253 ผลลัพธ์ สำหรับ *ซื้อขาย*
ภาษา
หรือค้นหา: ซื้อขาย, -ซื้อขาย-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ซื้อขาย | (v) trade, See also: buy and sell, merchandise, deal in, Syn. จำหน่าย, ค้าขาย, ซื้อขายแลกเปลี่ยน, Example: นายหน้าค้าที่ดินติดต่อซื้อขายที่ดินแถบชายทะเล |
การซื้อขาย | (n) trading, See also: buy and sell, barter, dealing, transaction, Syn. การค้าขาย, Example: ตลาดหุ้นโตเกียวอยู่ในสภาวะที่การซื้อขายค่อนข้างเบาบางเนื่องจากนักลงทุนต่างก็ไม่มั่นใจในทิศทางเศรษฐกิจ |
สัญญาซื้อขาย | (n) contract of sale, Example: สัญญาซื้อขายเป็นหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์อย่างหนึ่ง, Thai Definition: ข้อตกลงการซื้อขายเป็นลายลักษณ์อักษร |
นายหน้าซื้อขาย | (n) broker, See also: agent, go-between, Syn. ผู้แทนขาย, คนกลาง, Example: พอเขาเปลี่ยนอาชีพมาเป็นนายหน้าซื้อขายหุ้น ก็มีฐานะดีขึ้นเรื่อยๆ, Count Unit: คน, Thai Definition: บุคคลผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคล 2 ฝ่ายได้เข้าทำสัญญากันหรือทำการซื้อขายกัน |
ซื้อขายแลกเปลี่ยน | (v) trade, See also: buy and sell, merchandise, deal in, Syn. ซื้อขาย, ค้าขาย, Example: ตลาดแห่งนี้จะซื้อขายแลกเปลี่ยนกล้องถ่ายรูปต่างๆ ทั้งใหม่และมือสอง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ซื้อขาย | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ขาย โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่บุคคลอีกฝ่ายหนึ่ง เรียกว่า ผู้ซื้อ และผู้ซื้อตกลงจะใช้ราคาทรัพย์สินนั้นให้แก่ผู้ขาย. |
กฎหมายพาณิชย์ | น. กฎหมายที่วางระเบียบความเกี่ยวพันทางการค้าหรือธุรกิจระหว่างบุคคล เช่น กฎหมายว่าด้วยการซื้อขาย การเช่าทรัพย์ การจำนอง การจำนำ ตั๋วเงิน หุ้นส่วน บริษัท. |
กินนอกกินใน | ก. เอากำไรในการซื้อขาย ทั้งในราคาและนอกราคาที่กำหนด. |
ขาย | ก. เอาของแลกเงินตรา, โอนกรรมสิทธิ์แห่งทรัพย์สินให้แก่กันโดยตกลงกันว่าผู้รับโอนจะใช้ราคาแห่งทรัพย์สินนั้น มีหลายลักษณะ คือ ชำระเงินในขณะที่ซื้อขายกัน เรียกว่า ขายเงินสด, ขายโดยยอมเก็บเงินอันเป็นราคาของในวันหลัง เรียกว่า ขายเชื่อ, (เลิก) เอาเงินเขามาโดยยอมตนเข้ารับใช้การงานของเจ้าเงิน เรียกว่า ขายตัวลงเป็นทาส. |
ขายเงินสด | ก. ขายโดยผู้ซื้อชำระเงินในขณะที่ซื้อขายกัน. |
ขายตามคำพรรณนา | น. การซื้อขายที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายทรัพย์สินตามลักษณะและคุณภาพที่ผู้ขายได้บรรยายไว้อย่างละเอียด. |
ขายตามตัวอย่าง | น. การขายที่คู่สัญญาตกลงซื้อขายทรัพย์สินตามที่ผู้ขายได้นำทรัพย์สินมาแสดงให้ดูเป็นตัวอย่าง. |
ขายทอดตลาด | น. การขายทรัพย์สินที่กระทำโดยเปิดเผยแก่บุคคลทั่วไปด้วยวิธีเปิดโอกาสให้ผู้ซื้อสู้ราคากัน ผู้ใดให้ราคาสูงสุดและผู้ทอดตลาดแสดงความตกลงด้วยเคาะไม้หรือด้วยกิริยาอย่างอื่นตามจารีตประเพณีในการขายทอดตลาด การซื้อขายนั้นย่อมเป็นอันสมบูรณ์. |
ขายเผื่อชอบ | น. การซื้อขายที่มีเงื่อนไขว่าให้ผู้ซื้อได้มีโอกาสตรวจดูทรัพย์สินก่อนรับซื้อ. |
ขายฝาก | น. การซื้อขายซึ่งกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินตกไปยังผู้ซื้อ โดยมีข้อตกลงกันว่าผู้ขายอาจไถ่ทรัพย์นั้นคืนได้ภายในเวลาที่กำหนดกันไว้. |
ค่าตัว | น. ราคาที่กำหนดขึ้นเพื่อซื้อขายทาสในสมัยโบราณ, ต่อมาหมายถึงราคาที่กำหนดขึ้นตามความสำคัญหรือความสามารถของบุคคล. |
ค้า ๑ | ก. ซื้อขายสินค้าหรือบริการ. |
ค้าขาย | ก. ทำมาหากินในทางซื้อขาย. |
เงิน | วัตถุที่ใช้วัดราคาในการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน, วัตถุที่มีตราของรัฐ ใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย, ได้แก่ เหรียญกระษาปณ์และธนบัตร, เงินตรา ก็เรียก |
เงินเชื่อ | น. เงินค่าสิ่งของที่ยอมให้ชำระภายหลังเมื่อซื้อขาย, เงินแห้ง ก็เรียก. |
จรลาด, จรหลาด | (จะระหฺลาด) น. ตลาด, ที่ชุมนุมซื้อขายของต่าง ๆ, เช่น จบจรลาดแลทาง ทั่วด้าว (นิ. นรินทร์), จรหลาดเลขคนหนา ฝ่งงเฝ้า (กำสรวล). |
จำนำ | ก. ประจำ, เรียกผู้ซื้อขายหรือติดต่อกันเป็นประจำว่า เจ้าจำนำ. |
เจ้าจำนำ | น. ผู้ซื้อขายหรือติดต่อกันเป็นประจำ. |
ตกเขียว | น. วิธีการที่นายทุนทำสัญญาซื้อขายข้าวหรือผลไม้ตามที่ตกลงกันกับชาวนา ชาวสวน หรือชาวไร่เมื่อข้าวลัดใบหรือผลไม้ยังอ่อนอยู่ โดยตกลงกันว่านายทุนจะได้ข้าวเปลือกหรือผลไม้นั้นไปหลังจากนวดข้าวแล้วหรือเมื่อผลไม้นั้นแก่เต็มที่แล้ว เช่น ตกเขียวลำไย, โดยปริยายหมายถึงการที่พ่อแม่รับเงินจากนายทุนซึ่งจ่ายให้เป็นค่าตัวเด็กผู้หญิงไว้ล่วงหน้า แล้วนายทุนจะมารับตัวเด็กไปเพื่อค้าประเวณีเป็นการใช้หนี้คืนให้แก่นายทุน. |
ตลาด | (ตะหฺลาด) น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ |
ตลาดนัด | น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ซึ่งมิได้ตั้งอยู่ประจำ จัดให้มีขึ้นเฉพาะในวันหรือสถานที่ที่กำหนดเท่านั้น. |
ตลาดน้ำ | น. ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ ทางนํ้า มีเรือเป็นพาหนะบรรทุกสิ่งของ, (โบ) ตลาดท้องนํ้า. |
ตลาดมืด | น. ตลาดที่ซื้อขายกันลับ ๆ โดยหลีกเลี่ยงข้อกำหนดที่ทางการได้วางไว้. |
ตลาดหลักทรัพย์ | น. ตลาดหรือสถานที่อันเป็นศูนย์กลางในการซื้อขายหลักทรัพย์, ตลาดหุ้น ก็เรียก. |
ต่อตาม | ก. พูดเกี่ยงราคาในเรื่องซื้อขาย, พูดเกี่ยงผลประโยชน์ในการทำความตกลงกัน. |
ท้องตลาด | น. ตลาดทั่ว ๆ ไป, ที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของต่าง ๆ. |
ธุรกิจหลักทรัพย์ | น. การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่าคณะกรรมการ ก.ล.ต. |
บริษัทหลักทรัพย์ | น. บริษัทหรือสถาบันการเงิน ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ ก.ล.ต. |
เปอร์เซ็นต์ | ค่านายหน้า, ค่าตอบแทนในการติดต่อซื้อขายเป็นต้น, เช่น ได้เปอร์เซ็นต์ ให้เปอร์เซ็นต์. |
พาณิชย-, พาณิชย์ | ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการพาณิชย์ และกิจการทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการพาณิชย์รวมตลอดทั้งการซื้อขายและแลกเปลี่ยนสินค้า การควบคุมและส่งเสริมเกี่ยวกับกิจการค้าและการประกันภัย. |
ราคา | จำนวนเงินซึ่งได้มีการชำระหรือตกลงจะชำระในการซื้อขายทรัพย์สิน, โดยปริยายหมายความว่า ค่า, คุณค่า, มักใช้ในความปฏิเสธ เช่น เขาทำตัวเป็นคนไม่มีราคา. |
ราคาตลาด | น. ราคาที่ซื้อขายกันทั่วไปในท้องที่ใดท้องที่หนึ่งและในขณะใดขณะหนึ่ง, ราคาท้องตลาด ก็เรียก. |
เล่นหุ้น | ก. ลงทุนด้วยการซื้อขายหุ้นเพื่อเก็งกำไร. |
สัญญาต่างตอบแทน | น. สัญญาที่คู่สัญญาทั้งสองฝ่ายต่างต้องปฏิบัติการชำระหนี้ตอบแทนกัน เช่น สัญญาซื้อขาย. |
สินค้า | น. สิ่งของที่ซื้อขายกัน เช่น ร้านนี้มีสินค้านานาชนิด. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
promise of sale | คำมั่นในการซื้อขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
redhibition | การบอกเลิกสัญญาซื้อขาย (เพราะทรัพย์สินชำรุดบกพร่อง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sale | ขาย, การซื้อขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sale contract | สัญญาซื้อขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salable | ที่ซื้อขายได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
salable value | ราคาที่ซื้อขายกัน (ในท้องตลาด) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
bargain and sale | สัญญาซื้อขายที่ดิน (ที่ผู้ซื้อมีสิทธิเข้าครอบครองได้เลย) (ก. อังกฤษ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
merchandable quality | คุณภาพเหมาะแก่การซื้อขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
marketable | ที่อาจซื้อขายได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
marketable security | หลักทรัพย์ที่ซื้อขายได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contract price clause | ข้อกำหนดชดใช้ตามสัญญาซื้อขาย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
futures; futures contract | สัญญาซื้อขายล่วงหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
futures contract; futures | สัญญาซื้อขายล่วงหน้า [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Cost, Insurance and Freight | ประเภทของสัญญาซื้อขายน้ำมันที่ผู้ขายจะต้องรับผิดชอบในการส่งน้ำมันไปถึงผู้ซื้อ , ประเภทของสัญญาซื้อขายน้ำมันที่ผู้ขายจะต้องรับผิดชอบในการส่งน้ำมันไปถึงผู้ซื้อ และจะต้องเป็นผู้จ่ายค่าขนส่งและค่าประกันภัยแทนผู้ซื้อ [ปิโตรเลี่ยม] |
Crude Basket Method | ราคาซื้อขายน้ำมันดิบโดยใช้วิธีอิงราคาน้ำมันดิบตลาดโลก, ราคาซื้อขายน้ำมันดิบโดยใช้วิธีอิงราคาน้ำมันดิบตลาดโลก ที่มีคุณภาพใกล้เคียงกันหลายๆชนิด [ปิโตรเลี่ยม] |
Power Pool | ตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า, Example: ตามแผนแม่บทการปฏิรูปรัฐวิสาหกิจ กำหนดให้มีการจัดตั้งตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้าในปี 2546 ซึ่งผู้ใช้ไฟไม่จำเป็นต้องซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค หรือการไฟฟ้านครหลวง แต่สามารถเลือกซื้อจากผู้ค้าปลีก (retails) รายใดก็ได้ โดยผู้ค้าปลีกจะไปซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าผ่านตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้า และส่งไปตามสายของการไฟฟ้าฝ่ายผลิต การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคหรือการไฟฟ้านครหลวง ซึ่งจะทำให้เกิดการแข่งขันในการขายไฟฟ้าให้กับผู้ใช้ไฟ ทั้งในด้านราคาและคุณภาพบริการ โดยตลาดกลางซื้อขายไฟฟ้ามีหน้าที่ 2 ประการ คือ - เป็นศูนย์กลางซื้อขายไฟฟ้าระหว่างผู้ผลิตกับผู้ค้าปลีก - เป็นกลไกในการบริหารพลังงานไฟฟ้าในระบบไฟฟ้า เช่น การสั่งเดินเครื่องของโรงไฟฟ้า เพื่อให้มีการสั่งเดินเครื่องจากโรงที่มีต้นทุนต่ำที่สุดก่อน [ปิโตรเลี่ยม] |
Take or Pay | ข้อผูกพันในการซื้อขายก๊าซ, Example: ข้อผูกพันในการซื้อขายก๊าซซึ่งผู้ซื้อได้ตกลงกับผู้ขายที่จะซื้อและรับก๊าซในปริมาณที่ตกลงไว้ ถ้าผู้ซื้อไม่สามารถรับก๊าซในปริมาณและระยะเวลาที่ตกลงไว้ จะต้องจ่ายมูลค่าก๊าซที่ยังไม่ได้รับไปก่อนแล้วไปรับก๊าซคืนในปีถัดไป (Make-up) (ดูคำ Make-up Gas) [ปิโตรเลี่ยม] |
Flaring | การเผาก๊าซทิ้ง, การเผาก๊าซทิ้งซึ่งเป็นก๊าซส่วนเกินที่ไม่ได้นำมาใช้ประโยชน์หรือไม่ได้นำมาซื้อขาย หรือเนื่องมาจากเหตุผลทางเทคนิค [ปิโตรเลี่ยม] |
Free on Board | สัญญาการซื้อขายน้ำมัน, สัญญาการซื้อขายน้ำมันประเภทที่ผู้ขายรับผิดชอบในการขนถ่ายน้ำมันลงเรือของผู้ซื้อ ณ ท่าเรือขนถ่าย ความสูญเสียหรือภัยอันตรายที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางผู้ซื้อจะต้องรับผิดชอบเอง [ปิโตรเลี่ยม] |
Insider trading | การซื้อขายหลักทรัพย์โดยอาศัยข้อมูลวงใน [เศรษฐศาสตร์] |
Big lot | การซื้อขายรายใหญ่, Example: การซื้อขายหลักทรัพย์ใดหลักทรัพย์หนึ่ง (อาจเป็นหุ้นหรือตราสารหนี้ก็ได้) จำนวนเดียวโดยไม่แบ่งย่อย และมีปริมาณหรือมูลค่าการซื้อขายเท่ากับ หรือสูงกว่าปริมาณหรือมูลค่าที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด ปัจจุบันตลาดหลักทรัพย์กำหนดว่า การซื้อขายคราวละตั้งแต่ 1 ล้านหุ้น หรือมูลค่า 3 ล้านบาทขึ้นไป ถือเป็นการซื้อขายรายใหญ่ (big lot) ตลาดหลักทรัพย์จัด big-lot board (กระดานซื้อขายรายใหญ่) ไว้รองรับการซื้อขายเช่นนี้ [ตลาดทุน] |
Big-lot board | กระดานซื้อขายรายใหญ่, Example: เป็นกระดานการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทหนึ่ง ซึ่งตลาดหลักทรัพย์มีเพื่อรองรับการซื้อขายหลักทรัพย์ประเภทหุ้นสามัญ หุ้นบุริมสิทธิ ใบสำคัญแสดงสิทธิชนิดต่างๆ หน่วยลงทุน และกองทุนรวมเพื่อผู้ลงทุนซึ่งเป็นคนต่างด้าว (Thai Trust Fund) ซึ่งมีปริมาณการซื้อขายตั้งแต่ 1 ล้านหลักทรัพย์ขึ้นไป หรือมีมูลค่าการซื้อขายตั้งแต่ 3 ล้านบาทขึ้นไป การซื้อขายบนกระดาน big-lot board ใช้วิธี put through ซึ่งผู้ซื้อและผู้ขายจะตกลงราคากันเอง โดยการซื้อขายบนกระดานนี้จะไม่มีข้อจำกัดเรื่องการขึ้นลงของราคา (ceiling and floor) [ตลาดทุน] |
Insider trading | การซื้อขายหลักทรัพย์โดยบุคคลภายใน, Example: การที่บุคคลภายในทราบข้อมูลภายในของบริษัทที่ยังไม่ได้มีการเผยแพร่สู่สาธารณชน และใช้ข้อมูลนั้นเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหลักทรัพย์ พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ.2535 ได้มีข้อกำหนดห้ามมิให้บุคคลภายในใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ในการซื้อขายหลักทรัพย์และกำหนดโทษไว้ด้วย [ตลาดทุน] |
Over-the-counter | การซื้อขายหลักทรัพย์นอกตลาดหลักทรัพย์, Example: การซื้อขายหลักทรัพย์ที่เกิดขึ้นนอกตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ การซื้อขายหุ้นนอกตลาด โดยทั่วไปจะมีขนาดหรือปริมาณการค้าน้อย มีสภาพคล่องต่ำ และมีการคุ้มครองผลประโยชน์ของนักลงทุนน้อยกว่าการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ที่มีทางการกำกับดูแล [ตลาดทุน] |
Customer type | การซื้อขายหลักทรัพย์แยกตามประเภทผู้ลงทุน, Example: การแสดงข้อมูลการซื้อขายหลักทรัพย์แบ่งแยกตามประเภทผู้ลงทุน 3 ประเภท ได้แก่ สถาบันในประเทศ (Local Institution) ผู้ลงทุนต่างประเทศ (Foreign Investor) และผู้ลงทุนในประเทศ (Local Investors) [ตลาดทุน] |
Net settlement | การชำระค่าซื้อขายแบบยอดสุทธิ, Example: การชำระราคาหลักทรัพย์ในลักษณะที่บริษัทหลักทรัพย์นำค่าซื้อและค่าขายหลักทรัพย์ตัวเดียวกันในวันเดียวกันของผู้ลงทุนรายเดียวกันมาหักลบกันเพื่อหายอดสุทธิ และเมื่อถึงวันที่ 3 ซึ่งเป็นวันชำระบัญชีซื้อขายหุ้น ผู้ลงทุนก็เพียงแต่ชำระเงินส่วนต่างที่มูลค่าซื้อมากกว่ามูลค่าขายเท่านั้น หากมูลค่าขายมากกว่ามูลค่าซื้อผู้ลงทุนก็ได้รับเงินในส่วนต่างสุทธิดังกล่าวจากบริษัทหลักทรัพย์ การชำระค่าซื้อขายแบบยอดสุทธิช่วยให้ผู้ลงทุนไม่ต้องชำระเงินเต็มจำนวนยอดที่ซื้อทุกครั้ง ทำให้ผู้ลงทุนมีสภาพคล่องมากขึ้น [ตลาดทุน] |
Market price order | การเสนอซื้อขาย ณ ราคาตลาด, Example: เป็นคําสั่งซื้อขายหลักทรัพย์แบบไม่ระบุราคา (Non-Limit Price Order) เป็นคําสั่งซื้อหรือขายหุ้น ณ ราคาที่ดีที่สุดในเวลาที่สั่ง บริษัทหลักทรัพย์จะขายหุ้น ณ ราคาสูงที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในเวลานั้น หรือจะซื้อหุ้น ณ ราคาต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ในเวลานั้นให้กับลูกค้า [ตลาดทุน] |
Commission | ค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์, Example: ค่าธรรมเนียมในการซื้อขายหลักทรัพย์ที่ผู้ลงทุนจะต้องชำระให้แก่บริษัทที่เป็นนายหน้า ในอัตราที่ตกลงกันระหว่างลูกค้าและบริษัท แต่ต้องไม่ต่ำกว่าอัตราที่คณะกรรมการ ก.ล.ต. กำหนดไว้โดยแบ่งออกเป็น 3 ช่วงคือ ช่วงที่ 1 (ช่วง 3 ปีแรก) ระหว่างวันที่ 14 มกราคม 2550 – 13 มกราคม 2553 ให้คิดค่าธรรมเนียมขั้นต่ำที่ 0.25% และการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ตให้คิดขั้นต่ำที่ 0.15% ของมูลค่าการซื้อขาย ช่วงที่ 2 ตั้งแต่วันที่ 14 มกราคม 2553- 31 ธันวาคม 2554 ให้คิดค่าธรรมเนียมแบบขั้นบันได (Sliding Scale) คือ มีอัตราค่าธรรมเนียมแปรผันลดลงตามปริมาณธุรกรรมที่เพิ่มขึ้น สำหรับค่าธรรมเนียมซื้อขายผ่านอินเตอร์เน็ตจะไม่เกิน 60% ของอัตราปกติ และช่วงที่ 3 คือตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2555 เป็นต้นไป ค่าธรรมเนียมนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และค่าธรรมเนียมการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านอินเทอร์เน็ตจะเป็นแบบต่อรองกันอย่างเสรี [ตลาดทุน] |
็Halt trade | หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขาย, Example: เครื่องหมายนี้ย่อมาจาก halt trade ตลาดหลักทรัพย์ติดเครื่องหมายนี้ไว้บนหลักทรัพย์เพื่อแสดงให้ผู้ลงทุนทราบว่า หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขายสำหรับช่วงเวลาการซื้อขายรอบนั้น ตลาดหลักทรัพย์จะขึ้นเครื่องหมาย H แก่หลักทรัพย์ที่ปรากฏว่า มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นกับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์นั้นในระหว่างเวลาซื้อขายรอบดังกล่าว และอยู่ระหว่างรอการเปิดเผยข้อมูล ซึ่งคาดว่าจะสามารถเปิดเผยได้ทันที [ตลาดทุน] |
Suspension | เครื่องหมายที่ตลาดหลักทรัพย์ติดบนหลักทรัพย์เพื่อแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่าหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างถูกห้ามซื้อขายชั่วคราว, Example: ย่อมาจาก suspension เป็นเครื่องหมายที่ตลาดหลักทรัพย์ติดบนหลักทรัพย์เพื่อแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่าหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างถูกห้ามซื้อขายชั่วคราว ตลาดหลักทรัพย์จะสั่งห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทใดเป็นการชั่วคราวเมื่อ 1. บริษัทนั้นฝ่าฝืนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ 2. ปรากฏข่าวสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินหรือผลการดำเนินงานของบริษัท ซึ่งมีผลกระทบ หรืออาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทอย่างรุนแรง โดยที่ข่าวสารนั้นยังไม่ได้เปิดเผยต่อ สาธารณชนผ่านตลาดหลักทรัพย์ หรืออยู่ระหว่างที่ตลาดหลักทรัพย์กำลังรอการเปิดเผยข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่สอบถามไป หรือกำ ลังรอการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเพราะรายงานที่ได้รับยังไม่ครบถ้วนชัดเจนเพียงพอ 3. บริษัทขอให้ตลาดหลักทรัพย์สั่งพักการซื้อขายหุ้นของบริษัทเนื่องจากมีข่าวหรือข้อมูลสำคัญที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ซึ่งอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์ที่อยู่บน special board (กระดานพิเศษ) ซึ่งเป็นส่วนของระบบ ARMS ที่ใช้วิธีซื้อขายแบบ Put Through เพื่อรองรับการซื้อขายตราสารหนี้ เช่น พันธบัตรหุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นต้น ทั้งนี้แต่ละรายการซื้อขายจะต้องต่ำกว่า 1 ล้านหุ้น หรือมีมูลค่าต่ำกว่า 3 ล้านบาท(การซื้อขายตราสาร หนี้จำนวนมากดังกล่าวหรือมากกว่า จะต้องกระทำบน Big-Lot Board) การซื้อขายบนกระดานนี้ไม่นำเรื่อง Floor Price และ Ceiling Price มาใช้บังคับ [ตลาดทุน] |
Circuit breaker | มาตรการหยุดการซื้อขายหลักทรัพย์ชั่วคราว, Example: เป็นมาตรการที่ตลาดหลักทรัพย์นำมาใช้หยุดการซื้อขายหลักทรัพย์ชั่วคราวในยามที่การซื้อขายโดยรวมในตลาดหลักทรัพย์เกิดตกต่ำลงอย่างมากมายผิดปกติ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ลงทุนโดยทั่วไปได้มีเวลาตรวจสอบข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ ระยะหนึ่งก่อนที่จะเปิดให้ทำการซื้อขายหลักทรัพย์ได้ต่อไป ในปัจจุบันนี้ระบบ circuit breaker ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยกำหนดว่า หากระดับ SET Index ลดต่ำลงเท่ากับหรือเกินกว่า 10% จากจุดปิดของวันก่อน ตลาดหลักทรัพย์จะหยุดพักการซื้อขาย 30 นาที เมื่อเปิดซื้อขายใหม่แล้วหาก SET Index ลดต่ำลงอีก จนมีระดับที่ลดลงเท่ากับหรือเกินกว่า 20% จากจุดปิดของวันก่อน ตลาดหลักทรัพย์จะหยุดพักการซื้อขายอีก 1 ชั่วโมง แล้วเปิดให้ซื้อขายต่อจนสิ้นวัน ในการหยุดพักการซื้อขายกรณีใดกรณีหนึ่งข้างต้น ถ้าระยะเวลาในรอบการซื้อขายนั้นเหลือไม่ถึง 30 นาทีหรือ 1 ชั่วโมงแล้วแต่กรณี จะพักการซื้อขายเพียงระยะเวลาที่เหลือในรอบดังกล่าวเท่านั้น แล้วเปิดซื้อขายรอบใหม่ตามปกติต่อไป [ตลาดทุน] |
Future markets | ตลาดซื้อขายอนาคต, Example: ตลาดซื้อขายอนาคตเป็นตลาดที่มีการซื้อขายสินค้าโภคภัณฑ์หรือเงินตราต่างประเทศโดยมีการส่งมอบสินค้าในอนาคตอาจนานเป็น 3-12 เดือนหลังจากการซื้อขายแล้วแต่จะกำหนด ตลาดซื้อขายอนาคตประกอบด้วยบริษัทนายหน้า (broker) จำนวนหนึ่ง บริษัทนายหน้าเพียงแต่ทำหน้าที่ติดต่อในเรื่องของสัญญาซื้อขายเท่านั้น ไม่มีการนำสินค้ามาแสดง เพราะสินค้าต่างๆ ที่ซื้อขายผ่านบริษัทนายหน้าจะมีการกำหนดมาตรฐานอย่างละเอียดไว้แล้ว บริษัทนายหน้าเป็นผู้ประกันว่าสินค้าจะส่งถึงมือผู้ซื้อตามเวลา และประกันกับผู้ขายว่าจะได้รับเงินค่าสินค้าเต็มจำนวน สำหรับผู้ที่ซื้อสัญญาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดดังกล่าว อาจแบ่งเป็นผู้ซื้อที่ต้องการนำสินค้านั้นไปใช้ประโยชน์และผู้ซื้อที่ไม่ต้องการสินค้านั้น แต่เป็นการซื้อแล้วขายเพื่อการเก็งกำไร ตลาดซื้อขายอนาคตที่มีชื่อเสียงประเภทสินค้าโภคภัณฑ์ ได้แก่ ตลาดที่ชิคาโก ประเทศสหรัฐอเมริกา ส่วนตลาดซื้อขายอนาคตเงินตราต่างประเทศที่สำคัญได้แก่ ตลาดที่ลอนดอน [ตลาดทุน] |
Broker | นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์หรือบริษัทนายหน้า, Example: การประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่นเป็นทางค้าปกติ โดยได้รับค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม หรือค่าตอบแทนอื่นเป็นการตอบแทน ดังนั้น หากบุคคลใดแสดงตนต่อประชาชนเป็นการทั่วไปว่า ตนประกอบธุรกิจโดยพร้อมที่จะให้บริการเป็นตัวแทนหรือนายหน้าเพื่อดำเนินการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์เพื่อบุคคลอื่นหรือลูกค้า จึงถือเป็นการประกอบธุรกิจประเภทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Brokerage firm | นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์หรือบริษัทนายหน้า, Example: การประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่นเป็นทางค้าปกติ โดยได้รับค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม หรือค่าตอบแทนอื่นเป็นการตอบแทน ดังนั้น หากบุคคลใดแสดงตนต่อประชาชนเป็นการทั่วไปว่า ตนประกอบธุรกิจโดยพร้อมที่จะให้บริการเป็นตัวแทนหรือนายหน้าเพื่อดำเนินการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์เพื่อบุคคลอื่นหรือลูกค้า จึงถือเป็นการประกอบธุรกิจประเภทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Brokerage house | นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์หรือบริษัทนายหน้า, Example: การประกอบธุรกิจเป็นนายหน้าหรือตัวแทนเพื่อการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ให้แก่บุคคลอื่นเป็นทางค้าปกติ โดยได้รับค่านายหน้า ค่าธรรมเนียม หรือค่าตอบแทนอื่นเป็นการตอบแทน ดังนั้น หากบุคคลใดแสดงตนต่อประชาชนเป็นการทั่วไปว่า ตนประกอบธุรกิจโดยพร้อมที่จะให้บริการเป็นตัวแทนหรือนายหน้าเพื่อดำเนินการซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์เพื่อบุคคลอื่นหรือลูกค้า จึงถือเป็นการประกอบธุรกิจประเภทนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Margin account | บัญชีซื้อขายหุ้นโดยวางหลักประกัน, Example: บัญชีซื้อขายหุ้นที่ลูกค้าขอเปิดไว้กับบริษัทหลักทรัพย์เพื่อการซื้อหุ้นโดยใช้สินเชื่อจากบริษัทนั้นและ/หรือ เพื่อการ Short Sell ในการเปิด Margin Account ลูกค้าจะต้องนำเงินหรือหลักทรัพย์จำนวนหนึ่งมาวางไว้กับบริษัทนายหน้าเพื่อเป็นหลัก ประกัน ทั้งนี้มูลค่าของหลักประกันที่นำมาวางเมื่อเทียบกับวงเงินที่จะซื้อหุ้นหรือที่จะขายชอร์ตจะต้องไม่ต่ำกว่า Initial Margin Rate ที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนด [ตลาดทุน] |
Cash account | บัญชีซื้อขายหลักทรัพย์ด้วยเงินสด, Example: บัญชีเพื่อการซื้อขายหลักทรัพย์สำหรับลูกค้าที่ต้องการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์เต็มจำนวนด้วยเงินสด โดยบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าให้แก่ผู้ลงทุนนั้น จะเป็นผู้พิจารณาอนุมัติวงเงินในการซื้อขายหลักทรัพย์ที่เหมาะสมกับฐานะการเงินและความสามารถในการชำระหนี้ ซึ่งผู้ซื้อจะต้องชำระเงินค่าซื้อหลักทรัพย์ภายใน 3 วันทำการ นับจากวันที่ซื้อขายหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Turnover | ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์, Example: ปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ทั้งนี้ อาจรายงานปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์เป็นจำนวนหุ้นหรือเป็นจำนวนเงินก็ได้ [ตลาดทุน] |
The Derivatives Act B.E.2546 | พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546, Example: พระราชบัญญัติเพื่อกำกับดูแลธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าในประเทศไทย ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2546 โดยกำหนดให้คณะกรรมการ ก.ล.ต. มีอำนาจหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนา ตลอดจนกำกับดูแลในเรื่องสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ศูนย์ซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สำนักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า สมาคมกำกับผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า และการป้องกันการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้า [ตลาดทุน] |
Trading session | รอบการซื้อขาย, Example: ช่วงเวลานับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์เปิดให้มีการซื้อขายจนกระทั่งหยุดการซื้อขาย 1 รอบ ในปัจจุบันนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเปิดให้มีการซื้อขาย 2 รอบใน 1 วัน คือ รอบการซื้อขายช่วงเช้าตั้งแต่เวลา 10.00 น. - 12.30 น. และรอบการซื้อขายช่วงบ่ายตั้งแต่เวลา14.30 น. - 16.30 น. [ตลาดทุน] |
Session | รอบการซื้อขาย, Example: ช่วงเวลานับตั้งแต่ตลาดหลักทรัพย์เปิดให้มีการซื้อขายจนกระทั่งหยุดการซื้อขาย 1 รอบ ในปัจจุบันนี้ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเปิดให้มีการซื้อขาย 2 รอบใน 1 วัน คือ รอบการซื้อขายช่วงเช้าตั้งแต่เวลา 10.00 น. - 12.30 น. และรอบการซื้อขายช่วงบ่ายตั้งแต่เวลา14.30 น. - 16.30 น. [ตลาดทุน] |
Advance Resilience Matching System | ระบบ ARMS, ระบบการซื้อขายหลักทรัพย์, Example: ระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ ซึ่งในวันที่ 11 สิงหาคม 2551 ตลาดหลักทรัพย์ได้เปลี่ยนจากระบบ ASSET เป็นระบบซื้อขายใหม่เรียกว่า ระบบ ARMS (Advance Resilience Matching System) ซึ่งพัฒนาขึ้นเพื่อรองรับแนวโน้มความต้องการและรูปแบบการดำเนินธุรกรรมในตลาดโลก รวมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพของการบริหารความเสี่ยง หรือระบบสำรองกรณีระบบขัดข้องที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของธุรกิจที่กำลังเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว [ตลาดทุน] |
Put-through | วิธีซื้อขายหลักทรัพย์แบบแจ้งรายการเข้าสู่ระบบ, Example: วิธีซื้อขายแบบหนึ่งในระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าผู้ซื้อกับบริษัทหลักทรัพย์ที่เป็นนายหน้าผู้ขาย ทำการตกลงซื้อขายหลักทรัพย์ใด หลักทรัพย์หนึ่งเป็นที่เรียบร้อยแล้ว บริษัทนายหน้าผู้ขายก็จะบันทึกรายการซื้อขายเข้ามาในระบบการซื้อขาย [ตลาดทุน] |
Stock index futures | สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุ้นล่วงหน้า, Example: สัญญาซื้อขายกลุ่มหุ้นที่เป็นองค์ประกอบในการคำนวณดัชนีราคาหุ้นโดยกำหนดให้ส่งมอบกันในอนาคต ใน Stock Index Futures จะต้องระบุดัชนีราคาหุ้นที่ใช้อ้างอิง มูลค่าของ 1 สัญญาซื้อขาย (หมายถึงตัวคูณที่แปลงค่า 1 หน่วยดัชนี เป็นจำนวนเงิน เช่น ตัวคูณของ S&P 500 Futures เท่ากับ $500 เป็นต้น) เดือนกำหนดส่งมอบ (มักกำหนดเป็นเดือนมี.ค., มิ.ย., ก.ย., และ ธ.ค.) และวิธีการส่งมอบ ซึ่งจะกำหนดให้ส่งมอบกันด้วยเงินสด ตามผลต่างของระดับดัชนีที่ซื้อกับที่ขาย (ถ้าเป็นกรณี รอถึงกำหนดส่งมอบจะคิดจากผลต่างของระดับดัชนีที่ซื้อ (หรือที่ขาย) กับระดับดัชนีที่ใช้อ้างอิง ณ วันส่งมอบ) Stock Index Futures เป็นเครื่องมือที่ผู้ลงทุนในหลักทรัพย์ (ทั้งบุคคลธรรมดาและสถาบัน) และผู้ทำธุรกิจหลักทรัพย์ใช้ปกป้องและบริหารความเสี่ยงจากความผันผวนของภาวะตลาดหลักทรัพย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยให้ผู้ลงทุนมีช่อง ทางลงทุนเพิ่มขึ้น และช่วยให้กลไกราคาในตลาดหลักทรัพย์สะท้อนถึงปัจจัยพื้นฐานได้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากการที่สามารถกระทำ Arbitrage จากผลต่างที่ผิดปกติระหว่างระดับดัชนีในตลาดหลักทรัพย์กับระดับดัชนีในการซื้อขาย Stock Index Futures ซึ่งการทำ Arbitrage จะผลักดันให้ราคาที่ผิดปกติกลับสู่ระดับตามปัจจัยพื้นฐานได้เร็วขึ้น [ตลาดทุน] |
Futures | สัญญาซื้อขายล่วงหน้า, Example: สัญญาระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายตกลงราคากัน ณ ปัจจุบัน และจะมีการส่งมอบสินทรัพย์และชำระเงินในอนาคตตามราคาที่ตกลงไว้ไม่ว่าราคาในขณะนั้นจะเป็นเท่าไรก็ตาม การทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าถือว่าทั้งสองฝ่ายมีภาระผูกพันต่อกันต้องปฏิบัติตาม เช่น สัญญาซื้อขายล่วงหน้าดัชนีเซท 50 (SET 50 Index Future) และมีศูนย์ซื้อขายล่วงหน้าเป็นตลาดรองไว้ให้ซื้อขายเปลี่ยนความเป็นเจ้าของสัญญาด้วย สัญญาซื้อขายล่วงหน้าดัชนีเซท 50 (SET 50 Index Future) ดัชนีหุ้นสามัญที่ตลาดหลักทรัพย์จัดทำขึ้น เพื่อใช้แสดงระดับและความเคลื่อนไหวของราคาหุ้นสามัญ 50 ตัวที่มีมูลค่าตลาดสูงและการซื้อขายมีสภาพคล่องสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยนำดัชนีหุ้นดังกล่าวมาเป็นสินทรัพย์อ้างอิง ในการทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า [ตลาดทุน] |
Futures contract | สัญญาซื้อขายล่วงหน้า, Example: สัญญาระหว่างคู่สัญญาสองฝ่ายตกลงราคากัน ณ ปัจจุบัน และจะมีการส่งมอบสินทรัพย์และชำระเงินในอนาคตตามราคาที่ตกลงไว้ไม่ว่าราคาในขณะนั้นจะเป็นเท่าไรก็ตาม การทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าถือว่าทั้งสองฝ่ายมีภาระผูกพันต่อกันต้องปฏิบัติตาม เช่น สัญญาซื้อขายล่วงหน้าดัชนีเซท 50 (SET 50 Index Future) และมีศูนย์ซื้อขายล่วงหน้าเป็นตลาดรองไว้ให้ซื้อขายเปลี่ยนความเป็นเจ้าของสัญญาด้วย สัญญาซื้อขายล่วงหน้าดัชนีเซท 50 (SET 50 Index Future) ดัชนีหุ้นสามัญที่ตลาดหลักทรัพย์จัดทำขึ้น เพื่อใช้แสดงระดับและความเคลื่อนไหวของราคาหุ้นสามัญ 50 ตัวที่มีมูลค่าตลาดสูงและการซื้อขายมีสภาพคล่องสูงอย่างสม่ำเสมอ โดยนำดัชนีหุ้นดังกล่าวมาเป็นสินทรัพย์อ้างอิง ในการทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้า [ตลาดทุน] |
Board lot | หน่วยการซื้อขาย, Example: จำนวนหน่วยขั้นต่ำของหลักทรัพย์ที่ตลาดหลักทรัพย์อนุญาตให้มีการซื้อขายบนกระดานหลัก (Main Board) ปัจจุบันตลาดหลักทรัพย์กำหนดให้ 1 หน่วยซื้อขาย หรือ 1 Board Lot เท่ากับ 100 หุ้น (หรือหน่วยลงทุนหรือสิทธิที่จะซื้อหุ้นหรือหน่วยลงทุน) อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่หลักทรัพย์ใดมีราคาซื้อขายตั้งแต่ 500 บาทขึ้นไป เป็นระยะเวลาติดต่อกันนาน 6 เดือน หนึ่งหน่วยการซื้อขายจะเท่ากับ 50 หุ้น หรือ 50 หน่วยลงทุนหรือสิทธิที่จะซื้อหุ้นหรือหน่วยลงทุน [ตลาดทุน] |
Turnover ratio | อัตราการหมุนเวียนการซื้อขาย, Example: อัตราการหมุนเวียนการซื้อขาย เป็นอัตราส่วนที่ใช้สภาพคล่องของการซื้อขายหลักทรัพย์ โดยเปรียบเทียบปริมาณหุ้นที่มีการซื้อขายหุ้นกับปริมาณหุ้นจดทะเบียน (มีหน่วยเป็นเท่า) <br>มีสูตรคำนวณดังนี้ อัตราการหมุนเวียนการซื้อขาย = $ \frac{ ปริมาณการซื้อขาย x 100 }{ ปริมาณหุ้นจดทะเบียน }$</br> [ตลาดทุน] |
Basis (Futures trading) | ราคามาตรฐาน (การซื้อขายล่วงหน้า) [TU Subject Heading] |
Commodity exchanges | การซื้อขายสินค้าโคโมดิตี้ [TU Subject Heading] |
Commodity futures | สัญญาซื้อขายสินค้าโคโมดิตี้ล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Electronic trading of securities | การซื้อขายหลักทรัพย์ในระบบออนไลน์ [TU Subject Heading] |
Export sales contracts | สัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Foreign exchange options | สิทธิซื้อขายเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Futures | สัญญาซื้อขายล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Futures market | ตลาดซื้อขายล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
Insider trading in securities | การซื้อขายหลักทรัพย์โดยใช้ข้อมูลภายใน [TU Subject Heading] |
Marketplaces | สถานที่ซื้อขาย [TU Subject Heading] |
Open market operations | การซื้อขายหลักทรัพย์ในตลาดเปิด [TU Subject Heading] |
Options (Finance) | สิทธิซื้อขาย (การเงิน) [TU Subject Heading] |
OTC | ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์กรุงเทพฯ [TU Subject Heading] |
Sales | ซื้อขาย [TU Subject Heading] |
Stock index futures | สัญญาซื้อขายดัชนีหุ้นล่วงหน้า [TU Subject Heading] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อ้างอิงราคาซื้อขาย | [āng-ing rākhā seūkhāi] (v, exp) EN: quote a price |
การอ้างอิงราคาซื้อขาย | [kān āng-ing rākhā seū khāi] (n, exp) EN: quotation |
การซื้อขายแบบเหมารวม | [kān seūkhāi baēp mao rūam] (n, exp) EN: package deal |
การซื้อขายโดยใช้ข้อมูลวงใน | [kān seūkhāi dōi chai khømūn wong-nai] (n, exp) EN: insider trading ; insider dealing |
การซื้อขายด้วยเงินสด | [kān seūkhāi dūay ngoensot] (n, exp) EN: cash transaction |
การซื้อขายหุ้น | [kān seūkhāi hun] (n, exp) EN: stockbroking ; securities trade FR: bourse [ f ] |
การซื้อขายล่วงหน้า | [kān seūkhāi lūang-nā] (n, exp) EN: futures trading |
การซื้อขายตามตัวอย่าง | [kān seūkhāi tām tūayāng] (v, exp) EN: purchase by sample |
นายหน้าซื้อขาย | [nāinā seū-khāi] (n, exp) EN: broker; agent ; go-between FR: négociant [ m ] |
นายหน้าซื้อขายหุ้น | [nāinā seū-khāi hun] (n, exp) EN: stockbroker |
ระบบการซื้อขายล่วงหน้า | [rabop kān seūkhāi lūang-nā] (n, exp) EN: futures exchange ; derivatives exchange |
ระบบการซื้อขายตราสารอนุพันธ์ | [rabop kān seūkhāi trāsān anuphan] (n, exp) EN: futures exchange ; derivatives exchange |
ราคาซื้อขาย | [rākhā seūkhāi] (n, exp) EN: market price ; market rate |
ราคาซื้อขาย | [rākhā seūkhāi] (n, exp) EN: exchange rate |
ราคาซื้อขายล่วงหน้า | [rākhā seūkhāi lūang-nā] (n, exp) EN: forward price |
ราคาซื้อขายสุดท้าย | [rākhā seūkhāi sutthāi] (n, exp) EN: closing price |
ราคาซื้อขายทันที | [rākhā seūkhāi thanthī] (n, exp) EN: spot price ; spot rate |
สัญญาซื้อขาย | [sanyā seū-khāi] (n, exp) EN: contract of sale FR: contrat de vente [ m ] |
ซื้อขาย | [seūkhāi] (v) EN: trade ; buy and sell ; merchandise ; deal in FR: commercer |
ตลาดซื้อขายสินค้ามือสอง | [talāt seūkhāi sinkhā meūsøng] (n, exp) FR: marché des occasions [ m ] |
ตกลงซื้อขาย | [toklong seū khāi] (v, exp) EN: deal FR: conclure une affaire |
Longdo Approved EN-TH
art dealer | (n) ผู้ประกอบกิจการซื้อขายงานศิลปะ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
bargain | (n) ข้อตกลงทางการค้า, See also: สัญญาซื้อขาย |
black market | (n) ตลาดที่มีการซื้อขายสิ่งผิดกฎหมาย |
bourse | (n) การซื้อขายหุ้น |
buyout | (n) การซื้อขายหุ้นของบริษัท |
cash flow | (n) การไหลเวียนของเงินในธุรกิจการซื้อขาย |
caveat emptor | (n) หลักในการซื้อขายที่ผู้ซื้อจะต้องเป็นผู้ที่รับผิดชอบในการหาคุณภาพที่บกพร่องของสินค้า |
commodity | (n) สินค้า, See also: ของซื้อขาย, Syn. goods, wares, stock |
deal | (n) การซื้อขาย, See also: การตกลงซื้อขาย, ข้อตกลง, การตกลง, การตกลงราคา, การทำความตกลง, ข้อสัญญา, สัญญา, การติดต่อธุรก, Syn. agreement, bargain, trade, business transaction, business agreement |
deal | (vt) ติดต่อธุรกิจ, See also: ค้าขาย, ตกลงซื้อขาย, ทำความตกลง, ทำการติดต่อ, Syn. business deal, do business, trade |
mail-order house | (n) บริษัทซื้อขายทางไปรษณีย์ |
market | (n) ตลาด, See also: ตลาดสด, สถานที่ชุมนุมเพื่อซื้อขายของร้านค้า, สถานที่ขายของ, Syn. free trade area, store, stall shopping center |
market | (n) กลุ่มผู้ซื้อ, See also: กลุ่มเป้าหมาย, ตลาดเป้าหมาย, ผู้เกี่ยวข้องกับการซื้อขาย |
market order | (n) คำสั่งซื้อขายในตลาด |
marketability | (n) การทำตลาด, See also: การซื้อขายในตลาด |
marketable | (adj) ซึ่งซื้อขายได้ |
marketeer | (n) ผู้ซื้อขายในตลาด |
marketer | (n) ผู้ซื้อขายในตลาด |
marketing | (n) การซื้อขายสินค้าหรือบริการ, See also: การซื้อขายในตลาด, Syn. distribution |
merchandise | (n) สินค้า, See also: ผลิตภัณฑ์, วัตถุที่ซื้อขายกัน, Syn. wares, commodities, stock |
money market | (n) ธนาคารและองค์กรการเงินที่ให้กู้ยืมเงินและซื้อขายเงินตราต่างประเทศ |
over-the-counter | (adj) ซึ่งซื้อขายกันโดยตรง (โดยไม่มีใบสั่งซื้อยาจากแพทย์) |
package | (n) การซื้อขายเหมาทั้งชุด |
shopping bag | (n) ถุงใส่สินค้าที่ซื้อขาย |
stockbroker | (n) นายหน้าซื้อขายหุ้น, See also: นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์, Syn. broker, middleman |
stockbrokerage | (n) การซื้อขายหุ้น, See also: การซื้อขายหลักทรัพย์ |
stockbroking | (adj) ซึ่งเป็นนายหน้าซื้อขายหุ้น |
swap | (n) สัญญาแลกเปลี่ยน, See also: สัญญาซื้อขาย, Syn. contract |
swop | (n) สัญญาแลกเปลี่ยน, See also: สัญญาซื้อขาย, Syn. contract |
trade | (vi) ค้าขาย, See also: ทำการตกลงซื้อขาย |
trade-in | (n) กิจการซื้อขายแลกเปลี่ยน |
trust company | (n) ทรัสต์ (ทำธุรกิจเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์) |
wallet | (n) โปรแกรมการซื้อขายสินค้าทางอินเตอร์เน็ต (ทางคอมพิวเตอร์) |
Hope Dictionary
bill | (บิล) { billed, billing, bills } n. ตั๋วเงิน, พันธบัตร, ธนบัตร, บิล, ใบเสร็จ, ใบแสดงรายงานซื้อขาย, พระราชบัญญัติ, ญัตติ, ร่างญัตติ, คำโฆษณา, รายการ, หนังสือยื่นฟ้อง, จะงอยปาก, ปากนก -Phr. (a Bill of Oblivion พระราชบัญญัติอภัยโทษ) -Id. (bill the bill สนองความต้องการทั้งหมด |
bill broker | n. นายหน้าซื้อขายตั๋วเงิน |
broker | (โบร'เคอะ) n. นายหน้าซื้อขาย, ตัวแทนซื้อขาย, See also: brokership n., Syn. middleman |
change | (เชนจฺ) vt., vi. เปลี่ยนแปลง, เปลี่ยน -n. การเปลี่ยนแปลง, การเปลี่ยนใหม่, เงินปลีก, เงินทอน, สถานที่ซื้อขาย, สิ่งที่ถูกเปลี่ยน, Syn. alter, replace |
deal | (ดีล) { dealt, dealing, deals } v. จัดการ, จัดสรร, แจกไพ่, ติดต่อธุรกิจ, ค้าขาย, ประพฤติ. n. การติดต่อธุรกิจ, การตกลงลับ, การซื้อขาย, จำนวนมาก, ปริมาณมาก, การแจกไพ่, สัญญา, นโยบาย |
future | (ฟิว'เชอะ) n. อนาคต, ภายภาคหน้า, เวลาภายหน้า, อนาคตกาล, สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต, การซื้อขายล่วงหน้า. adj. อนาคต, ภายหน้า, ต่อไป, ภายหลัง., See also: futuristic adj. futuristically adv. |
market | (มาร์ค'คิท) n. ตลาด, การค้าขาย, กลุ่มคนที่กระทำกิจการซื้อขาย, การตลาด, ธุรกิจ, ความต้องการสินค้า, กลุ่มผู้ซื้อ, ราคาหรือค่าปัจจุบัน -Phr. (on the market สำหรับขายหาซื้อได้) vi. ซื้อหรือขายในตลาด. vt. วางตลาด, นำสู่ตลาด, ขาย, See also: marketability n. |
merchandise | (เมอ'เชินไดซ) n. สินค้า, วัตถุที่ซื้อขายกัน. vi. ค้าขาย. vt. ค้าขาย, ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย., See also: merchandiser n. merchandizer n. |
merchandize | (เมอ'เชินไดซ) n. สินค้า, วัตถุที่ซื้อขายกัน. vi. ค้าขาย. vt. ค้าขาย, ส่งเสริมการขาย, วางแผนการขาย., See also: merchandiser n. merchandizer n. |
negotiable | (นิโก'ชิอะเบิล) adj. โยกย้ายกันได้, เจรจากันได้, ซื้อขายกันได้., See also: negotiability n. |
negotiate | (นิโก'ช ' เอท) vi., vt. เจรจา, จัดการ, แลกเป็นเงิน, ซื้อขาย., See also: negotiator n. |
neural network | เครือข่ายเส้นประสาทหมายถึง ระบบคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นเลียนแบบเส้นใยประสาทของมนุษย์ ที่เรียกว่า นิวโรน ในสมองมนุษย์ ซึ่งมีนับจำนวนล้าน ๆ ตัว การประมวลผลกิจกรรมต่าง ๆ จะออกมาในลักษณะแบบขนาน (ไม่ใช่แบบอนุกรม) หมายถึง ทำงานพร้อม ๆ กัน เพื่อให้ได้คำตอบอันเดียว ทั้งนี้หมายถึง การที่ต้องสามารถทำงานที่สลับซับซ้อนมาก ๆ โดยเรียนรู้จากประสบการณ์ได้เอง ฉะนั้นการที่เครือข่ายแบบนิวโรนนี้จะให้คำตอบได้ก็ต่อเมื่อมีการส่งปัญหาต่าง ๆ เข้าไปให้ลองทำมาก ๆ เครือข่ายแบบนี้จะเป็นประโยชน์ เฉพาะในงานประมวลผลงานบางประเภท เช่น เรื่องการประมวลผลเกี่ยวกับการซื้อขายหุ้นในตลาด หรือการหาความคล้ายคลึงระหว่างภาพหลาย ๆ ภาพ เช่น ลายนิ้วมือ เป็นต้น ดู artificial intelligence ประกอบ |
operator | (ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S... |
over-the-counter | (โอ'เวอะเธอะเคา'เทอะ) adj. ซึ่งซื้อขายกันโดยตรง, ไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์, ไม่ต้องผ่านตลาดหลักทรัพย์ |
package deal | n. การซื้อขายเหมาทั้งหมด |
realtor | (รี'อัลเทอะ) n. ผู้เกี่ยวกับธุรกิจหลักทรัพย์, See also: realtor n. นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์, นายหน้าซื้อขายที่ดินและโรงเรือน, นายหน้าซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ |
scalp | (สแคลพฺ) n. หนังหัวคน, หนังหัวสัตว์, หนังหัวคนที่รวมทั้งผม , ยอดเขาหัวโล้น. vt., vi. ถลกหนังหัว, ซื้อขาย (หุ้น) เพื่อหวังผลกำไร, ขาย (ตั๋ว) ในราคาสูงกว่าราคาที่กำหนดไว้, See also: scalper n. |
speculate | (สเพค'คิวเลท) vi. พิจารณา, เก็ง, เดา, ครุ่นคิด, เสี่ยงโชค, คาดการณ์, ซื้อขายหากำไร, ค้าขาย., See also: speculation n. speculative adj. speculator n., Syn. conjecture, ponder, meditate |
stockbroker | (สทอค'โบรเคอะ) n. นายหน้าซื้อขายหุ้น, นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์., See also: stockbrokerage n., Syn. broker |
stockbroking | (สทอค'โบคิง) n. การซื้อขายหุ้น, การซื้อขายหลักทรัพย์., Syn. stockbrokerage |
tie-in | (ไท'อิน) adj. เกี่ยวกับการซื้อขายของร่วมที่ควบกัน, ควบกัน, ไปด้วยกัน n. สิ่งที่ไปด้วยกัน, สิ่งควบ, ส่วนควบ, การเชื่อมต่อกัน, ความสัมพันธ์, พันธะ., Syn. connection |
trade-in | (เทรด'อิน) n., adj. (เกี่ยวกับ) สินค้าที่หักราคาเอาเพื่อซื้อสินค้าอื่น, กิจการซื้อขายแลกเปลี่ยน. |
trader | (เทรด'เดอะ) n. พ่อค้า, ผู้ทำการค้า, นักธุรกิจ, เรือพาณิชย์, สมาชิกบริษัททรัพย์ที่ซื้อขายหุ้นเพื่อตัวเอง (ไม่ใช่เพื่อลูกค้า) ., See also: tradership n. |
trust company | n. บริษัททรัสต์ (มีหน้าที่จัดการมรดกของผู้เยาว์ซื้อขายหลักทรัพย์ในนามของลูกค้าหรือบางที่ประกอบธุรกิจการธนาคารด้วย) |
turnover | (เทิร์น'โอเวอะ) n. การพลิกกลับ, การคว่ำ, การหมุนตัว, ขนมม้วน, เงินที่เก็บได้ทั้งหมด, การหมุนเวียน, การเดินสะพัด, จำนวนซื้อขาย, อัตราการขาย, การเปลี่ยนแปลง, การจัดกลุ่มใหญ่. adj. พลิกกลับได้, คว่ำได้, พับได้ |
Nontri Dictionary
deal | (n) การซื้อขาย, การตกลง, การติดต่อ, การจัดการ, ส่วนใหญ่ |
marketing | (n) การตลาด, การซื้อขาย |
negotiate | (vi, vt) เจรจาตกลง, ซื้อขาย, แลกเปลี่ยน, จัดการ, โยกย้าย |
negotiation | (n) การเจรจา, การประชุม, การซื้อขาย |
negotiator | (n) ผู้เจรจา, ผู้ซื้อขาย, ผู้แลกเปลี่ยนกัน |
purchase | (n) การซื้อ, ของซื้อขาย, ค่า, ราคา, สิ่งที่ซื้อมา |
purchase | (vt) ซื้อ, ซื้อขาย, จัดซื้อ |
scalp | (vt) ซื้อขายโดยหวังกำไร, ถลกหนังหัว |
stockbroker | (n) นายหน้าซื้อขายหุ้น, นายหน้าขายพันธบัตร |
stockyard | (n) คอกปศุสัตว์, ที่ซื้อขายพันธบัตร |
trade | (n) การค้าขาย, การซื้อขาย, ธุรกิจการค้า, ตลาด |
trade | (vi) ค้าขาย, ซื้อขาย |
transaction | (n) การติดต่อกัน, ธุรกิจ, การซื้อขาย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
fenceable | [เฟนซ์-เอ-เบิ้ล] (adj) ที่ซื้อขายของโจร |
insider trading | การซื้อขายของคนวงใน |
open account | [โอเพิ่น อะเค้านทฺ] (n) ซื้อขายแบบเงินเชื่อ |
social commerce | (n) รูปแบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบหนึ่งที่ใช้ประโยชน์จากการปฏิสัมพันธ์ในเครือข่ายสังคม (Social Media) มาช่วยให้เกิดการซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการ หรือ อีกแง่หนึ่งก็คือการนำเครือข่ายสังคมมาใช้ให้เกิดเป็นธุรกรรมการซื้อขายสินค้า |
underwriting | (n) กิจการประกันภัยหรือซื้อขายหุ้น, การลงนามท้ายเอกสาร |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
相対売買 | [あいたいばいばい, aitaibaibai] (n) การต่อรองซื้อขาย |
為替予約 | [かわせよやく, kawaseyoyaku] (n) สัญญาซื้อขายเงินตราต่างประเทศ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
営業 | [えいぎょう, eigyou] TH: การซื้อขาย EN: trade |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.055 seconds, cache age: 1.748 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม