213 ผลลัพธ์ สำหรับ *ท้วง*
ภาษา
หรือค้นหา: ท้วง, -ท้วง-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ท้วง | (v) object, See also: protest against, oppose, argue against, criticize, remonstrate, expostulate, Syn. ท้วงติง, ทัดทาน, คัดค้าน, แย้ง, ติง, Ant. สนับสนุน, เห็นด้วย, Example: พ่อท้วงลูกเรื่องการออกไปเที่ยวนอกบ้าน, Thai Definition: พูดเป็นทำนองไม่เห็นด้วย |
ทักท้วง | (v) protest, See also: protest, remonstrate with, advise against, object to, oppose, admonish, Syn. ทัดทาน, คัดค้าน, ท้วง, ต้านไว้, แย้ง, ท้วงติง, Ant. เห็นด้วย, สนับสนุน, Example: ในการประชุม มีสมาชิกบางคนทักท้วงข้อเสนอเรื่องการสร้างโรงงาน, Thai Definition: กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย |
ท้วงติง | (v) warn against, See also: protest against, object to, argue against, criticize, remonstrate, expostulate, Syn. ท้วง, คัดค้าน, ทักท้วง, ค้าน, Ant. สนับสนุน, Example: เขานั่งเฉยโดยไม่ท้วงติง |
ประท้วง | (v) protest, See also: object, oppose, Syn. คัดค้าน, ค้าน, ต่อต้าน, Example: พนักงานประท้วงเพื่อขอขึ้นเงินเดือน, Thai Definition: กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง |
การท้วงติง | (n) objection, See also: protest, warning, admonition, expostulation, remonstration, Syn. การท้วง, การค้าน, การแย้ง, การติง |
ผู้ประท้วง | (n) protester, See also: demonstrator, Syn. คนประท้วง, คนคัดค้าน, ผู้คัดค้าน, Ant. ผู้สนับสนุน, Example: ฝ่ายตำรวจได้ปะทะกวาดล้างผู้ประท้วง จนมีผู้เสียชีวิตไปมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ท้วง | ก. พูดเป็นทำนองไม่เห็นด้วย |
ท้วง | พยุง, ประคอง, พา, เคลื่อนไหว, เช่น ท้วงตนหนีไปได้. |
ท้วงติง | ก. แย้งและให้ข้อคิด. |
ท่วงท่า | น. กิริยาท่าทาง. |
ท่วงทำนอง | น. ลีลาที่เป็นไปตามจังหวะหรือทำนอง. |
ท่วงที | น. ท่าทาง, หน่วยก้าน, ชั้นเชิง. |
ทักท้วง | ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองว่ายังไม่เห็นด้วย. |
ทันท่วงที | ว. ทันต่อเหตุการณ์พอดิบพอดี. |
ประท้วง | ก. กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสือประท้วง. |
กรม ๓ | (กฺรม) น. หมู่เหล่าอันเป็นที่รวมกำลังไพร่พลของแผ่นดินตามลักษณะปกครองสมัยโบราณ เพื่อประโยชน์ในราชการและเวลาเกิดศึกสงคราม จะได้เรียกระดมคนได้ทันท่วงที บรรดาชายฉกรรจ์ต้องเข้าอยู่ในกรมหรือในหมู่เหล่าใดเหล่าหนึ่ง เรียกว่า สังกัดกรม มีหัวหน้าควบคุมเป็นเจ้ากรม ปลัดกรม ตามลำดับ ซึ่งเมื่อพระเจ้าแผ่นดินทรงตั้งให้เจ้านายปกครองเป็นองค์ ๆ เรียกว่าตั้งกรม แล้ว เจ้านายพระองค์นั้นก็ ทรงกรม เป็น เจ้าต่างกรม เพราะมีกรมขึ้นต่างหากออกไปเป็นกรมหนึ่ง มีอำนาจตั้งเจ้ากรม ปลัดกรม เป็น หมื่น ขุน หลวง พระ พระยา ได้ และเรียกชื่อกรมนั้น ๆ ตามบรรดาศักดิ์เจ้ากรมว่า กรมหมื่น กรมขุน กรมหมื่น กรมขุน กรมหลวง กรมหลวงกรมพระ และกรมพระยา หรือ เมื่อจะทรงกรมสูงขึ้นกว่าเดิม ก็โปรดให้ เลื่อนกรม ขึ้น โดยเจ้ากรมมีบรรดาศักดิ์เลื่อนขึ้น เช่นจากหมื่นเป็นขุน, มาในปัจจุบันชื่อกรมเหล่านี้มีความหมายกลายเป็นพระอิสริยยศและพระนามเจ้านายเท่านั้น. |
กระลา ๑ | น. ท่วงที. (อนันตวิภาค) |
กระโวยกระวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น, โวยวาย ก็ว่า. |
กระแหน่ | น. เล่ห์กล, แง่งอน, ท่วงที, เช่น ข้ากระไดกระแหน่ แต่งแง่แผ่ตนท่า (ลอ). |
กรับเสภา | น. กรับชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้แก่นเช่นไม้ชิงชัน มี ๔ ด้าน ด้านหนึ่งโค้งสำหรับกระทบให้เกิดเสียง ยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร หนาประมาณ ๕ เซนติเมตร ลบเหลี่ยมเล็กน้อยเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวกระทบกันได้สะดวก ใช้ขยับประกอบในการขับเสภา โดยผู้ขับเสภาจะต้องใช้กรับ ๒ คู่ ประคองไว้ในอุ้งมือข้างละคู่ ขณะที่ขับเสภาก็ขยับกรับแต่ละคู่ให้กระทบกันให้สอดคล้องกับท่วงทำนองขับ, กรับขยับ ก็ว่า. |
กรีด ๒ | (กฺรีด) ก. มีท่วงท่าที่มีลีลางดงามอย่างละครรำ. |
กลอก | (กฺลอก) น. ลักษณะของเสียงที่บรรเลงเลื่อนไหลไปตามท่วงทำนองอย่างนุ่มนวลกลมกลืน เหมือนลักษณะของหยดน้ำที่กลิ้งอยู่บนใบบอน, ในการขับร้องหมายถึง เสียงที่เปล่งออกจากลำคอพอสมควรสลับกับเสียงทางจมูก แล้วตวัดเสียงให้สะบัดวกวนกลับไปกลับมา ๒ หรือ ๓ ครั้ง สุดแต่ผู้ขับร้องจะเห็นเหมาะสม. |
แกนนำ | น. ผู้ที่เป็นหลักหรือหัวหน้าของกลุ่มที่ชุมนุมเพื่อเรียกร้องหรือประท้วงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น กลุ่มผู้ชุมนุมที่เรียกร้องให้เพิ่มค่าแรงในครั้งนี้มีแกนนำอยู่ ๒-๓ คน |
เขบ็จขบวน | (ขะเบ็ดขะบวน) น. ท่าทาง, ระเบียบ, ชั้นเชิง, ท่วงที. |
เข้าที | ก. มีท่วงทีดี, มีชั้นเชิงดี, มีท่าทีจะสำเร็จ. |
ค้อนติง | ก. ทักท้วงแสดงความไม่เห็นด้วย. |
คุมเชิง | ก. คอยระวังท่วงทีของอีกฝ่ายหนึ่ง. |
จริยวัตร, จริยาวัตร | ความประพฤติ ท่วงทีวาจา และกิริยามารยาท. |
โจทนา | (โจดทะนา) น. การทักท้วง, การฟ้องหา |
เฉพาะหน้า | ว. ที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ๆ และจะต้องรีบแก้ไขให้ทันท่วงที เช่น ปัญหาเฉพาะหน้า เหตุการณ์เฉพาะหน้า. |
ชั้นเชิง | น. เล่ห์เหลี่ยม, ท่วงที, อุบาย, เชิงชั้น ก็ว่า. |
เชิง ๒ | ท่าที, ท่วงที, เช่น คุมเชิง หยั่งเชิง ลองเชิง |
เชิงชั้น | น. เล่ห์เหลี่ยม, ท่วงที, อุบาย, ชั้นเชิง ก็ว่า. |
ดุ | ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น. |
ติง ๑ | ก. ทักไว้, ท้วงไว้. |
ติงทุเลา | ก. ถ่วงเวลา, แย้งขอให้ระงับไว้ก่อน, เช่น แลอั้นคำค้านเสียมิได้ถามพญาณ แลอั้นคำท้วงติงทุเลาเสีย (สามดวง พระธรรมนูน), ครั้นว่าพี่มีคำติงทุเลา ช่างกระไรไม่เอาสักอย่าง (รามเกียรติ์ ร. ๒). |
ทัดทาน | ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองห้ามหรือท้วงเพื่อให้งดไว้. |
ทันกิน | ก. คิดหรือทำการใด ๆ ทันท่วงที (โดยปรกติใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น ทำการงานช้าไม่ทันกิน มัวงุ่มง่ามอยู่อย่างนี้ไม่ทันกิน. |
ท่า ๒ | น. ลักษณะท่วงทีของร่างกายในอิริยาบถหนึ่ง ๆ เช่น ท่ายืน ท่านั่ง ท่านอน |
ท่า ๒ | ชั้นเชิง, ท่วงที, เช่น พลาดท่า ได้ท่า เสียท่า. |
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ประ- ๑ | (ปฺระ-) ใช้เติมหน้าคำอื่นเพื่อให้คำหนักแน่นขึ้น เช่น ชิด เป็น ประชิด, ท้วง เป็น ประท้วง |
แผ่แง่ | ก. แสดงท่าทางท่วงทีเป็นชั้นเชิง. |
พระมาลัยมาโปรด | น. ผู้ที่มาช่วยเหลือในยามที่กำลังตกทุกข์ได้ยากได้ทันท่วงที. |
พริบไหว | น. ความรู้เท่าในกิจการ, ความรู้ทันท่วงที, โดยมากมักใช้ว่า ไหวพริบ. |
ยักท่า | ก. ไม่ปฏิบัติตามที่ตกลงกันไว้ เป็นการเล่นแง่เพื่อดูท่วงทีของอีกฝ่ายหนึ่ง. |
ลีลา | ท่วงทำนอง เช่น ลีลาการพูด ลีลาการเขียน |
เลี่ยง | ก. ลักษณะอาการที่เบี่ยงออกไปจากทางหรือแนวเดิม เช่น คำนี้ไม่สุภาพเลี่ยงไปใช้คำอื่น เจ้าหน้าที่ไม่ต้องการยิงให้ถูกผู้ประท้วงจึงยิงเลี่ยงไปทางอื่น ขับรถเลี่ยงลงข้างทางเพื่อไม่ให้ชนวัวที่ยืนขวางถนน, โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เลี่ยงงาน เลี่ยงกฎหมาย เลี่ยงภาษี เลี่ยงบาลี. |
โวย | ก. ส่งเสียงแสดงความไม่พอใจเกินกว่าเหตุ เช่น เรื่องเล็กนิดเดียวก็โวยเสียเป็นเรื่องใหญ่โต, ประท้วงด้วยการส่งเสียงเอะอะ เช่น เขาโวยว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม |
โวยวาย | ก. ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจ เป็นต้น เช่น พอประกาศเงินเดือนขึ้นอีกกลุ่มก็โวยวาย. |
โวยวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น เช่น เขาไม่ได้เงินเดือนขึ้นก็ส่งเสียงโวยวาย, กระโวยกระวาย ก็ว่า. |
สลายตัว | อาการที่ฝูงชนซึ่งรวมตัวกันเพื่อประท้วงเป็นต้นแล้วต่อมาได้แยกย้ายกันไป เช่น กลุ่มชนที่มาประท้วงได้สลายตัวไปหมดแล้ว. |
สอบสัมภาษณ์ | ก. สอบท่วงทีวาจาและไหวพริบพิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่. |
สัมภาษณ์ | การสอบท่วงทีวาจาและไหวพริบ พิจารณาดูชั้นเชิงและความสามารถของผู้เข้าสอบ ว่าจะเป็นผู้เหมาะสมตามที่ต้องการหรือไม่ เรียกว่า สอบสัมภาษณ์. |
สำนวน | ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกันมาช้านานแล้ว มีความหมายไม่ตรงตามตัวหรือมีความหมายอื่นแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง, ถ้อยคำที่แสดงออกมาเป็นข้อความพิเศษ เฉพาะภาษาหนึ่ง ๆ เช่น สำนวนฝรั่ง สำนวนบาลี, ชั้นเชิงหรือท่วงทำนองในการแต่งหนังสือหรือพูด เช่น สำนวนเจ้าพระยาพระคลัง (หน) สำนวนยาขอบ สำนวนไม้ เมืองเดิม |
เสียที ๑ | ก. พลาดท่วงที เช่น คนซื่อเกินไปมักเสียทีคนปลิ้นปล้อน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
picketing | ๑. การถือป้ายประท้วง๒. การขัดขวางไม่ให้เข้าทำงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
picketing | ๑. การถือป้ายประท้วง๒. การขัดขวางไม่ให้เข้าทำงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
point of order | การประท้วงในที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
representation | ๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remonstrance | การประท้วง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
remonstrance | การทัดทาน, การประท้วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sit-in | การยึดพื้นที่ประท้วง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
order, point of | การประท้วงในที่ประชุมสภา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unlawful picketing | ๑. การประท้วงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย๒. การขัดขวางการเข้าทำงานโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Protest movements | ขบวนการประท้วง [TU Subject Heading] |
Student strike, [ date ] | การประท้วงของนักศึกษา, ปี... [TU Subject Heading] |
Tiananmen Square incident, 1989 | เหตุการณ์ชุมนุมประท้วงที่จตุรัสเทียนอันเหมิน, ค.ศ. 1989 [TU Subject Heading] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Demarche | การยื่นหนังสือประท้วง [การทูต] |
Diplomatic Expressions | ถ้อยคำสำนวนที่ใช้ในวงการทูต กล่าวคือ ในวงการทูตจะมีการนิยมใช้ถ้อยคำสำนวนการทูต ถือกันว่าเป็นภาษาที่สุภาพ ซึ่งจะมีความหมายลึกซื้งเพียงใดนั้น บรรดาเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะทราบกันดี อาทิเช่น?My Government views with concern หรือ with grave concern? จะแสดงถึงท่าทีที่ไม่เห็นด้วย หรือแสดงการประท้วง?My Government cannot remain indifferent to the matter? จะส่อถึงเจตนาที่จะดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปส่วนถ้อยคำสำนวนที่ว่า ?In such event my Government would feel bound to reconsider its position หรือ to consider its own interest??My Government will have to claim a free hand? หรือ ?feel obliged to formulate express reservations regarding?เหล่านี้เป็นถ้อยคำสำนวนที่เตือนให้ทราบว่า อาจเกิดการแตกร้าว หรือตัดขาดในพันธไมตรีที่มีต่อกันได้เมื่อรัฐบาลหนึ่งประกาศถือว่าการกระทำ ของอีกรัฐบาลหนึ่งเป็น ?an unfriendly act? หรือการกระทำที่ไม่เป็นมิตรเช่นนี้ ย่อมหมายถึงการเตือนให้ทราบว่า การกระทำเช่นนั้นอาจนำไปสู่สงครามได้ถ้าหากในตอนเสร็จสิ้นการประชุมกันมีการ แถลงการณ์หรือโฆษกของที่ประชุมแจ้งให้ทราบว่า ที่ประชุมได้ทำความตกลงกันโดยสมบูรณ์ (Full agreement) แต่ไม่มีการเปิดเผยให้ทราบว่ามีการตกลงอะไรกันบ้าง จะทำให้เป็นที่สงสัยกันว่าได้มีการตกลงกันโดยสมบูรณ์จริงละหรือ ถ้าหากคำประกาศนั้นใช้ถ้อยคำว่า มี ?substantial agreement? ก็พอจะอนุมานได้ว่าแท้ที่จริงยังมีเรื่องสำคัญ ๆ ที่ยังตกลงกันไม่ได้อีกบางเรื่อง อนึ่ง หากว่ามีการแถลงว่า ?there was a full exchange of views? ก็เท่ากับพูดว่า มิได้มีการตกลงกันแต่อย่างใดทั้งสิ้น [การทูต] |
point of order | ประท้วง หรือขัดจังหวะในระหว่างการประชุม หรือระหว่างการกล่าวถ้อยแถลงในเรื่องผิดข้อบังคับการประชุม [การทูต] |
State Peace and Development Council | สภาเพื่อสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ เป็นองค์กรปกครองสูงสุดของพม่าในปัจจุบัน เดิมมีชื่อว่าสภาฟื้นฟูกฎหมายและระเบียบแห่งรัฐ (SLORC - State Law and Order Restoration Council) อันเป็น กลุ่มทหารพม่าที่เข้ายึดอำนาจการปกครองในวันที่ 18 กันยายน 2531 ภายหลังจากที่ประชาชนชาวพม่าได้ออกมาเดินขบวนประท้วงรัฐบาลภายใต้การนำของ พรรคโครงการสังคมนิยมพม่า การเข้ายึดอำนาจรัฐในครั้งนั้นเป็นไปอย่างนองเลือดและคณะทหารดังกล่าวได้ให้ สัญญาว่าจะจัดให้มีการเลือกตั้ง แต่ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 27 พฤษภาคม 2533 SLORC กลับปฏิเสธที่จะมอบอำนาจการปกครองให้แก่พรรค National League for Democracy (NLD) และเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2540 SLORC ก็ได้เปลี่ยนชื่อเป็น SPDC [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เดินขบวนประท้วงรัฐบาล | [doēnkhabūan prathūang ratthabān] (v, exp) EN: march in protest against the government |
การประท้วง | [kān prathūang] (n) FR: protestation [ f ] |
การประท้วงหยุดงาน | [kān prathūang] (n, exp) EN: strike FR: arrêt de travail [ m ] |
การถือป้ายประท้วง | [kān theū pāi prathūang] (n, exp) EN: picketing |
ผู้ประท้วง | [phū prathūang] (n, exp) EN: protester ; demonstrator FR: protestataire [ m ] ; contestataire [ m ] ; manifestant [ m ] |
ประท้วง | [prathūang] (v) EN: protest ; object ; oppose FR: protester ; rouspéter |
ทักท้วง | [thakthūang] (v) EN: protest ; protest ; remonstrate with ; advise against ; object to ; oppose ; admonish FR: protester ; objecter |
ท้วง | [thūang] (v) EN: object to ; protest against ; argue against ; put forward an objection ; raise an objection ; criticize ; remonstrate ; expostulate FR: s'opposer (à) ; protester (contre) ; être en désaccord (avec) ; rouspéter (fam.) |
ท่วงท่า | [thūangthā] (n) EN: bearing ; comportment ; appearance ; manner ; attitude ; posture ; gesture ; action ; motion FR: allure [ f ] ; attitude [ f ] |
ท่วงที | [thūangthī] (n) EN: manners ; deportment ; bearing ; attitude FR: air [ m ] ; aspect [ m ] |
ท่วงทีวาจา | [thūangthī wājā] (n, exp) EN: manner of speaking |
ท้วงติง | [thūangting] (v) EN: advise against ; dissuade |
Longdo Approved EN-TH
picket sign | (n) ป้ายประท้วง เช่น The strikers carried picket signs prepared by the Unions. |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
admonition | (n) การตักเตือน, See also: การท้วงติง, การเตือนให้ระวังข้อผิดพลาด |
blackleg | (n) ผู้ยังคงทำงาน ขณะที่คนอื่นหยุดงานประท้วง |
be out | (phrv) หยุดทำงาน (เพราะขัดแย้ง), See also: หยุดงานประท้วง, Syn. bring out |
book off | (phrv) ประท้วงไม่ทำงาน, See also: ประกาศไม่เข้าทำงาน |
bring out | (phrv) หยุดงานประท้วง, Syn. be out, call out, come out |
crush | (vt) ปราบการประท้วง |
call out | (phrv) กระตุ้นให้ประท้วงหยุดงาน, See also: ทำให้ประท้วงหยุดงาน, Syn. bring out |
chuck down one's tools | (idm) ประท้วงต่อ (คำไม่เป็นทางการ) |
demonstrate against | (phrv) เดินขบวนประท้วง, See also: ประท้วง, คัดค้าน |
fetch out | (phrv) ประท้วงหยุดงาน, Syn. bring out |
fling down one's tools | (idm) หยุดงานเพราะไม่เห็นด้วย, See also: ประท้วงเพราะไม่เห็นด้วย, Syn. chuck down, throw down |
demonstrate | (vi) ประท้วง, Syn. protest |
demonstration | (n) การประท้วง, See also: การเดินขบวน |
demonstrator | (n) ผู้เดินขบวน, See also: คนเดินขบวน, คนประท้วง |
expostulate | (vi) แสดงความไม่เห็นด้วย, See also: ติง, ท้วง, ทักท้วง, คัดค้าน, Syn. dissuade, oppose, remonstrate |
expostulation | (n) การแสดงความไม่เห็นด้วย, See also: การท้วงติง, การทักท้วง, Syn. dissuasion, protest, remonstrance |
fink | (n) คนที่ยังทำงานในขณะที่คนอื่นผละงานประท้วง (คำสแลง), See also: คนงานที่ไม่ยอมหยุดงานขณะมีการประท้วงหยุดงาน, Syn. strikebreaker, scab |
get out | (phrv) หยุดงานประท้วง, Syn. bring out |
go back | (phrv) กลับไปทำงาน, See also: หยุดประท้วง, Syn. bring out |
go out | (phrv) หยุดงานประท้วง |
go-slow | (n) การประท้วงโดยทำงานล่าช้ากว่าปกติของคนงาน |
hue and cry | (idm) การส่งเสียงประท้วงกึกก้อง |
immolate | (vt) เผาตัวตายเพื่อประท้วง (คำทางการ), Syn. sacrifice |
insurgence | (n) การจลาจล, See also: การก่อจลาจล, การประท้วง, Syn. rebellion, revolt, Ant. obedience, compliance |
insurgency | (n) การจลาจล, See also: การก่อจลาจล, การประท้วง, Syn. rebellion, revolt, Ant. obedience, compliance |
insurgent | (n) กบฏ, See also: ผู้ก่อกบฏ, ผู้ต่อต้านรัฐบาล, ผู้ประท้วง, Syn. rebel, revolter |
lockout | (n) การปิดโรงงานโดยเจ้าของกิจการในช่วงที่มีการประท้วง |
object | (vi) คัดค้าน, See also: ท้วงติง, ทัดทาน, ท้วง, Syn. resist, protest, Ant. admit, concur, consent |
open letter | (n) จดหมายประท้วง, See also: จดหมายร้องเรียน |
protest | (vt) คัดค้าน, See also: ทักท้วง, ขัดขวาง, ประท้วง, Syn. disagree, object, Ant. agree |
protest | (vi) คัดค้าน, See also: ทักท้วง, ขัดขวาง, ประท้วง |
protest | (n) การคัดค้าน, See also: การประท้วง, Syn. denial, compliant, Ant. agreement |
protestant | (n) ์ผู้คัดค้าน, See also: คนทักท้วง |
protestation | (n) การประท้วง, See also: การต่อต้าน |
protester | (n) ผู้ต่อต้าน, See also: ผู้ประท้วง, Syn. rebel, dissident |
protest against | (phrv) คัดค้าน, See also: ประท้วง, Syn. demur at, object to |
remonstrance | (n) การประท้วง, Syn. protest, complaint, rebuke, reproach |
eco warrior | (sl) นักประท้วงทางสิ่งแวดล้อม |
scab | (n) คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมหยุดงานประท้วง, See also: คนงานที่ไม่ยอมเข้าร่วมสหภาพแรงงาน, Syn. apostate, deserter, knobstick, traitor, turncoat, strikebreaker |
sit-in | (n) การชุมนุมประท้วง, Syn. protest, march |
strike | (vi) หยุดงานประท้วง, See also: ก่อการจลาจล, Syn. mutiny, revolt, walk out |
strike | (n) การหยุดงานประท้วง, Syn. revolution, walkout |
strikebound | (adj) ปิดเพราะการหยุดงานประท้วง, Syn. closed by strike |
strikebreaker | (n) คนที่ยังทำงานอยู่ในขณะเกิดการประท้วง, Syn. nonstriker, scab |
strikebreaker | (n) คนที่เข้าทำงานแทนพวกหยุดงานประท้วง |
striker | (n) คนงานที่หยุดงานประท้วง, Syn. protester, walk-outer |
struck | (adj) ปิดเพราะการหยุดงานประท้วง |
stay in | (phrv) ยังประท้วงต่อ, See also: ยังคัดค้านต่อ |
stop out | (phrv) ยังประท้วงต่อ, Syn. bring out |
strike against | (phrv) ประท้วงต่อ, Syn. hang out for, hold out for, stand out for, stick out for |
Hope Dictionary
outcry | (เอาทฺ'ไคร) n. เสียงร้องดัง, เสียงโวยวาย, การโวยวาย, การประท้วงหรือคัดค้านอย่างรุนแรง, |
protest | (โพรเทสทฺ') vt., vi. คัดค้าน, ประท้วง, ประกาศยืนยัน, ยืนยัน, เสนอแย้ง, ปฏิเสธชำระ (บิล) n. (โพร'เทสทฺ) การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธการชำระบิล, คำร้อง., See also: protester n. protestingly adv., Syn. objection |
protestant | (พรอท'ทิสเทินทฺ) n. ศาสนิกชนของนิกายศาสนาคริสต์ที่แยกตัวจากโรมันคาทอลิกตั้งแต่ศตวรรษที่ 16, , See also: protestant n. ผู้ประท้วง ผู้คัดค้าน adj. เกี่ยวกับนิกายดังกล่าว, ซึ่งประท้วง |
protestation | (พรอท'ทิสเท'เชิน) n. การคัดค้าน, การประท้วง, การประกาศยืนยัน, การเสนอแย้ง |
remonstrance | (รีมอน'สเทรินซฺ) n. การคัดค้าน, การทัดทาน, การประท้วง, การโต้แย้ง |
remonstrant | (รีมอน'สเทรินทฺ) adj. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง n. ผู้คัดค้าน, ผู้ทัด-ทาน, ผู้ประท้วง, ผู้โต้แย้ง |
remonstrate | (รีมอน'สเทรท) vt. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง vi. คัดค้านหรือโต้แย้งด้วยเหตุผล, See also: remonstration n. remonstrative adj. remonstrator n., Syn. protest, object, contend |
roof | (รูฟ) n. หลังคา, หลังคาสิ่งปลูกสร้าง, หลังคารถ, โครงค้ำหลังคา, สิ่งที่คล้ายหลังคาบ้าน, เพดาปาก, ส่วนบน, แผ่นบน -Phr. (raise the roof ทำให้เกิดเสียงดัง, บ่นหรือประท้วงด้วยเสียงที่ดังทะเลาะกันเสียงดัง) vt. มุงหลังคา, ครอบ, ปิดคลุม pl. roofs |
sit-in | (ซิท'อิน) n. การจับกลุ่มนั่งประท้วง |
spell checker | โปรแกรมตรวจตัวสะกดหมายถึง โปรแกรมที่เขียนขึ้นเพื่อใช้ช่วยในการตรวจสอบตัวสะกดการันต์ของข้อความที่พิมพ์ โดยเทียบกับพจนานุกรม (โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ) มักใช้ร่วมกับโปรแกรมประมวลคำ (word processing) ในปัจจุบันได้มีการพัฒนาไปมากนอกจากจะทักท้วงถ้าพบตัวที่สะกดผิดแล้ว ยังแสดงคำที่สะกดถูกให้ด้วย |
walk | (วอล์ค) vi. vt. เดิน, ดำเนินวิถีชีวิต -Phr. (walk out ประท้วงโดยการเดินออกจากที่ประชุม) n. การเดิน, ระยะที่เดิน, ท่าทางการเดิน, ฐานะ, สภาพ, ทางเดิน, สถานที่เดิม, ไร่นา, กลุ่ม, ฝูง, ทางเร่ขาย, See also: walkable adj. |
walkout | (วอค'เอาทฺ) n. การประท้วงโดยเดินออกจากที่ประชุม S. strike |
Nontri Dictionary
object | (vt) ทักท้วง, คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย |
objection | (n) ข้อขัดข้อง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การโต้แย้ง |
objectionable | (adj) ค้านได้, น่ารังเกียจ, น่าท้วงติง |
protest | (n) การประท้วง, คำคัดค้าน, การคัดค้าน, การต่อต้าน |
protest | (vt) ประท้วง, คัดค้าน, ต่อต้าน, ขัดขวาง |
protestant | (n) ผู้นับถือลัทธิโปรเตสแตนต์, ผู้ประท้วง, ผู้คัดค้าน |
protestation | (n) คำประท้วง, คำคัดค้าน, คำร้อง |
remonstrance | (n) การประท้วง, การคัดค้าน, การทัดทาน |
remonstrate | (vt) ประท้วง, คัดค้าน, ทัดทาน, โต้แย้ง |
striking | (vt) เด่น, สะดุดตา, นัดหยุดงาน, ประท้วง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
picketer | [pik-ke-ter] (n) คนเดินขบวนประท้วงเรื่องธุรกิจ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
デモ隊 | [でもたい, demotai] (n) ผู้ชุมนุมประท้วง |
Longdo Approved DE-TH
etw. gefallen lassen | (phrase) ยอมรับ หรือ ไม่ต่อต้านให้สิ่งนั้นๆ เกิดขึ้น หรือ ยอมทนให้เกิดขึ้น เช่น Demonstration gefallen lassen = ยอมให้มีการประท้วงเกิดขึ้น |
Stacheldraht | (n) |der, pl. Stacheldrähte| ลวดหนามที่ใช้ทำรั้ว หรือสำหรับใช้ในกรณีมีการประท้วงเกิดขึ้น เช่น der Stacheldrahtzaun = รั้วลวดหนาม |
betroffen | (adv) |von etw.(D), über etw.(A)| ได้รับผลกระทบ เช่น Manche Mitarbeiter in der Firma sind vom Streik der Bahn betroffen. พนักงานส่วนใหญ่ของบริษัทได้รับผลกระทบจากการประท้วงของการรถไฟ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0623 seconds, cache age: 25.62 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม