสามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทันท่วงทีและใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่ามี แนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค ทั้งนี้ กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนจะปฏิบัติงานโดยยึดหลักการที่สำคัญของอาเซียน คือ หลักฉันทามติ และการไม่แทรกแซงกิจการภายใน กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียนประกอบด้วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานคณะกรรมการประจำของ อาเซียนในปัจจุบัน อดีต และอนาคต " [การทูต] |
ASEAN - China, Japan and the Republic of Korea Relationship | ความสัมพันธ์อาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และสาธาณรัฐเกาหลี เป็นกลไกความร่วมมือใหม่ที่เริ่มมีขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2540 ซึ่งผู้นำของ อาเซียน จีน ญี่ปุ่นและสาธารณรัฐเกาหลี ได้พบกันเป็นครั้งแรกที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ โดยในปี พ.ศ. 2542 ผู้นำอาเซียน+3 ได้ออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) เป็นหลักการพื้นฐานของการเสริมสร้างความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง [การทูต] |
ASEAN-UN Summit | การประชุมผู้นำอาเซียน-สหประชาชาติ เป็นการประชุมระหว่างหัวหน้ารัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนกับเลขาธิการสห ประชาชาติ มีขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2543 ที่กรุงเทพฯ ในช่วงการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 [การทูต] |
Asia Europe Meeting | การประชุมเอเชีย-ยุโรป " เป็นการประชุมระดับผู้นำจากเอเชีย 10 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สิงคโปร์ เวียดนาม ฟิลิปปินส์ บรูไน ดารุสซาลาม จีน สาธารณรัฐเกาหลี ญี่ปุ่น ผู้นำจากยุโรป 15 ประเทศ คือ สหราช- อาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี สเปน โปรตุเกส เนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักเซมเบิร์ก เดนมาร์ก สวีเดน ไอร์แลนด์ กรีซ ฟินแลนด์ ออสเตรีย และประธานคณะกรรมาธิการยุโรป การประชุมครั้งแรกมีขึ้น ที่กรุงเทพฯ เมื่อปี พ.ศ. 2539 " [การทูต] |
Declaration of ASEAN Concord II | ปฏิญญาว่าด้วยความร่วมมือในอาเซียนฉบับที่ 2 ผู้นำประเทศสมาชิก อาเซียนได้ลงนามในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่เกาะบาหลี เมื่อเดือนตุลาคม 2547 กำหนดที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซียนภายใน พ.ศ. 2563 [การทูต] |
Conselho Nacional da Resistencia Timorense (National Council of Timorese Resistance) | " เป็นองค์กรที่ต่อสู้เพื่อเรียกร้องเอกราชของชาวติมอร์ตะวันออกจาก อินโดนีเซีย โดยมีนายซานานา กุสเมา (Xanana Gusmao) เป็นผู้นำคนสำคัญ " [การทูต] |
Commemorative Summit | การประชุมสุดยอดหรือการประชุมระดับผู้นำประเทศ/หัวหน้า รัฐบาลในโอกาสครบรอบปีสำคัญ อาทิ การสถาปนาความสัมพันธ์ระหว่างกัน [การทูต] |
Foreign Policy | นโยบายต่างประเทศ คือแผนการดำเนินการในกิจการระหว่างประเทศ ซึ่งผู้กำหนดนโยบายในคณะรัฐบาลเป็นผู้จัดขึ้น ในประเทศที่มีรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปรัฐสภา ผู้ที่จะชี้ขาดเรื่องนโยบายต่างประเทศได้แก่คณะรัฐมนตรี อันมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าคณะ และจะได้รับความเห็นชอบจากผู้แทนของประชาชนที่ได้รับการเลือกตั้ง ส่วนรัฐบาลประชาธิปไตยในรูปประธานาธิบดี ตัวประธานาธิบดีเองซึ่งโดยปกติแล้วจะได้รับคำแนะนำจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวง การต่างประเทศ และบุคคลชั้นผู้นำฝ่ายนิติบัญญัติ จะเป็นผู้กำหนดนโยบายต่างประเทศ [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
Millennium Summit | การประชุมสุดยอดแห่งสหัสวรรษ การประชุมสุดยอดของประมุขของรัฐและหัวหน้ารัฐบาลที่จัดขึ้น ณ สำนักงานใหญ่สหประชาชาติ ณ นครนิวยอร์ก ระหว่างวันที่ 6-8 กันยายน 2543 (ค.ศ. 2000) เพื่อให้ผู้นำประเทศต่าง ๆ เสนอข้อคิดเห็นต่อการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสหประชาชาติในศตวรรษที่ 21 ให้สามารถเผชิญต่อความเปลี่ยนแปลงและสิ่งท้าทายต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ [ ที่ประชุมยืนยันพันธกรณีร่วมกันที่จะเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้แก่สหประชา ชาติในการดำเนินการเรื่องสำคัญของมนุษยชาติ ดังระบุไว้ในปฏิญญาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Declaration) ] [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism | คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวรภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] |
New World Order | ระเบียบใหม่ของโลก คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] |
Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] |
Responsibility to protect | หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต] |
visit | การเยือน " - State Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในระดับประมุขของรัฐ หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญของต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ ที่มีสถานะเป็นกษัตริย์หรือประธานาธิบดี โดยเป็นการเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของรัฐผู้รับ รัฐผู้รับจะจัดพิธีการต้อนรับอย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Official Visit การเยือนอย่างเป็นทางการในฐานะแขกของ รัฐบาล หมายถึง การเยือนเป็นทางการของประมุขของรัฐ มกุฎราชกุมาร หัวหน้ารัฐบาล หรือหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่ง เทียบเท่า โดยเป็นแขกรับเชิญของรัฐบาล และจัดพิธีการรับรองต่าง ๆ อย่างเป็นทางการเต็มรูปแบบ - Visit as Guest of the Royal Thai Government การเยือนในฐานะแขกของรัฐบาล หมายถึง การเยือนของประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาลและหัวหน้า องค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าซึ่งไม่ได้เดินทางมาเยือนอย่าง เป็นทางการหรือเพื่อเจรจาทำงาน รวมทั้งการเสด็จฯ เยือนของพระราชวงศ์ รองประธานาธิบดีและบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีตำแหน่งเทียบเท่า ซึ่งรัฐบาลไทยปรารถนาที่จะแสดงไมตรีจิตโดยเชิญให้มาเยือนประเทศไทยในฐานะแขก ของรัฐบาล และจัดการต้อนรับให้ เหมาะสมและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการเยือนในแต่ละกรณี - Working Visit การเยือนเพื่อเจรจาทำงาน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ หัวหน้ารัฐบาล และหัวหน้าองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่าที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อ เจรจาในปัญหาหรือประเด็นใดเป็นการเฉพาะในระยะเวลาอันสั้น - Visit as Guest of Their Majesties the King and Queen of Thailand การเยือนในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วนพระองค์ หมายถึง การเสด็จเยือนของพระราชวงศ์ต่างประเทศ หรือการเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศ ในฐานะพระราชอาคันตุกะส่วน พระองค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ - Private Visit การเยือนส่วนตัวหรือแวะผ่าน หมายถึง การเยือนของบุคคลสำคัญจากต่างประเทศในระดับประมุขของรัฐ พระราชวงศ์ หัวหน้ารัฐบาล หรือผู้นำองค์การระหว่างประเทศที่มีตำแหน่งเทียบเท่า และบุคคลสำคัญอื่น ๆ ที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อเยือนเป็นการส่วนตัวหรือการแวะผ่านประเทศในระยะเวลา อันสั้น รัฐผู้รับจะจัดการอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ให้ตามความเหมาะสม " [การทูต] |
World Food Summit | การประชุมสุดยอดอาหารโลก " จัดโดย FAO ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี ระหว่างวันที่ 13-17 พฤศจิกายน 2539 เป็นการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล เพื่อสร้างเจตนารมณ์ด้าน การเมือง และข้อผูกพันระหว่างประเทศให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร และการขจัดปัญหาความหิวโหยสำหรับประชากรโลก " [การทูต] |
Core Competency | สมรรถนะหลัก, ขีดความสามารถขององค์กร ซึ่งเกิดจากวัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร เช่น การทำงานเป็นทีม (Teamwork) การทำงานแบบมืออาชีพ (Professionalism) การมุ่งเน้นผลงาน (Result Orientation) การบริหารตนเอง(Self Management) การใส่ใจลูกค้า (Customer Focus) และภาวะผู้นำ (Leaderships) เป็นต้น [การจัดการความรู้] |
Chief Change Officer | ผู้นำในการบริหารความเปลี่ยนแปลง [การจัดการความรู้] |
Autocratic Attitude | ผู้นำตลอดกาล [การแพทย์] |
Dictators | ผู้นำแบบเผด็จการ [การแพทย์] |
Eggs, Vector | ไข่ของแมลงผู้นำโรค [การแพทย์] |
Experts | ผู้ชำนาญ, ผู้นำแบบเชี่ยวชาญ [การแพทย์] |
Leaders | ผู้นำ [การแพทย์] |
Leaders, Manipulative Participation | ผู้นำแบบหัวหน้านายงาน [การแพทย์] |
Leaders, Term Meeting | ผู้นำในการประชุมกลุ่ม [การแพทย์] |
Leading | เป็นผู้นำ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บุคลิกความเป็นผู้นำ | [bukkhalik khwām pen phūnam] (n, exp) EN: leadership qualities |
การเป็นผู้นำ | [kān pen phūnam] (n, exp) EN: leadership |
ความเป็นผู้นำ | [khwām pen phūnam] (n, exp) EN: leadership FR: leadership [ m ] (anglic.) |
ภาวะผู้นำ | [phāwa phūnam] (n, exp) EN: leadership |
ผู้นำ | [phūnam] (n) EN: leader ; chief ; captain ; boss ; head ; ruler FR: leader [ m ] ; meneur [ m ] ; chef [ m ] |
ผู้นำฝ่ายค้าน | [phūnam fāikhān] (n, exp) EN: leader of the opposition FR: chef de l'opposition [ m ] |
ผู้นำฝูง | [phūnam fūng] (n, exp) EN: leader ; ringleader ; chief ; head ; chieftain FR: chef [ m ] ; meneur [ m ] |
ผู้นำเข้า | [phū namkhao] (n) EN: importer FR: importateur [ m ] ; importatrice [ f ] |
ผู้นำประเทศ | [phūnam prathēt] (n, exp) EN: leader ; ruler ; head ; chief |
ผู้นำร้อง | [phū namrǿng] (n, exp) EN: pilot FR: pilote [ m ] |
ผู้นำสินค้าเข้า | [phū nam sinkhākhao] (n) EN: importer FR: importateur [ m ] ; importatrice [ f ] |
ผู้นำตลาด | [phūnam talāt] (n, exp) EN: market leader FR: leader sur le marché [ m ] |
ผู้นำทาง | [phūnamthāng] (n) EN: guide FR: guide [ m ] |
ผู้นำทางจิตวิญญาณ | [phūnamthāng jit winyān] (n, exp) EN: spiritualist |
ผู้นำเที่ยว | [phūnamthīo] (n) EN: guide ; tourist guide FR: guide [ m, f ] ; guide touristique [ m, f ] |
ท่านผู้นำ | [than phūnam] (n, exp) EN: Our Leader |
Longdo Approved EN-TH
SONA | (n) ย่อมาจาก State of Nation Address สุนทรพจน์ที่ผู้นำกล่าวสรุปสถานการณ์ของประเทศ |
industry leader | ผู้นำในอุตสาหกรรมหรือธุรกิจแขนงหนึ่งๆ |
bandleader | (n) ผู้นำวง, วาทยากร, See also: music director, band leader, Syn. conductor |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
beadle | (n) ผู้นำพิธีในโบสถ์ของยิว |
Big Brother | (n) ผู้นำ, See also: ผู้ที่มีอำนาจเด็ดขาด, Syn. head, master |
be in on | (phrv) นำในเรื่อง (คำไม่เป็นทางการ), See also: เป็นผู้นำเรื่อง, Syn. get in on |
be on the top of | (idm) ยังคงเป็นผู้นำ, See also: ยังมีอำนาจ, ยังคงควบคุบ, Syn. stay on |
bring someone to the fore | (idm) ทำให้กลายเป็นผู้นำหรือมีอิทธิพล, See also: ทำให้มีอำนาจ, Syn. come to |
caliph | (n) ผู้นำทางศาสนาของประเทศมุสลิม |
caucus | (n) การประชุมของสมาชิกหรือกลุ่มผู้นำของพรรคการเมืองเพื่อลงคะแนนเลือกหรือวางแผนทางการเมือง |
cheerleader | (n) คนที่เป็นผู้นำเชียร์, See also: เชียร์ลีดเดอร์ |
chief | (n) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. leader, head |
cock | (n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. leader, chief person |
conductress | (n) ผู้นำวงดนตรีที่เป็นผู้หญิง, Syn. female conductor |
Dalai Lama | (n) ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของทิเบต |
deliverer | (n) ผู้นำส่ง, See also: ผู้ส่งสาร, ผู้ส่ง, ผู้ส่งสินค้า, Syn. diliverance |
director | (n) วาทยากร (ทางดนตรี), See also: ผู้นำวงดนตรี, ผู้ควบคุมวงดนตรี, Syn. producer, auteur, conductor, Ant. follower |
drum major | (n) ผู้นำวงดนตรีในขบวนแห่, See also: ดรัมเมเยอร์, Syn. bandleader, conductor, maestro |
emir | (n) ผู้ปกครองในประเทศอิสลามบางประเทศ, See also: ประมุข, ผู้นำในประเทศอิสลามบางประเทศ |
forerunner | (n) ผู้บุกเบิก, See also: ผู้ล่วงหน้ามาก่อน, ผู้นำทาง, ผู้เบิกทาง, Syn. foregoer, predecessor, Ant. follower |
guide | (n) มัคคุเทศก์, See also: ผู้นำร่อง, ผู้ชี้ทาง, ไกด์, Syn. escort, steerer, Ant. follower |
guru | (n) ครู, See also: ปราชญ์, ผู้รู้, ผู้นำ, Syn. mentor, teacher, leader, Ant. idiot |
head | (n) หัวหน้า, See also: ผู้นำ, Syn. boss, chief, leader, Ant. subordinate, underling |
headless | (adj) ซึ่งไร้ผู้นำ, See also: ซึ่งขาดผู้นำ |
headman | (n) หัวหน้ากลุ่ม, See also: ผู้นำกลุ่ม, ผู้ใหญ่บ้าน, Syn. chief, leader |
headship | (n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า, Syn. leadership |
helm | (n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งผู้ควบคุม |
helmsman | (n) ผู้นำ |
Hitler | (n) อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ จอมเผด็จการของเยอรมันและเป็น ผู้นำลัทธินาซี (ค.ศ.1889-1945) |
inductor | (n) ตัวนำกระแสไฟฟ้า, See also: ผู้นำ |
jockey | (n) ผู้ขับขี่ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ผู้นำทาง, ผู้ขับ |
lead | (n) แบบอย่าง, See also: ความเป็นผู้นำ, Syn. example, leadership, precedence |
lead | (vi) เป็นผู้นำ, See also: เป็นหัวหน้า, นำ, เป็นคนสำคัญ, เป็นหัวเรี่ยวหัวแรง, Syn. direct, conduct, precede |
leader | (n) ผู้นำ, Syn. head, chief, master |
leadership | (n) ความสามารถในการเป็นผู้นำ, See also: ความเป็นผู้นำ |
leadership | (n) ตำแหน่งผู้นำ, See also: ตำแหน่งหัวหน้า |
leadership | (n) ผู้นำของกลุ่ม |
leading | (n) การเป็นผู้นำ, Syn. leadership |
Mahdi | (n) ผู้นำอิสลามหรือพระเยซูที่มาช่วยชาวโลก |
mascot | (n) สิ่งนำโชค, See also: ตัวนำโชค, ผู้นำโชค, เครื่องราง, Syn. amulet, luck piece |
matriarchal | (adj) เกี่ยวกับผู้นำที่เป็นหญิง |
matriarchic | (adj) เกี่ยวกับระบบสังคมที่มีผู้หญิงเป็นผู้นำครอบครัว |
matriarchy | (n) ระบบสังคมแบบผู้หญิงเป็นผู้นำครอบครัว |
navigator | (n) ต้นหน, See also: ผู้นำทาง |
officiant | (n) ผู้นำประกอบพิธี, See also: ผู้นำพิธี |
pilot | (n) ผู้นำทาง, See also: ผู้ที่คอยชี้แนะ, คนนำทาง, มัคคุเทศก์, Syn. guide |
presenter | (n) ผู้นำเสนอ |
quarterback | (n) ผู้นำกลุ่ม, See also: ผู้นำกิจกรรม, Syn. chief, leader |
rabbi | (n) พระในศาสนายิว, See also: ผู้นำศาสนายิว, Syn. preacher, Talmudist, Hebrew theologian, priest |
routinier | (n) ผู้กำหนดเส้นทาง, See also: ผู้นำทาง |
big cheese | (sl) เจ้านาย, See also: คนสำคัญ, ผู้นำ |
big fish | (sl) หัวหน้า, See also: เจ้านาย, ผู้นำ |
top bannana | (sl) ผู้นำ, See also: หัวหน้า, Syn. Top drawer |
Hope Dictionary
akela | (อิคี' ละ) n. ผู้นำ |
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
bandmaster | (แบนมาส'เทอะ) n. ผู้นำจังหวะวงดนตรี |
baton | n. ตะบอง, กระบอง, ไม้ของผู้นำจังหวะดนตรี, คทา, ไม้ต่อแรงของการวิ่งผลัด |
beadle | (บีด'เดิล) n. ผู้นำพิธีการ, ผู้ถือคทาพิธี, นักการ (เช่นในศาล) , ผู้ช่วยพระทำพิธี |
boss | (บอส) { bossed, bossing, bosses } n., adj. นายจ้าง, นาย, ผู้บังคับบัญชา, ผู้นำ -v. เป็นนายเหนือ, ควบคุม, บังคับบัญชา, บงการ, Syn. superior |
caliph | (แคล'ลิฟ) n. กาหลีบ, ผู้นำฝ่ายปกครองและศาสนาในประเทศอิสลาม, See also: caliphal adj. ดูcaliph, Syn. calif, kalif, khalif |
captain | (แคพ'เทน) { captained, captaining, captains } n. ร้อยเอก, เรือเอก, เรืออากาศเอก, นาวาเอก, หัวหน้า, ผู้นำ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักบิน, ไต้ก๋ง, หัวหน้าชุดนักกีฬา vt. เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, บัญชาการ, See also: captancy n. ดู captain, captainship n. ดู captain |
caudillo | (คอดีล'โล) n. ผู้นำประเทศ, ผู้นำ |
chief | (ชีฟ) n. ผู้นำ, หัวหน้า, นาย -adj. สำคัญที่สุด, หลัก -adv. ส่วนใหญ่, Syn. leader, Ant. underling |
choragus | (คะเร'กัส) n., ผู้นำคณะนักร้องประสานเสียง, คนทำงานรื่นเริง, Syn. choregus. - |
church of england | n. ศาสนาคริสเตียนประจำชาติของอังกฤษ ไม่นับถือสันตะปาปาเป็นผู้นำศาสนา |
cock | (คอค) { cocked, cocking, cocks } n. ไก่ตัวผู้, นกตัวผู้, ผู้นำ, หัวหน้า, นักต่อสู้, นกสับของปืน, หัวก๊อกท่อน้ำท่อแก๊สที่ใช้มือปิดเปิดได้, ลึงค์, เวลาไก่ขัน, รุ่งอรุณ, การขันของไก่ vt. ดึงนกสับ vi. เดินวางท่า, วางมาด, เชิดขึ้น, ตั้งขึ้น, เตรียมยิง |
cock of the walk | n. ผู้นำ, หัวหน้ากลุ่ม |
commander | (คะมาน'เดอะ) n. ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้นำ, นายทหารผู้บังคับบัญชา, นาวาโท, See also: commandership n., Syn. chief, leader |
conductor | (คันดัค'เทอะ) n. ผู้นำวงดนตรี, สื่อนำไฟฟ้า, คนขายตั๋วรถเมล์รถราง, คนกระเป๋า, ตัวนำความร้อน (เสียงหรืออื่น ๆ) , สายล่อฟ้า, See also: conductorial adj. ดูconductor conductorship n. ดูconductor |
conductress | (คันดัค'ทริส) n. ผู้นำวงดนตรีหญิง, คอนดัคเตอร์หญิง |
conveyer | (คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ |
conveyor | (คันเว'เออะ) n. ผู้ขนส่ง, ผู้รับส่ง, ผู้แสดงออก, ผู้นำไปบอก, ผู้โอนกรรมสิทธิ์ |
dalai lama | (ดา'ไล ลา'มะ) n. ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของธิเบต |
demagog | (เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอก, See also: demagoguery n. ดูdemagog |
demagogue | (เดม'มะกอก) n. ผู้ที่มีอำนาจหรือชื่อเสียงจากการปลุกปั่นประชาชน, ผู้นำฝูงชน vi. ปลุกปั่น, ล่อหลอก, See also: demagoguery n. ดูdemagog |
drummajor | หัวหน้าวงดนตรีทหาร, ผู้นำวงดนตรีในขบวนแห่ |
duce | (ดู'เช) n. ผู้นำ, ผู้เผด็จการ, -Phr. (il Duce มุสโซลินี, ผู้เผด็จการ), Syn. leader -pl. duces |
father | (ฟา'เธอะ) { fathered, fathering, fathers } n. บิดา, พ่อ, ผู้ปกครอง, พระ, พ่อบุญธรรม, คำเรียกชื่อผู้อาวุโสเพื่อแสดงความเคารพ, ผู้อาวุโสที่สุดของกลุ่ม, ผู้นำของเมือง, ผู้ก่อตั้ง, ผู้มาก่อน, แบบเริ่มแรก -Phr. (the Father พระผู้เป็นเจ้า) . vt. ให้กำเนิด, ริเริ่ม, เป็นพ่อ, ยอมร |
fifties | n., adj. ปีหรือจำนวนที่อยู่ระหว่าง50ถึง59. คอมพิวเตอร์ยุคที่ห้าหมายถึง คอมพิวเตอร์ยุคใหม่สุด ซึ่งนับเป็นยุคที่ห้า คอมพิวเตอร์ยุคนี้จะเน้นในเรื่องปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) เป็นสำคัญ เช่น ทำให้คอมพิวเตอร์เข้าใจภาษามนุษย์ ให้มากขึ้น ทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน รวมทั้งประมวลผลได้เร็วยิ่งขึ้นด้วย ญี่ปุ่นทำท่าว่าจะเป็นผู้นำในด้านนี้มากกว่าชาติอื่น ดู artificial intelligence ประกอบ |
forerunner | (ฟอร์'รันเนอะ) n. บรรพบุรุษ, ผู้นำหน้า, ผู้บอกกล่าวล่วงหน้า, ลางสังหรณ์, เครื่องนำทาง, ผู้เบิกทาง, Syn. herald |
fugleman | (ฟิว'เกิลมัน) n. ทหารนำ, ทหารสาธิต, ผู้นำ |
fuhrer | (ฟู'เรอะ) n. ผู้นำ, ฮิตเลอร์., Syn. Fuehrer |
grand master | หัวหน้า, ผู้นำ |
guru | (กู'รู) n. ผู้นำที่ฉลาด, ผู้นำทางศาสนาที่ฉลาด, พระอาจารย์ส่วนตัว., See also: guruship n. |
head | (เฮด) n. ศีรษะ, ส่วนหัว, สมอง, ตำแหน่งผู้นำ, ตำแหน่งสูงสุด, จุดสุดยอด -Phr. (lose one's head อารมณ์เสีย, ตื่นเต้น) adj. ชั้นนำ, ที่หนึ่ง, สำคัญ, เกี่ยวกับหัว, ข้างหน้า vt. นำหน้า, เป็นผู้นำ, เป็นหัวหน้า, หันหน้าไปทาง, บ่ายหน้าไปทาง, ต่อหัว, จ่าหน้า vi. ไปข้างหน้า, ออกเดิ |
headless | adj. ไร้หัว, ซึ่งถูกตัดหัวทิ้ง, ขาดผู้นำ, โง่., See also: headlessness n. |
headman | (เฮด'เมิน) n.หัวหน้า, ผู้นำ, ผู้คุมงาน, มือเพชฌาตตัดคอ -pl. headmen |
headship | n. ตำแหน่งผู้นำ, ความสำคัญยิ่งยวด |
herald | (เฮอ'เริลดฺ) n. ผู้ถือสาร, ผู้นำก่อน, สิ่งที่นำก่อน, ผู้ป่าวประกาศ. vt. ประกาศ, แถลง, แจ้งให้ทราบ, เป็นลาง, Syn. envoy |
heresiarch | n. ผู้นำความคิดเห็นนอกรีด |
heresy | (เฮ'ระชี่) n. ศาสนานอกรีต, ผู้นำความคิดเห็นคิดนอกรีต, ความคิดนอกคอก, Syn. apostasy |
hoodoo | (ฮู'ดู) n. โชคไม่ดี, ผู้นำโชคร้ายมา |
imam | (อิมาม') n. พระมุสลิมในสุเหร่า, ตำแหน่งผู้นำทางศาสนาของมุสลิม., Syn. imaum |
king | (คิง) n. กษัตริย์, ประมุข, ผู้นำ, เผ่า, ราชา, หมากรุกที่เดินข้ามกระดานจนได้เป็นเจ้า. vt. ทำให้เป็นกษัตริย์ vi. ปกครองเป็นกษัตริย์., See also: kinghood ดูking, Syn. ruler, sovereign |
lead | (ลีด) { led, led, leading, leads } vt. นำ, พา, จูง, ชักจูง, จูงให้, ทำให้เกิดขึ้น, ล่อให้เกิดขึ้น, นำหน้า, พูดนำ, สั่ง, บัญชา, เป็นหัวหน้า, เล็ง vi. เป็นตัวนำ, นำไปสู่, นำหน้า, นำทาง, โจมตี, เล่นก่อน n. ตำแหน่งนำ, การนำ, ผู้นำ, สิ่งนำ, สำคัญที่สุด, ชั้นนำ, ตะกั่ว:Pb; -S...conduct, guide |
leader | (ลีด'เดอะ) n. ผู้นำ, หัวหน้า, ผู้บัญชา, ผู้นำวงดนตรี, นักร้องนำ, ผู้สวดนำ, บทนำ, เรื่องเอก, ท่อน้ำ. |
leadership | (ลี'เดอะชิพ) n. ตำแหน่งผู้นำ, ความเป็นผู้นำ, ความสามารถในการนำ, การนำ |
lord | (ลอร์ด) n. เจ้าศักดินา, ขุนนาง, เจ้าของที่ดิน, ท่านลอร์ด, สมาชิกสภาขุนนาง, ผู้นำในการค้า, เจ้านาย, เจ้าเหนือหัว, พระผู้เป็นเจ้า, พระเยซูคริสต์, ดาวนพเคราะห์ที่มีอิทธิพลครอบงำ. -interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ. vi. มีอำนาจหรืออิทธิพล, ตั้งตัวเป็นเจ้าเหนือหัว |
majority leader | n. ผู้นำพรรคที่มีเสียงข้างมากในรัฐสภา |
mascot | (แมส'คอท) n. ตัวนำโชค, ผู้นำโชค |
master | (มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ |
messenger | (เมส'เซินเจอะ) n. ผู้ส่งสาร, ผู้ถือจดหมาย, ผู้นำข่าว, ทูตสวรรค์, เครื่องชี้บ่ง, ลาง |
nazi | (นา'ซี, แนท'ซี) n., adj. สมาชิกพรรคนาซีของเยอรมันที่มีฮิตเลอร์เป็นผู้นำ) ., See also: Nazism, Nazism n. pl. Nazis |
Nontri Dictionary
bandmaster | (n) ผู้นำจังหวะ, วาทยากร |
captain | (n) หัวหน้า, ผู้นำ, นายทหาร, ไต้ก๋งเรือ, กัปตันเรือ, หัวหน้านักกีฬา |
cheerleader | (n) ประธานเชียร์, ผู้นำเชียร์, เชียร์ลีดเดอร์ |
chief | (n) หัวหน้า, ผู้บังคับบัญชา, นาย, ผู้นำ |
cock | (n) ไก่ตัวผู้, ก๊อกน้ำ, นักต่อสู้, ผู้นำ, นักเลง, หัวโจก, คนสำคัญ, นกปืน |
commander | (n) ผู้บังคับบัญชา, ผู้สั่งการ, ผู้สั่ง, ผู้นำ, นาวาโท |
conductor | (n) ตัวนำ, สื่อไฟฟ้า, สายล่อฟ้า, ผู้นำ, นายวงดนตรี, วาทยากร |
harbinger | (n) ผู้ไปล่วงหน้า, ผู้นำ, ผู้เบิกทาง, ลางสังหรณ์, ลาง |
headship | (n) ตำแหน่งหัวหน้า, ความเป็นผู้นำ, ตำแหน่งผู้นำ |
importer | (n) ผู้นำเข้า |
leader | (n) ผู้นำ, หัวหน้า, สายนำไฟฟ้า, ตัวนำแสดง, บทนำ, ผู้บัญชาการ |
leadership | (n) ความเป็นผู้นำ, ความเป็นหัวหน้า, ตำแหน่งผู้นำ |
precursor | (n) สื่อ, ผู้นำ, ลาง, เครื่องแสดง, ผู้มาก่อน, กองหน้า |
preside | (vi) เป็นผู้นำการประชุม, บรรเลงนำ |
raja | (n) ประมุข, ผู้นำ |
rajah | (n) ประมุข, ผู้นำ |
ringleader | (n) หัวโจก, ผู้นำ, หัวหน้าแก๊ง |
sheik | (n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า |
sheikh | (n) เจ้าแขก, เจ้าอาหรับ, ชีค, ผู้นำศาสนาอิสลาม, หัวหน้าเผ่า |
skipper | (n) ผู้บังคับการเรือ, กัปตันเรือ, ผู้นำทาง, กัปตันทีม |
spearhead | (n) กองหน้า, ปลายหอก, หัวหอก, ผู้นำหน้า |
usher | (n) ผู้นำเข้าประจำที่นั่ง, เจ้าหน้าที่ต้อนรับ, กองหน้า, คนส่งสาร |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
cfs : container freight station | [ซีเอ็ฟเอ็ส : คอนเท็นเน่อร์เฟรจสเตชั่น] (n) บริการนำสินค้าใส่ตู้และนำออกจากตู้ที่สถานีขนถ่ายสินค้าในตู้คอนเท็นเน่อร์ ผู้ส่งออกต้องนำตัวสินค้าไปส่งมอบให้แก่ผู้ประกอบการขนส่งที่ต้นทาง เพื่อให้ผู้ประกอบการขนส่งบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ให้ CFS Charge จะเรียกเก็บจากผู้ส่งออก หรือผู้นำเข้าแล้วแต่กรณีของ INCOTERMS® หากขึ้นต้นด้วยตัวอักษร C เช่น CPT หรือ CIP จะเก็บจากผู้ส่งออก หากขึ้นต้นด้วยอักษร F เช่น FCA จะเก็บจากผู้นำเข้า และค่าบริการนี้จะรวมถึงเมื่อตู้สินค้าถึงปลายทางตัวแทนผู้ประกอบการที่ปลายทางจะทำการเปิดตู้นำสินค้าออกให้ที่ CFS เช่นเดียวกัน : awp |
consigliere | (n) ที่ปรึกษา ผู้ให้คำแนะนำ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแก่เจ้าพ่อหรือผู้นำกลุ่มอาชญากร, See also: counselor, Syn. advice |
European Council | (name) ที่ประชุมยุโรป เป็นการประชุมของผู้นำในสหภาพยุโรป |
fashionist | (n) ผู้นำแฟชัน, See also: ดารา, นางแบบ, Syn. นักแฟชัน |
Harbinger | (n) ผู้นำมา |
hegemonic state | (n) มุขยรัฐ หมายถึงรัฐผู้นำที่มีอำนาจครอบงำรัฐอื่น |
Longdo Approved JP-TH
官邸 | [かんてい, kantei] (n) ทำเนียบ, บ้านพักอย่างเป็นทางการของผู้นำประเทศ |
首脳会談 | [しゅのうかいだん, shunoukaidan] (vt) การประชุมสุดยอดของผู้นำประเทศ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
補導 | [ほどう, hodou] ผู้นำทาง ผู้คุ้มครอง |
配達人 | [はいたつにん, haitatsunin] (n) ผู้นำส่ง(ของ) |
独裁者 | [どくさいしゃ, dokusaisha] ผู้นำเผด็จการ |
Longdo Approved DE-TH
Führer | (n) |der, pl. Führer| ผู้นำ |
Leiter | (n) |der, pl. Leiter| ผู้นำ, หัวหน้า |
Gipfel | (n) |der, pl. Gipfel| การเจรจาระหว่างผู้นำชั้นสูงระดับประเทศ เช่น Gipfeltreffen |
Häuptling | (n) |der, pl. Häuptlinge| ผู้นำกลุ่ม, หัวหน้าเผ่า, See also: Leiter, Syn. Chef |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Führer | ฟือเรอร์ เป็นตำแหน่งในรัฐบาลเยอรมนีในอดีต มีความหมายว่า ผู้นำ หรือ ผู้ชี้แนะ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.036 seconds, cache age: 2.44 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม