251 ผลลัพธ์ สำหรับ *คัดค้าน*
ภาษา
หรือค้นหา: คัดค้าน, -คัดค้าน-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
คัดค้าน | (v) oppose, See also: object, disagree, protest, Syn. ค้าน, ต้านทาน, ทักท้วง, ขัดขวาง, ยับยั้ง, ท้วง, Example: นักศึกษาวิจัยบางกลุ่มที่ทำการวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้ได้คัดค้านผลการวิจัยข้างต้น, Thai Definition: ไม่เห็นด้วย |
ผู้คัดค้าน | (n) opponent, See also: antagonist, Ant. ผู้สนับสนุน, Example: ท่านเป็นหนึ่งในผู้คัดค้านการก่อสร้างโรงไฟฟ้า, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่ไม่เห็นด้วย |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คัดค้าน | ก. แสดงอาการไม่เห็นด้วย. |
ฎีกา | การคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งศาลชั้นต้นหรือศาลอุทธรณ์ เพื่อเสนอให้ศาลฎีกาพิจารณาพิพากษาหรือวินิจฉัยชี้ขาด |
ฎีกา | ก. ยื่นคำร้องขอหรือคำคัดค้านต่อศาลฎีกา เช่น คดีนี้จะฎีกาหรือไม่. |
ปฏิวาท | น. คำโต้, คำคัดค้าน. |
ประท้วง | ก. กระทำการหรือแสดงกิริยาอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นการคัดค้านเพราะไม่เห็นด้วยหรือไม่พอใจอย่างยิ่ง เช่น อดข้าวประท้วง เขียนหนังสือประท้วง. |
รุนแรง | ว. หนักมาก, แรงมาก, เกินปรกติ, เช่น ดุว่าอย่างรุนแรง คัดค้านอย่างรุนแรง ความคิดเห็นรุนแรง. |
หือ ๒ | ก. เถียง, คัดค้าน, เช่น อย่ามาหือนะ เขาไม่กล้าหือ. |
หือไม่ขึ้น | ก. เถียงไม่ได้, คัดค้านไม่ได้, ไม่กล้าเถียง, ไม่กล้าคัดค้าน. |
อุทธรณ์ | (อุดทอน) ก. ยื่นฟ้องหรือยื่นคำร้องต่อศาลสูงคัดค้านคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลชั้นต้น |
อุทธรณ์ | ยื่นคำร้องคัดค้านคำสั่งหรือคำวินิจฉัยของพนักงานเจ้าหน้าที่ |
เอาไม้ซีกไปงัดไม้ซุง | ก. คัดค้านผู้ใหญ่ ผู้มีฐานะสูงกว่า หรือผู้มีอำนาจมากกว่าย่อมไม่สำเร็จ และอาจได้รับผลร้ายแก่ตัวอีกด้วย. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
peremptory challenge | การคัดค้านลูกขุน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protest | การคัดค้าน, คำคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protest not necessary | ไม่จำต้องมีคำคัดค้าน [ ดู no protest ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
protest vote | การออกเสียงลงคะแนนคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
protest, right to | สิทธิที่จะคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retour sans protêt (Fr.) | ส่งตั๋วเงินกลับคืนโดยไม่ต้องทำคำคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
right to protest | สิทธิที่จะคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statement of objection | คำแถลงคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
object | ๑. วัตถุประสงค์๒. วัตถุ๓. คัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
objection | การคัดค้าน, คำคัดค้าน, ข้อคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
objection to indictment | คำคัดค้านคำฟ้องคดีอาญาอุกฉกรรจ์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
objector, conscientious | ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
business, unopposed | เรื่องที่ไม่มีผู้คัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
contested election | การเลือกตั้งที่มีการคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
collateral attack | การคัดค้านคำพิพากษาศาลชั้นต้น (ก. อเมริกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
challenge, peremptory | การคัดค้านลูกขุน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
challenge, voting | การคัดค้านการออกเสียงลงคะแนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
challenge | ๑. การท้าทาย๒. การคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
challenge | การคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
challenge of judges | การคัดค้านผู้พิพากษา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conscientious objector | ผู้คัดค้านโดยอ้างมโนธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
demurrer | การคัดค้าน, คำคัดค้าน (ของจำเลยในคดีแพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demurrer to evidence | การคัดค้านพยานหลักฐาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
demurrer to interrogatories | การคัดค้านคำซักถาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
date of protest | วันคัดค้าน (ตั๋วเงิน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
draw up the protest | ทำคำคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
election, contested | การเลือกตั้งที่มีการคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
voting challenge | การคัดค้านการออกเสียงลงคะแนน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vote, protest | การออกเสียงลงคะแนนคัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
nemine contradicente (L.) | ไม่มีผู้คัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
no protest | ไม่จำต้องมีคำคัดค้าน [ ดู protest not necessary ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
note of protest | คำคัดค้านตั๋วแลกเงิน [ ดู noting a bill ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
noting a bill | การทำคำคัดค้านตั๋วแลกเงิน [ ดู note of protest ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
under protest | โดยสงวนสิทธิ์ที่จะคัดค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unopposed business | เรื่องที่ไม่มีผู้คัดค้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
consensus | ฉันทามติ หมายถึง แนวปฏิบัติในการตัดสินใจที่จะมีมติดำเนินการหรือไม่ดำเนินการในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยแม้ทุกฝ่ายจะมิได้เห็นพ้องร่วมกัน แต่ก็ไม่มีผู้ใดคัดค้าน [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Exercise of Consular Functions in a Third State | การปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐที่สาม (A Third State) ในเรื่องนี้ข้อ 7 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้ระบุว่า?เมื่อได้บอกกล่าวให้รัฐที่เกี่ยวข้องทราบ แล้ว รัฐูผู้ส่งอาจมอบหมายให้สถานีที่ทำการทางกงสุลที่ได้ตั้งอยู่ในรัฐหนึ่งโดย เฉพาะปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในอีกรัฐหนึ่งได้ นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดเจนโดยรัฐหนึ่งในบรรดารัฐที่เกี่ยวข้อง?นอกจาก นี้ สถานที่ทำการทางกงสุลยังอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลแทนรัฐที่สามได้ เรื่องนี้ข้อ 8 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้กำหนดว่า เมื่อบอกกล่าวอย่างเหมาะสมแก่รัฐผู้รับแล้ว สถานที่ทำการทางกงสุลของรัฐผู้ส่งอาจปฏิบัติการหน้าที่ทางกงสุลในรัฐผู้รับ แทนรัฐที่สามได้ นอกจากรัฐผู้รับนั้นจะคัดค้าน และพนักงานฝ่ายกงสุลอาจปฏิบัติการหน้าที่ของตนนอกเขตกงสุลได้ในพฤติการณ์ พิเศษ และด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ ทั้งนี้เป็นไปตามข้อ 6 แห่งอนุสัญญากรุงเวียนนา อย่างไรก็ดี ยังไม่มีความเห็นเป็นเอกฉันท์ที่จะให้พนักงานฝ่ายกงสุลปฏิบัติการหน้าที่ทาง กงสุลนอกเขตกงสุล ฝ่ายที่เห็นด้วยว่าควรปฏิบัติการนอกเขตกงสุลได้ อ้างว่า การใช้เอกสิทธิ์เช่นนั้นเป็นการชอบแล้ว ด้วยเหตุผลที่ว่า อาจจะมีภาวะฉุกเฉินเกิดขึ้นในสถานที่นอกเขตกงสุล ซึ่งเป็นความจำเป็นที่พนักงานฝ่ายกงสุลจะได้ให้บริการในทันที่ที่มีการแจ้ง โดยกะทันหัน [การทูต] |
Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
negative vote | ลงคะแนนเสียงคัดค้าน [การทูต] |
objection | การคัดค้าน [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การคัดค้าน | [kān khatkhān] (n) EN: ban ; objection ; challenge |
การคัดค้านผู้พิพากษา | [kān khatkhān phūphiphāksā] (n, exp) EN: challenge of judges |
การคัดค้านระดับรัฐ | [kān khatkhān radap rat] (n, exp) EN: state-level ban |
การคัดค้านทั้งหมด | [kān khatkhān thangmot] (n, exp) EN: total ban |
คำคัดค้าน | [khamkhatkhān] (n) EN: opposition ; objection ; retort |
คัดค้าน | [khatkhān] (v) EN: oppose ; object ; disagree ; protest ; reject ; dissuade ; dispute ; ban FR: s'opposer ; être en désaccord ; protester ; contester ; contredire |
คัดค้านคำกล่าวหา | [khatkhān kham klāohā] (v, exp) EN: reject an accusation |
คนคัดค้าน | [khon khatkhān] (n, exp) EN: protester FR: contestataire [ m ] |
ยื่นคำร้องคัดค้าน | [yeūn khamrøng khatkhān] (v, exp) EN: file an objection ; make a protest |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
averse | (อะเวิร์ส') adj. คัดค้าน, ไม่ชอบ, รังเกียจ, ไม่ยินยอม, ไม่สมัครใจ, หันไปด้านตรงกันข้ามกับต้น, Syn. opposed, hostile |
aw | (ออ) interj. คำอุทานแสดงความรู้สึกคัดค้านไม่เชื่อ รังเกียจ (an exclamation) |
balk | (บอล์ค) vi., vt. หยุด, ชะงัก, ขัดขวาง, คัดค้าน n. การหยุดยั้ง, ความพ่ายแพ้, ความผิดหวัง, ที่ดินที่ไม่ได้ไถ, ไม้ขนาดใหญ่สำหรับก่อสร้าง, See also: balker n. ดูbalk, Syn. frustrate |
con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
contra | (คอน'ทระ) prep. ต้าน, ต่อต้าน, คัดค้าน, ตรงกันข้าม -adv. ในทางตรงกันข้าม |
controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny |
decry | (ดิไคร') { decried, decrying, decries } vt. ประณาม, ด่าว่า, คัดค้านเสียงดัง, กดราคา, ตีราคาต่ำ, Syn. denounce |
demur | (ดิเมอร์') vi., n. (การ) คัดค้าน, ลังเล., See also: demurrable adj. ดูdemur, Syn. object |
demurral | n. การคัดค้าน, การแย้ง, การรีรอ |
demurrer | n. ผู้คัดค้าน, ผู้แย้ง, คำคัดค้าน |
denegation | n. การปฏิเสธ, การขัดแย้ง, การคัดค้าน |
deprecate | (เดพ'ระเคท) vt. ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ติเตียน, ดูถูก., See also: deprecation n. ดูdeprecate deprecator n. ดูdeprecate, Syn. protest, Ant. condone |
deprecative | (เดพ'ระเคทิฟว) adj. ซึ่งคัดค้าน, ซึ่งติเตียน, ซึ่งดูถูก, Syn. deprecatory |
deprecatory | (เดพ'ระคะโทรี) adj. เกี่ยวกับการคัดค้าน, เกี่ยวกับการติเตียน, เป็นการขอโทษ, See also: deprecatorily adv. deprecatoriness n |
difficulty | (ดิฟ'ฟะคัลที) n. ความยากลำบาก, ความยุ่งยาก, อุปสรรค, ความดื้อรั้น, ความขัดสน -make difficulties ทำให้ยุ่งยาก, คัดค้าน, Syn. quarrel |
dissent | (ดิเซนทฺ') vi. ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ไม่ลงรอยกัน, ทะเลาะ, ขัดแย้ง, คัดค้าน n. ความแตกต่างของความคิด, การแยกจากโบสถ์, ความแตกแยก., Syn. differ, disagree, except, disagreement, Ant. assent |
dissenter | (ดิเซน'เทอะ) n. ผู้ไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ผู้แยกตัวออกจากโบสถ์, ผู้คัดค้าน |
dissentient | (ดิเซน'เชินทฺ) adj., n. (ผู้) ซึ่งมีความเห็นไม่ตรงกัน, ซึ่งคัดค้าน, แตกแยก, See also: dissentience n. ดูdissentient dissentiency n. ดูdissentient |
dissentious | adj. ชอบทะเลาะ, ชอบคัดค้าน, Syn. contentious |
except | (อิคเซพทฺ') prep., conj., vt. นอกจาก, ยกเว้น, ไม่นับ, ยกเว้น. vi. คัดค้าน., See also: exceptable adj. ดูexcept |
exception | (อิคเซพ'เชิน) n. การยกเว้น, ข้อยกเว้น, กรณีพิเศษ, การคัดค้าน, ข้อคัดค้าน. -Phr. (with the exception of (that) ยกเว้น), See also: exceptional adj. เป็นที่ยกเว้น n., Syn. objection |
exceptive | (เอคเซพ'ทิฟว) adj. เป็นข้อยกเว้น, คัดค้าน |
fuss | (ฟัส) { fussed, fussing, fusses } n. ความจู้จี้, การคัดค้าน, การบ่น, ความวุ่นวาย. vt. วุ่นวาย, จู้จี้, บ่น, คัดค้าน. vt. รบกวน., See also: fusser n., Syn. fret, complain |
gainsay | (เกน'เซย์) { gainsaid, gainsaying, gainsays } vt. ปฏิเสธ, พูดคัดค้าน, คัดค้าน, ต่อต้าน., See also: gainsayer n., Syn. deny, dispute, oppose |
launch | (ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม |
mind | (ไมน์ดฺ) n. จิต, ใจ, จิตใจ, จริต, ความคิด, ปัญญา, เหตุผล, ข้อคิดเห็น, ความตั้งใจ, สติสัมปชัญญะ, ความจำ -Phr. (bear (keep) in mind จำ) -Phr. (make in one's mind ตัดสินใจ) . -Phr. (out of one's mind บ้า, วิกลจริต) v. ใส่ใจ, สนใจ, ระวัง, เชื่อฟัง, ดูแล, เป็นห่วง, คัดค้าน, สังเกต, จำได้ |
negate | (นิเกท', เนก'เกท) vt., vi. คัดค้าน, ปฏิเสธ, ลบล้าง., See also: negator, negater n. |
negation | (นิเก'เชิน) n. การคัดค้าน, การปฏิเสธ |
negative | (เนก'กะทิฟว) adj., n. (การ) คัดค้าน, ปฏิเสธ, ได้ผลขั้วลบ, ฟิล์มหรือกระจกถ่ายรูปที่กลับสีดำเป็นขาว, ค่าหรือสัญลักษณ์ที่เป็นลบ, เครื่องหมายลบ |
nix | (นิคซฺ) n. ความไม่มีอะไร. -adv. ไม่. interj. คำอุทานแสดงความไม่เห็น vt. คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, ห้าม |
object | (ออบ'เจคทฺ) { objected, objecting, objects } n. สิ่งของ, วัตถุ, สิ่งที่เข้าใจได้, เรื่อง, เรื่องราว, จดหมาย, เป้าหมาย, วัตถุประสงค์, กรรมของกริยาหรือบุพบท, ภาวะวิสัย. vi. (ออบเจคทฺ') คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, รังเกียจ, ไม่ยอม. vt. คัดค้าน., See also: objector n. |
objection | (อับเจค'เชิน) n. การคัดค้าน, การโต้แย้ง, การไม่เห็นด้วย, ตัวคัดค้าน, , Syn. rebuttal |
obtest | (ออบเทสท) vt. ขอร้องให้มาเป็นพยาน, ขอร้องขอ. vi. คัดค้าน., See also: obtestation. n., Syn. beseech. protest |
oppose | (อะโพซ') v. ต่อต้าน, คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, เป็นปรปักษ์, See also: opposer n. opposingly adv. opposed, opposing adj., Syn. check, resist |
opposition | (ออพพะซิซ'เชิน) n. การคัดค้าน, การต่อต้าน, การเป็นปรปักษ์, ผู้เป็นปรปักษ์, พรรคฝ่ายค้าน, การวางให้อยู่ตรงกันข้าม, ตำแหน่งที่อยู่ตรงกันข้าม (เป็นมุม180องศา) ., See also: oppositional adj., Syn. antagonism |
oppositionist | (ออพพะซิซ'ชันนิสทฺ) n. สมาชิกพรรคฝ่ายค้าน, ผู้เสนอนโยบายที่คัดค้าน |
oppugnant | (อะพัก'นันทฺ) adj. ต่อต้าน, คัดค้านฐ อยู่ตรงกันข้าม, เป็นปรปักษ์, See also: oppugnancy n., Syn. resisting |
outcry | (เอาทฺ'ไคร) n. เสียงร้องดัง, เสียงโวยวาย, การโวยวาย, การประท้วงหรือคัดค้านอย่างรุนแรง, |
protest | (โพรเทสทฺ') vt., vi. คัดค้าน, ประท้วง, ประกาศยืนยัน, ยืนยัน, เสนอแย้ง, ปฏิเสธชำระ (บิล) n. (โพร'เทสทฺ) การคัดค้าน, การประท้วง, การปฏิเสธการชำระบิล, คำร้อง., See also: protester n. protestingly adv., Syn. objection |
protestant | (พรอท'ทิสเทินทฺ) n. ศาสนิกชนของนิกายศาสนาคริสต์ที่แยกตัวจากโรมันคาทอลิกตั้งแต่ศตวรรษที่ 16, , See also: protestant n. ผู้ประท้วง ผู้คัดค้าน adj. เกี่ยวกับนิกายดังกล่าว, ซึ่งประท้วง |
protestation | (พรอท'ทิสเท'เชิน) n. การคัดค้าน, การประท้วง, การประกาศยืนยัน, การเสนอแย้ง |
react | (รีแอคทฺ') vi. แสดงปฏิกิริยาโต้ตอบ, โต้ตอบ, ต่อต้าน, คัดค้าน, แวดงปฏิกิริยาทางเคมี, Syn. response |
remonstrance | (รีมอน'สเทรินซฺ) n. การคัดค้าน, การทัดทาน, การประท้วง, การโต้แย้ง |
remonstrant | (รีมอน'สเทรินทฺ) adj. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง n. ผู้คัดค้าน, ผู้ทัด-ทาน, ผู้ประท้วง, ผู้โต้แย้ง |
remonstrate | (รีมอน'สเทรท) vt. คัดค้าน, ทัดทาน, ประท้วง, โต้แย้ง vi. คัดค้านหรือโต้แย้งด้วยเหตุผล, See also: remonstration n. remonstrative adj. remonstrator n., Syn. protest, object, contend |
repugn | (รีพูน') vt. ต่อต้าน, คัดค้าน, เป็นปฏิปักษ์ vi. ต่อต้าน, เป็นปฏิปักษ์ |
repugnance | (รีพัก'เนินซฺ) n. การต่อต้าน, การคัดค้าน, การเป็นปฏิปักษ์, ความรังเกียจอย่างแรง, ความเกลียดชัง, ความรู้สึกสะอิดสะเอียน, Syn. repugnancy, aversion |
repugnant | (รีพัก'เนินทฺ) adj. ต่อต้าน, คัดค้าน, เป็นปฏิปักษ์, รังเกียจอย่างแรง, สะอิดสะเอียน, Syn. repulsive |
thumb | (ธัมบฺ) n. นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแรกของสัตว์ vt. (ใช้นิ้วหัวแม่มือ) ทำสกปรกแตะพลิกหน้าหนังสืออย่างรวดเร็ว, ดีดสายกีตาร์, ขอโดยสารรถโดยชี้ทิศทางที่จะไปด้วยนิ้วหัวแม่มือ, all thumbs งุ่มง่าม, -Phr. (thumb down การแสดงความไม่เห็นหรือคัดค้าน) -Phr. (under one's thumb |
unobjectionable | (อันออบเจค'เชินนะเบิล) adj. ไม่อาจคัดค้านได้, คัดค้านไม่ได้, ไม่รำคาญ, ไม่ทำให้ไม่พอใจ., See also: unobjectionably adv. |
Nontri Dictionary
belie | (vt) โกหก, ไม่ซื่อตรง, หลอกลวง, ทัดทาน, คัดค้าน, ใส่ความ |
blackball | (n) บัตรคัดค้าน |
con | (n) ความตรงข้าม, การแย้ง, การโต้แย้ง, การต่อต้าน, ผู้คัดค้าน |
controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย |
demur | (n) การคัดค้าน, การรีรอ, การต่อต้าน, การไม่เห็นด้วย |
demur | (vi) คัดค้าน, ต่อต้าน, รั้งรอ, ลังเล, ไม่เห็นด้วย |
deprecate | (vt) ต่อต้าน, ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ชิงชัง |
deprecation | (n) การต่อต้าน, ความไม่เห็นด้วย, การคัดค้านความชิงชัง |
disapprobation | (n) ความไม่ชอบ, ความไม่ถูกใจ, การคัดค้าน, ความไม่ลงรอยกัน |
dissent | (vi) ไม่เห็นด้วย, คัดค้าน, ขัดแย้ง, แตกร้าว, ทะเลาะ, ไม่ลงรอยกัน |
dissenter | (n) ผู้คัดค้าน, ผู้ขัดแย้ง, ผู้ไม่เห็นด้วย |
gainsay | (vt) แย้ง, โต้แย้ง, คัดค้าน, ต้าน, ต่อต้าน |
iconoclast | (n) คนคัดค้านการบูชารูปปั้น, ผู้ทำลายภาพพจน์ |
kick | (n) การเตะ, การถีบ, การคัดค้าน, อาการขัดขืน, พิษสง, กำลัง, การไล่ออก |
kick | (vt) เตะ, ถีบ, เป่า, คัดค้าน, ขัดขืน, เด้ง, ตีกลับ |
militate | (vi) ต่อสู้, ไม่ยอมแพ้, คัดค้าน, แข็งข้อ |
negate | (vt) ปฏิเสธ, ลบล้าง, คัดค้าน, แก้ |
negation | (n) การปฏิเสธ, การลบล้าง, การคัดค้าน |
negative | (adj) เชิงลบ, เป็นการปฏิเสธ, เป็นการคัดค้าน |
negative | (n) คำปฏิเสธ, การคัดค้าน, ฟิล์มถ่ายรูป, ทางลบ, เครื่องหมายลบ |
object | (vt) ทักท้วง, คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย |
objection | (n) ข้อขัดข้อง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การโต้แย้ง |
oppose | (vt) ขัดขวาง, คัดค้าน, ต่อต้าน, เป็นปรปักษ์ |
opposition | (n) การคัดค้าน, การต่อต้าน, ฝ่ายค้าน |
originator | (n) ผู้ประดิษฐ์, ผู้ริเริ่ม, ผู้คัดค้าน |
protest | (n) การประท้วง, คำคัดค้าน, การคัดค้าน, การต่อต้าน |
protest | (vt) ประท้วง, คัดค้าน, ต่อต้าน, ขัดขวาง |
protestant | (n) ผู้นับถือลัทธิโปรเตสแตนต์, ผู้ประท้วง, ผู้คัดค้าน |
protestation | (n) คำประท้วง, คำคัดค้าน, คำร้อง |
remonstrance | (n) การประท้วง, การคัดค้าน, การทัดทาน |
remonstrate | (vt) ประท้วง, คัดค้าน, ทัดทาน, โต้แย้ง |
repugnance | (n) ความเป็นปฏิปักษ์, ความเกลียดชัง, การคัดค้าน, การต่อต้าน |
stickle | (vi) ยืนกราน, คัดค้าน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
challenge | (vt) คัดค้าน |
contest | (n) การคัดค้าน |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
打ち上げ | [うちあげ, uchiage] (n, vi, vt) (ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม |
抗議 | [こうぎ, kougi] (n, adj) การคัดค้าน, การไม่เห็นด้วย |
Longdo Approved DE-TH
protestieren | (vt) |protestierte, hat protestiert| คัดค้าน, See also: opposieren, Syn. reklamieren |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.061 seconds, cache age: 2.406 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม