343 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความเชื่อ*
ภาษา
หรือค้นหา: ความเชื่อ, -ความเชื่อ-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
เต่าถุย | (slang) คนพวกเต่าถุยคือ คนพวกที่อยู่ในกะลามากกว่ากบ มีชีวิตไปวันๆ แบบที่พ่อแม่สั่งสอนไม่เคยจะยอมฟัง มีความเชื่อมั่นในความคิดเต่าล้านปีของตัวเองสูง บางคนถึงกับบอกว่าตนเองนั้นเป็นบัวเหล่าพิเศษ คือเต่ากินแล้วยังต้องถุยออกมา |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความเชื่อ | (n) belief, See also: fait, trust, Syn. ความศรัทธา, ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ, Example: คนไทยมีความเชื่อในเรื่องผีสางเทวดามาช้านานแล้ว |
ความเชื่อถือ | (n) believability, See also: credence, Syn. ความเชื่อ, Example: คนไทยมีความเชื่อถือว่าการมีลูกผู้ชายจะพาพ่อแม่ขึ้นสวรรค์ได้ ถ้าลูกชายบวชให้ |
ความเชื่อถือ | (n) trust, See also: faith, credit, reliance, Syn. ความนับถือ, ความศรัทธา, Example: รัฐบาลยังได้รับความเชื่อถือจากประชาชน |
ความเชื่อมั่น | (n) confidence, See also: trust, reliance, trustworthiness, Syn. ความมั่นใจ, Example: ต่างชาติหมดความเชื่อมั่นในระบบเศรษฐกิจไทย |
ความเชื่องมงาย | (n) superstition, Syn. ความงมงาย, Example: ชาวบ้านยังมีความเชื่องมงายในเรื่องผีสางเทวดา |
ลัทธิความเชื่อ | (n) creed, See also: faith, ideology, credo, belief, doctrine, Example: ศาสนิกชนของทุกศาสนา สามารถประกอบพิธีกรรมตามลัทธิความเชื่อของตนได้อย่างอิสระเสรี, Count Unit: ลัทธิ |
ความเชื่อถือได้ | (n) reliability, See also: dependability, trustworthiness, trustiness, Syn. ความน่าเชื่อถือ |
ความเชื่อปรัมปรา | (n) myth, Example: คนรุ่นใหม่น้อยคนนักที่เคยได้ยินความเชื่อปรัมปราความเป็นมาของเมืองน่าน, Thai Definition: ความเชื่อของผู้คนเก่าก่อนที่เชื่อสืบต่อๆ กันมา |
ความเชื่อมั่นในตนเอง | (n) self-confidence, See also: confidence, assurance, self-possession, Syn. ความมั่นใจในตนเอง, Example: หล่อนเป็นคนมีความเชื่อมั่นในตนเองสูง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระเหม่น | (-เหฺม่น) ก. เขม่น คือ อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้ เช่น กระเหม่นตา |
กล่อมหงส์ | พิธีขับกล่อมหงส์ ทำต่อเนื่องจากพิธีตรียัมปวาย เป็นการส่งเสด็จพระอิศวร พระอุมา และพระมหาพิฆเนศวรกลับสู่สวรรค์ตามคติความเชื่อของพราหมณ์ |
กำลังใจ | น. สภาพของจิตใจที่มีความเชื่อมั่นและกระตือรือร้นพร้อมที่จะเผชิญกับเหตุการณ์ทุกอย่าง. |
เขม่น | (ขะเหฺม่น) ก. อาการที่กล้ามเนื้อกระตุกเต้นเบา ๆ ขึ้นเอง ตามความเชื่อโบราณถือว่าเป็นนิมิตบอกเหตุร้ายหรือดีได้, กระเหม่น ก็ว่า |
คติชาวบ้าน | น. เรื่องราวของชาวบ้านที่เป็นของเก่าเล่าต่อปากและประพฤติสืบ ๆ กันมาหลายชั่วอายุคนในรูปคติความเชื่อ ประเพณี นิทาน เพลง ภาษิต ปริศนาคำทาย ศิลปะ สถาปัตยกรรม การละเล่นของเด็ก เป็นต้น, วิชาที่ว่าด้วยเรื่องเหล่านั้น. |
คตินิยม | น. แบบอย่างความคิดเห็น ความเชื่อ หรือวิธีการคิดรวมกันที่เป็นลักษณะของกลุ่มชน เช่น คตินิยมของกลุ่มวิชาชีพ คตินิยมทางศาสนา คตินิยมทางการเมือง. |
ความเห็น | น. ข้อวินิจฉัยหรือความเชื่อที่แสดงออกตามที่เห็น รู้ หรือ คิด เช่น ฉันมีความเห็นว่านักมวยไทยจะเป็นฝ่ายชนะ ผมมีความเห็นว่าเขาเป็นคนน่าเชื่อถือ. |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. |
เครดิต | (เคฺร-) น. ชื่อเสียงหรือความเชื่อถือในตัวบุคคลหรือในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, ความเชื่อถือในฐานะทางการเงินของบุคคลหรือสถาบัน |
จักริน, จักรี | (จักกฺริน, จักกฺรี) น. ผู้มีจักร หมายถึง พระนารายณ์, ต่อมาหมายถึง พระราชา ตามคติความเชื่อของไทยที่ถือว่าเป็นพระนารายณ์อวตาร. |
จุดยืน | น. ความคิดแน่วแน่, ความมั่นคงในหลักการตามความคิดความเชื่อของตน. |
ช้าหงส์, ช้าเจ้าหงส์ | พิธีขับกล่อมหงส์ ทำต่อเนื่องจากพิธีตรียัมปวาย เป็นการส่งเสด็จพระอิศวร พระอุมาและพระมหาพิฆเนศวร กลับสู่สวรรค์ตามคติความเชื่อของพราหมณ์ |
ดวง | ผังที่แสดงตำแหน่งของดาวพระเคราะห์ต่าง ๆ ในท้องฟ้าขณะที่เกิดเหตุการณ์บางอย่าง โดยเฉพาะดวงชะตากำเนิด ซึ่งกำหนดความเป็นไปในชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตามความเชื่อทางโหราศาสตร์ เช่น ผูกดวง, เรียกเต็มว่า ดวงชะตา, ความเป็นไปในชีวิตตามกำหนดของดวงชะตา เช่น ดวงขึ้น ดวงตก. |
ดวงชะตา | น. ผังที่แสดงตำแหน่งของดาวพระเคราะห์ต่าง ๆ ในท้องฟ้าขณะที่เกิดเหตุการณ์บางอย่าง โดยเฉพาะดวงชะตากำเนิด ซึ่งกำหนดความเป็นไปในชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตามความเชื่อทางโหราศาสตร์, เรียกสั้น ๆ ว่า ดวง. |
ตรีเอกภาพ, ตรีเอกานุภาพ | น. คติความเชื่อในศาสนาคริสต์ที่ว่าพระบิดา พระบุตร และพระจิต (คาทอลิก) หรือ พระวิญญาณบริสุทธิ์ (โปรเตสแตนต์) เป็น ๓ บุคคลที่รวมเป็นหนึ่ง ซึ่งความจริงก็คือพระเป็นเจ้าองค์เดียวกันนั่นเอง. |
ต่อชะตา, ต่อชาตา | ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่ออายุ ก็ว่า. |
ต่ออายุ | ก. ทำพิธีเพื่อให้มีอายุยืนตามความเชื่อที่มีมาแต่โบราณ, ต่อชะตา หรือ ต่อชาตา ก็ว่า. |
ธรณีสูบ | ก. อาการที่แผ่นดินแยกออกทำให้คนที่ทำบาปกรรมอย่างยิ่งตกลงหายไป แล้วแผ่นดินก็กลับเป็นอย่างเดิม เป็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนาว่า ธรรมชาติจะลงโทษคนที่ทำบาปหนักนั้นเอง โดยผู้อื่นไม่ต้องลงโทษ. |
ธาดา | น. ผู้สร้าง, ผู้ทรงไว้, พระพรหมผู้สร้างโลกและสรรพสิ่งตามคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์. |
นางกวัก ๑ | น. เครื่องรางชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปหญิงนั่งพับเพียบ มือซ้ายถือถุงเงินวางบนตัก มือขวายกขึ้นเสมอตา แสดงอาการกวักมือ มักแกะสลักด้วยไม้โพ ที่ปั้นหล่อด้วยโลหะก็มี ทำขึ้นด้วยความเชื่อว่าทำให้ค้าขายดี. |
นิยัตินิยม | (นิยัดติ-) น. ลัทธิความเชื่อที่ว่า การกระทำทุกอย่างของมนุษย์หรือเหตุการณ์ทั้งหลายได้ถูกกำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว. |
พิธี | น. งานที่จัดขึ้นตามลัทธิหรือความเชื่อถือตามขนบธรรมเนียมประเพณีเพื่อความขลังหรือความเป็นสิริมงคลเป็นต้น เช่น พิธีพระราชทานปริญญาบัตร พิธีมงคลสมรส พิธีประสาทปริญญา |
มายาการ | น. ความเชื่อถือและการปฏิบัติที่มุ่งให้เกิดผลด้วยการใช้พลังหรืออำนาจเหนือธรรมชาติ เช่นของขลัง พิธีกรรม หรือหลักลี้ลับ บังคับให้เป็นไปตามที่ตนต้องการ. |
มิทธะ | (มิด-) น. ความท้อแท้, ความเชื่อมซึม. |
รับพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีรับเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่จะมาเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. |
ลบเหลี่ยม | ก. ทำให้เสียชั้นเชิง เสียเกียรติ หรือเสียความเชื่อถือ ต่อหน้าผู้อื่นหรือต่อหน้าชุมนุมชน. |
ลัทธิ | น. คติความเชื่อถือ ความคิดเห็น และหลักการ ที่มีผู้นิยมนับถือและปฏิบัติตามสืบเนื่องกันมา เช่น ลัทธิสังคมนิยม ลัทธิชาตินิยม ลัทธิทุนนิยม. |
ล้างสมอง | ก. ทำให้บุคคลเปลี่ยนความคิดเห็นหรือความเชื่อถือของตนโดยเฉพาะในลัทธิการเมือง สังคม หรือศาสนาไปอย่างสิ้นเชิง และยอมรับความคิดเห็นหรือความเชื่อใหม่โดยใช้วิธีการต่าง ๆ รวมทั้งอาจมีการทรมานจิตใจอย่างรุนแรง. |
เล่นแร่แปรธาตุ | ก. พยายามทำโลหะที่มีค่าตํ่าเช่นตะกั่วให้กลายเป็นทองคำตามความเชื่อแต่โบราณ, โดยปริยายหมายความว่า สับเปลี่ยนของที่มีราคาให้เป็นของที่มีราคาต่ำกว่า. |
เลื่อมใส | ก. มีความเชื่อถือ เช่น เลื่อมใสศาสนา, มีจิตยินดี, เห็นชอบด้วย, เช่น เลื่อมใสในความรู้ความสามารถ เลื่อมใสในแนวการประพฤติปฏิบัติของเขา. |
วัตถุนิยม | น. ทฤษฎีหรือความเชื่อที่ว่าวัตถุเท่านั้นมีอยู่จริง |
เวท, เวท- | ชื่อคัมภีร์ภาษาสันสกฤตโบราณซึ่งเป็นพื้นฐานของศาสนาพราหมณ์ยุคแรก มี ๔ คัมภีร์ ได้แก่ ๑. ฤคเวท ว่าด้วยบทสวดสรรเสริญเทพเจ้าทั้งหลาย ตอนท้ายกล่าวถึงการสร้างโลก ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นต้นแบบความเชื่อของชาวอินเดีย ๒. ยชุรเวท ว่าด้วยรายละเอียดการประกอบยัญพิธีและลำดับมนตร์ที่นำมาจากคัมภีร์ฤคเวทเพื่อสวดในขั้นตอนต่าง ๆ ของพิธี ๓. สามเวท ว่าด้วยบทขับที่คัดเลือกมาจากประมาณหนึ่งในหกของฤคเวท และใช้เฉพาะในพิธีที่บูชาด้วยน้ำโสม ๔. อถรรพเวท หรือ อาถรรพเวท เป็นเวทมนตร์คาถาเพื่อให้เกิดผลดีแก่ฝ่ายตนหรือผลร้ายแก่ฝ่ายศัตรู ตลอดจนการบันดาลสิ่งที่เป็นมงคลหรืออัปมงคล การทำเสน่ห์ การรักษาโรค และอื่น ๆ สามคัมภีร์แรกเรียกว่า ไตรเวท หรือ ไตรเพท ต่อมารับอถรรพเวทหรืออาถรรพเวทเข้ามารวมเป็นสี่คัมภีร์เรียกว่า จตุรเวท หรือ จตุรเพท, เรียกยุคแรกของศาสนาพราหมณ์จนถึงประมาณสมัยพุทธกาลว่า ยุคพระเวท มีวรรณกรรมหลักประกอบด้วยคัมภีร์พระเวท คัมภีร์พราหมณะ คัมภีร์อารัณยกะและคัมภีร์อุปนิษัทรุ่นแรก. |
เวียนว่ายตายเกิด | น. คติความเชื่อถือที่ว่ามนุษย์หรือสัตว์เมื่อตายแล้วจะต้องไปเกิดอีก. |
ไว้ใจ | ก. มอบความเชื่อความมั่นใจให้, วางใจ, เช่น ไว้ใจให้เก็บรักษาเงิน ไว้ใจให้ดูแลบ้าน, ไว้วางใจ ก็ว่า. |
ไว้วางใจ | ก. มอบความเชื่อความมั่นใจให้, วางใจ, ไว้ใจ ก็ว่า. |
ศรัทธา | (สัดทา) น. ความเชื่อ, ความเลื่อมใส, เช่น สิ้นศรัทธา ฉันมีศรัทธาในความดีของเขา บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ ประสาทะ เป็น ศรัทธาประสาทะ. |
ศาสน-, ศาสนา | (สาสะนะ-, สาดสะนะ-, สาดสะหฺนา) น. ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือแสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลกเป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ. |
ส่งพระเคราะห์ | ก. ทำพิธีส่งเทวดาประจำดาวพระเคราะห์ดวงที่กำลังจะสิ้นสุดการเสวยอายุเพื่อความสวัสดิมงคลตามความเชื่อทางโหราศาสตร์. |
ส่งวิญญาณ | ก. ทำพิธีเพื่อให้วิญญาณผู้ตายไปเกิดในสุคติตามคติความเชื่อถือของพระพุทธศาสนาลัทธิมหายาน. |
สหธรรม | น. ธรรมอันเดียวกัน, กฎหรือความเชื่อถืออย่างเดียวกัน. |
สัทธา | น. ความเชื่อ, ความเลื่อมใส. |
สินเชื่อ | น. เงินที่ให้เป็นหนี้ไว้ด้วยความเชื่อ. |
สุขาวดี | (สุขาวะดี) น. แดนอันมีความสุขตามความเชื่อของลัทธิมหายาน. |
ให้แรง | ก. ทำให้มีกำลังเพิ่มขึ้นเป็นต้น มักใช้กับสิ่งนอกเหนือธรรมชาติตามความเชื่อ เช่น ผีให้แรง เทวดาให้แรง. |
อัญดิตถีย์, อัญเดียรถีย์ | (-ดิดถี, -เดียระถี) น. พวกที่มีความเชื่อถืออย่างอื่น, พวกนอกพระพุทธศาสนา. |
อัฏนา | (อัดตะนา) น. เรียกชื่อพิธียิงปืนเพื่อขับไล่ภูตผีปีศาจตามประเพณีความเชื่อในระหว่างที่พระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยสูตรในวันทำพิธีตรุษ ว่า ยิงปืนอัฏนา, อาฏานา ก็ว่า. |
อาฏานา | น. เรียกชื่อพิธีขับไล่ภูตผีปีศาจตามประเพณีความเชื่อในวันทำพิธีตรุษ โดยพระสงฆ์สวดอาฏานาฏิยสูตรและมีการยิงปืนในระหว่างนั้น ซึ่งเรียกว่า ยิงปืนอาฏานา, อัฏนา ก็ว่า. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
linkage | ความเชื่อมโยง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reliability | ความเชื่อถือได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
reliability | ความเชื่อถือได้, ความไว้ใจได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reliability | ความเชื่อถือได้ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reliability | ความเชื่อถือได้ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
reliance | ความไว้ใจ, ความเชื่อถือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
social cohesion | ความเชื่อมแน่นทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
system reliability | ความเชื่อถือได้ของระบบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
belief | ความเชื่อ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
myth | ความเชื่อปรัมปรา, เรื่องปรัมปรา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
moral certainty | ความเชื่อโดยไม่มีข้ออันควรสงสัย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
credibility gap | การขาดความเชื่อถือ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
confidence interval | ช่วงความเชื่อมั่น [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
confidence interval | ช่วงความเชื่อมั่น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
confidence limits | ขีดจำกัดความเชื่อมั่น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
confidence region | บริเวณความเชื่อมั่น [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
cohesion | ความเชื่อมแน่น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cohesion, social | ความเชื่อมแน่นทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dishonoured bill | ตั๋วเงินขาดความเชื่อถือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interconnectedness | ความเชื่อมโยงถึงกัน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
trust | ๑. ความไว้วางใจ, ความเชื่อถือ๒. การรวมกันผูกขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
torpidity | ความอ่อนแรง, ความเชื่องช้า, ความเฉื่อยชา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
notice of dishonour | คำบอกกล่าวว่าตั๋วเงินขาดความเชื่อถือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
worthless cheque | เช็คที่ขาดความเชื่อถือ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
กงเต๊กหลวง | เป็นพิธีบำเพ็ญพระราชกุศลอุทิศถวายในงานพระบรมศพเจ้านายที่เพิ่มเติมเข้ามาจากแบบแผนราชสำนัก เป็นการผสานทางศาสนาพุทธนิกายมหายานและวัฒนธรรมญวน-จีน กับความเชื่อของไทย โดยมีจุดมุ่งหมายเดียวกันคือการส่งเสด็จเจ้านายที่ล่วงลับสู่สวรรคาลัย [ศัพท์พระราชพิธี] |
Reliability (Engineering) | ความเชื่อถือได้ (วิศวกรรมศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Trust | ความเชื่อมั่น [การจัดการความรู้] |
Belief and doubt | ความเชื่อ [TU Subject Heading] |
Confidence intervals | ช่วงความเชื่อมั่น [TU Subject Heading] |
Dogma | ความเชื่อ (คริสตศาสนา) [TU Subject Heading] |
Faith | ความเชื่อ (ศาสนา) [TU Subject Heading] |
Faith (Buddhism) | ความเชื่อ (พุทธศาสนา) [TU Subject Heading] |
Faith (Islam) | ความเชื่อ (ศาสนาอิสลาม) [TU Subject Heading] |
Locus of control | ความเชื่อในการควบคุม [TU Subject Heading] |
Reliability | ความเชื่อถือได้ [TU Subject Heading] |
Reliability (Engineering) | ความเชื่อถือได้ (วิศวกรรมศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Self-confidence | ความเชื่อมั่นในตัวเอง [TU Subject Heading] |
Superstition | ความเชื่อถือโชคลาง [TU Subject Heading] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Credential หรือ Letter of Credence | เอกสารทางราชการที่ประมุขของประเทศเป็นผู้ลงนาม ในเอกสารนั้น ประมุขของประเทศจะกล่าวยกย่องตัวทูตต่อประมุขของรัฐที่ผู้ที่เป็นทูตไปประจำ อยู่ (รัฐผู้รับ) ภาษาที่ใช้ในเอกสารจะเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนหรูหรา และกล่าวถึงคุณสมบัติของทูตอย่างสูงส่ง แล้วลงท้ายด้วยการขอให้ความเชื่อถือแก่ทุกสิ่งทุกอย่างที่ทูตอาจจะกล่าวใน นามของรัฐบาลของตน [การทูต] |
Forum for Comprehensive Development of Indochina | เวทีเพื่อการพัฒนาอย่างสมบูรณ์แบบในอินโดจีน เป็นความริเริ่มโดยกระทรวงการต่างประเทศญี่ปุ่นที่จะให้มีเวทีปรึกษาหารือ เพื่อช่วยพัฒนาประเทศลาว กัมพูชา และเวียดนาม กลไกประกอบด้วยคณะทำงานด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ คณะที่ปรึกษาภาคเอกชนโดยเน้นบทบาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการพัฒนาภาค เอกชนตลอดจนการสร้างความเชื่อมโยงกับกรอบความร่วมมือ (GMS) [การทูต] |
Flexible Engagement | ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่น " ความเกี่ยวพันอย่างยืดหยุ่นเป็นข้อเสนอของ ดร. สุรินทร์ พิศสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของไทยที่เสนอในการประชุมรัฐมนตรีต่าง ประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting : AMM) ครั้งที่ 31 เมื่อเดือนกรกฎาคม 2541 ณ กรุงมะนิลา ฟิลิปปินส์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกอาเซียนมีการหารือและแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกันอย่างสร้างสรรค์ เปิดกว้างและเป็นกันเองในเรื่องหรือประเด็นต่าง ๆ ที่เห็นว่าเป็นผลประโยชน์ร่วมกันหรือที่จะมีผลกระทบต่อความสัมพันธ์และความ มั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของนานาประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ อันสืบเนื่องจากการที่อาเซียนมีสมาชิกครบ 10 ประเทศ และอยู่ในภาวะที่เผชิญปัญหาท้าทายต่าง ๆ ซึ่งมีความเชื่อมโยงและเกี่ยวพันกัน " [การทูต] |
Jus Soli | คือหลักความเชื่อถือซึ่งหลายประเทศยึดถืออยู่ คือบุคคลชาติใดก็ตาม ถือกำเนิด ณ ที่ไหนก็ได้สัญชาติของที่นั้น คนสวีเดนที่เกิดในประเทศไทยจะถือว่าได้สัญชาติไทยไปในตัวผิดกับหลักความ เชื่อถืออีกอันหนึ่งเรียกว่า Jus Sanguinis ซึ่งให้ถือสัญชาติของบุคคลตามสัญชาติของบิดามารดาของบุคคลนั้น ไม่ถือตามสถานที่เกิด [การทูต] |
Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] |
Potsdam Proclamation | คือคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดม ออกเมื่อวันที่ 26 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 โดยหัวหน้าคณะรัฐบาลของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และจีน ลงนามโดยประธานาธิบดีของรัฐบาลจีนคณะชาติ เป็นคำประกาศเมื่อตอนใกล้จะเสร็จสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง โดยฝ่ายสัมพันธมิตรดังกล่าวกำลังทำสงครามขับเคี่ยวอยู่กับฝ่ายญี่ปุ่น พึงสังเกตว่า สหภาพโซเวียต ในตอนนั้นมิได้มีส่วนร่วมในการออกคำประกาศ ณ เมืองปอตสแดมแต่อย่างใดโดยแท้จริงแล้ว คำประกาศนี้เท่ากับเป็นการยื่นคำขาดให้ฝ่ายญี่ปุ่นตัดสินใจเลือกเอาว่าจะทำ การสู้รบต่อไป หรือจะยอมจำนนเพื่อยุติสงคราม คำประกาศได้เตือนอย่างหนักแน่นว่า หากญี่ปุ่นตัดสินใจที่จะสู้รบต่อไป แสนยานุภาพอันมหาศาลของสัมพันธมิตรก็จะมุ่งหน้าโจมตีบดขยี้กองทัพและประเทศ ญี่ปุ่นให้แหลกลาญ แต่หากว่าญี่ปุ่นยอมโดยคำนึงถึงเหตุผล ฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้หลายข้อ สรุปแล้วก็คือ ลัทธิถืออำนาจทหารเป็นใหญ่จะต้องถูกกำจัดให้สูญสิ้นไปจากโลกอำนาจและอิทธิพล ของบรรดาผู้ที่ชักนำให้พลเมืองญี่ปุ่นหลงผิด โดยกระโจนเข้าสู่สงครามเพื่อครองโลกนั้น จะต้องถูกทำลายให้สิ้นซาก รวมทั้งพลังอำนาจในการก่อสงครามของญี่ปุ่นด้วยจุดต่าง ๆ ในประเทศญี่ปุ่น ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด จะต้องถูกยึดครองไว้จนกระทั่งได้ปฏิบัติตามจุดมุ่งหมายของสัมพันธมิตรเป็นผล สำเร็จแล้ว อำนาจอธิปไตยของญี่ปุ่นให้จำกัดอยู่เฉพาะภายในเกาะฮอนซู ฮ็อกไกโด กิวชู ชิโกกุ และเกาะเล็กน้อยอื่น ๆ ตามที่ฝ่ายสัมพันธมิตรจะกำหนด อาชญากรสงครามทุกคนจะต้องถูกนำตัวขึ้นศาล รวมทั้งที่ทำทารุณโหดร้ายต่อเชลยศึกของสัมพันธมิตร รัฐบาลญี่ปุ่นจะต้องกำจัดสิ่งต่าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นอุปสรรคต่อการรื้อฟื้น และเสริมสร้างความเชื่อถือในหลักประชาธิปไตยในระหว่างพลเมืองญี่ปุ่น และจัดให้มีเสรีภาพในการพูด การนับถือศาสนา และในการแสดงความคิดเห็น ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ดี ญี่ปุ่นจะได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการด้านอุตสาหกรรมที่จะเกื้อกูลต่อภาวะ เศรษฐกิจของประเทศ และความสามารถที่จะชำระค่าปฏิกรรมสงคราม แต่จะไม่ยอมให้คงไว้ซึ่งกิจการอุตสาหกรรมชนิดที่จะช่วยให้ญี่ปุ่นสร้างสม อาวุธเพื่อทำสงครามขึ้นมาอีก ในทีสุด กำลังทหารสัมพันธมิตรจะถอนตัวออกจากประเทศญี่ปุ่นในทันทีที่จุดประสงค์ต่าง ๆ ได้บรรลุผลเรียบร้อยแล้ว ในตอนท้ายของเงื่อนไข สัมพันธมิตรได้เรียกร้องให้รัฐบาลญี่ปุ่นประกาศยอมแพ้อย่างไม่มีเงื่อนไข เสียโดยไว [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Reliability | ความเชื่อถือได้ [การบัญชี] |
Accuracy | ความถูกต้อง, ความเที่ยงตรง, ความแม่นยำ, ความเชื่อมั่น, ความถูกต้องแม่นยำ [การแพทย์] |
Belief | ความเชื่อ [การแพทย์] |
Cohesion | การยึดเกาะกัน, ความเชื่อมแน่น [การแพทย์] |
Competence | ความสามารถ, ความเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Confidence | ความเชื่อมั่นความมั่นใจและเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Confidence Coefficient | สัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Confidence Intervals | ช่วงความเชื่อมั่น, ระหว่างช่วงความเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Confidence Levels | ระดับความเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Confidence Limits | ความปรวนแปรที่ยอมรับได้, ขอบเขตความเชื่อมั่น [การแพทย์] |
Creeping (lag) of aneroid barometer | ความเชื่องช้าของ บารอมิเตอร์ตลับ [อุตุนิยมวิทยา] |
reliability | ความเชื่อถือได้, ความสามารถของอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้หรือระบบใดระบบหนึ่งที่จะทำงานได้ผลดีแน่นอนตามหน้าที่ที่ได้กำหนดไว้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
deductive reasoning | การให้เหตุผลแบบนิรนัย, การให้เหตุผลโดยการนำความรู้พื้นฐานซึ่งอาจเป็นความเชื่อ ข้อตกลง กฎ หรือบทนิยาม ซึ่งเป็นสิ่งที่รู้มาก่อนและยอมรับว่าเป็นจริงมาประกอบเพื่อนำไปสู่ข้อสรุป [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
mind map | แผนที่ความคิด, ผังที่แสดงการเชื่อมโยงของความคิดที่หลากหลาย โดยการแตกกิ่งก้านสาขาออกไปเรื่อย ๆ จากหัวข้อหลักและเขียนคำสำคัญ (key word) บนเส้นแต่ละเส้นเพื่อให้เห็นความเชื่อมโยงของแนวคิด มีการใช้สีและภาพวาดเข้ามาเกี่ยวข้องเพื่อช่วยให้สมองจดจำได้ดีขึ้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Grandiose | ความเชื่อว่าตัวเองใหญ่โต [การแพทย์] |
Indoctrination | การปลูกฝังลัทธิความเชื่อบางอย่าง [การแพทย์] |
Misconcepts | ความเชื่อและความเข้าใจที่ผิด [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
คติความเชื่อ | [khati khwām cheūa] (n, exp) EN: belief |
ความเชื่อ | [khwām cheūa] (n) EN: belief FR: croyance [ f ] |
ความเชื่อฟัง | [khwām cheūafang] (n) FR: obéissance [ f ] |
ความเชื่อมั่น | [khwām cheūaman] (n) EN: confidence FR: confiance [ f ] |
ความเชื่อมั่นของผู้บริโภค | [khwām cheūaman khøng phūbøriphōk] (n, exp) EN: consumer confidence FR: confiance des consommateurs [ f ] |
ความเชื่อมั่นในตนเองมากเกินไป | [khwām cheūaman nai ton-ēng māk koēnpai] (n, exp) EN: overconfidence |
ความเชื่อมโยง | [khwām cheūamyōng] (n) EN: connection ; correlation |
ความเชื่อถือ | [khwām cheūatheū] (n) EN: trust ; faith ; credit ; reliance FR: crédit [ m ] |
มีความเชื่อมั่นในตนเองมากเกินไป | [mī khwām cheūaman nai ton-ēng māk koēnpai] (xp) EN: overconfident |
ประเพณีความเชื่อ | [praphēnī khwām cheūa] (n, exp) EN: belief FR: croyance [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
confidence interval | (n, phrase) ช่วงความเชื่อมั่น |
ethnocentrism | (n) ความเชื่อที่ว่าชนชาติ ประชาชน ขนบธรรมเนียม ประเพณีของ เชื้อชาติของตนนั้น ดีเลิศกว่าชนชาติอื่น |
ethnocentricism | (n) ความเชื่อว่าชาติของตนเหนือกว่าชนชาติอื่น |
core value | (n) ค่านิยมหรือความเชื่อหลัก (อันเป็นสิ่งที่ดีงาม) ขององค์การ หากไม่มีองค์การจะไม่สามารถคงอยู่ได้ เช่น core value ของธนาคาร คือ ความซื่อสัตย์ ถ้าขาดไปจะไม่มีลูกค้ามาใช้บริการอย่างแน่นอน, We conduct our business guided by the following core values to serve our customers. |
gaslight | (vt) จัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, ปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง |
gaslighting | (n) การจัดฉากให้คนหนึ่งๆ รู้สึกว่าสิ่งที่เขาเข้าใจนั้นผิด, การปั่นหัวให้มีความเชื่อที่ผิดๆ จนทำให้เขาตั้งคำถามกับเกี่ยวกับสุขภาพจิตของตนเอง |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Adventist | (n) สมาชิกของศาสนาคริสต์ที่มีความเชื่อร่วมกัน, See also: สมาชิกของศาสนาคริสต์ที่เชื่อถือว่าพระเยซูคริสต์จะมาจุติในโลกอีก |
animism | (n) ความเชื่อว่ามีวิญญาณในธรรมชาติและจักรวาล |
assurance | (n) ความเชื่อมั่น, Syn. self-confidence, self-reliance |
act of faith | (idm) ความเชื่อมั่น, See also: ความศรัทธา, ความเชื่อถือ |
adhere to | (phrv) ศรัทธาต่อ (ความคิด, ความเชื่อ, ความเห็น), See also: เชื่อมั่นต่อ ความเชื่อ, ความคิด, แผนงาน อย่างแน่วแน่, ยึด, ยึดตาม, ทำตาม, Syn. cleave to, cling onto, cling to, hold to, keep to, stick to, stay with, Ant. depart from, deviate from |
belief | (n) ความเชื่อ, Syn. trust, faith, Ant. doubt |
bigotry | (n) การแสดงความรู้สึกหรือความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล |
blind | (adj) (ความเชื่อ, การกระทำ) ที่ขาดเหตุผล, Syn. unreasoning, irrational |
conversion | (n) การเปลี่ยนความเชื่อ, See also: การเปลี่ยนศาสนา |
convert | (n) คนที่เปลี่ยนความเชื่อ, See also: คนที่เปลี่ยนศาสนา, คนที่เปลี่ยนความคิด, Syn. proselyte |
convert | (vt) ทำให้เปลี่ยนความเชื่อ, See also: ทำให้เปลี่ยนศาสนา |
convert | (vi) เปลี่ยนความเชื่อ, See also: เปลี่ยนศาสนา |
conviction | (n) ความเชื่อมั่น, See also: ความเชื่ออย่างแรงกล้า, Syn. article of faith, strong belief |
credulity | (n) ความเชื่อคนง่าย |
creed | (n) หลักความเชื่อ, Syn. belief, doctrine |
cult | (n) ศาสนา, See also: ลัทธิความเชื่อ, ลัทธิ |
culture | (n) ค่านิยมและความเชื่อ |
convert from | (phrv) เปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อจาก, Syn. convert to |
convert to | (phrv) เปลี่ยนศาสนาหรือความเชื่อเป็น |
discern between | (phrv) มองเห็น, See also: เข้าใจ, สังเกตเห็น ความแตกต่าง, ความเหมือน, ความเชื่อมโยง |
debunk | (vt) แสดงให้เห็นว่าความคิดหรือความเชื่อนั้นผิด, See also: หักล้างความคิด, Syn. deflate |
deism | (n) ความเชื่อว่ามีพระเจ้า |
delusion | (n) การเข้าใจผิด, See also: ความผิดพลาด, ความเชื่อที่ผิด, Syn. error, illusion, misconception, Ant. truism, fact, certainty |
deviationist | (n) ผู้ไม่เห็นด้วยกับระบบหรือความเชื่อบางอย่างทางการเมือง, Syn. secessionist, schismatic |
disenchantment | (n) การหมดความสนใจ, See also: การหมดความเชื่อถือ, ความไม่ชอบ, Syn. revulsion, regret, disillusionment |
dogma | (n) หลักศาสนา, See also: วินัย, กฎเกณฑ์, ข้อบังคับ, หลักความเชื่อ, Syn. doctrine, principles, tenet |
ecumenicity | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenism |
ecumenism | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenicity |
elitism | (n) ความเชื่อที่ว่าคนบางคนสูงส่งกว่าคนอื่นและสมควรจะได้รับสิทธิพิเศษต่างจากคนอื่น |
embrace | (vt) นำมาใช้ (โดยเฉพาะความเชื่อ), Syn. adopt |
empiricism | (n) ความเชื่อว่าความรู้มาจากประสบการณ์, Syn. experientialism, induction |
empyrean | (n) สวรรค์ชั้นสูงสุดตามความเชื่อของกรีกและโรมันโบราณ, Syn. celestial, heaven, welkin |
equalitarian | (adj) เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าตามหลักการแล้วทุกๆ คนเท่าเทียมกัน, See also: เกี่ยวกับความเชื่อที่ว่าทุกๆ คนเสมอภาคกัน, Syn. egalitarian |
error | (n) ความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion, fallacy, misunderstanding |
evangelic | (adj) เกี่ยวกับความเชื่อของศาสนิกชนนิกายโปรแตสแตนท์ที่เชื่อถือในคัมภีร์ไบเบิลและการช่วยให้พ้นจากบาปโดยการศรัทธาในพระเยซู, Syn. evangelical |
evangelize | (vi) พยายามชักชวนให้คนอื่นกระตือรือร้นในความคิดความเชื่อในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกับตัวเอง |
evangelize | (vt) พยายามชักชวนให้คนอื่นกระตือรือร้นในความคิดความเชื่อในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเหมือนกับตัวเอง |
faith | (n) ศรัทธา, See also: ความศรัทธา, ความเลื่อมใส, ความเชื่อถือ, Syn. loyalty, trust, Ant. distrust, doubt |
faith cure | (n) วิธีการรักษาโรคด้วยความเชื่อทางศาสนา, See also: การทำให้หายจากโรคโดยวิธีความเชื่อทางศาสนา, Syn. faith healing |
faith healing | (n) วิธีการรักษาโรคด้วยความเชื่อทางศสนา, See also: การทำให้หายจากโรคโดยวิธีความเชื่อทางศาสนา, Syn. faith cure |
falsehood | (n) ความเชื่อที่ไม่จริง, See also: ความคิดผิดๆ, Syn. error, misconception, untruth, Ant. fact, certainty |
fay | (n) ความเชื่อถือ, See also: ความศรัทธา, ความเลื่อมใส, Syn. faith |
feeling | (n) ความคิด, See also: ความคิดเห็น, ทัศนคติ, ความเชื่อ, Syn. opinion, belief |
fold | (n) กลุ่มผู้ที่มีความเชื่อร่วมกัน, See also: กลุ่มผู้ที่มีความคิดเดียวกัน |
folk | (adj) ที่มีพื้นฐานความเชื่อของชาวบ้าน |
folklore | (n) ประเพณีและความเชื่อของผู้คน, See also: คติชาวบ้าน |
freemasonary | (n) องค์กรของพวก Freemason, See also: แนวปฏิบัติหรือความเชื่อของพวก Freemason |
get away with | (phrv) มีความคิด (ความเชื่อ), Syn. go away with, run away with |
heterodox | (adj) ซึ่งไม่เห็นด้วยกับความคิดความเชื่อทางศาสนา (คำทางการ), See also: ซึ่งนอกคอก, Syn. apostate, heretical, unorthodox, Ant. pious |
in one's opinion | (idm) ตามความเชื่อของ, See also: ในความคิดของ |
Hope Dictionary
acceptation | (แอคเซพเท' เชิน) n. การเห็นด้วย, ความเชื่อ, ความหมายที่ยอมรับกันของศัพท์หรือวลีหรืออื่น, Syn. approval, belief |
actualism | (แอค' ซวลลิสซึม) n. ความเชื่อที่ว่าความจริงทั้งหมดนั้นเปนสิ่งมีตัวตน. -actualistic adj. -actualist n. |
affiance | (อะไฟ' เอินซฺ) vt., n. สัญญา, รับหมั้น, หมั้น, การหมั้น, ความเชื่อถือ, ศรัทธา, ความไว้วางใจ, Syn. betroth, faith |
animism | (แอน' นิมิสซึม) n. ความเชื่อถือที่ว่ามีวิญญาณในธรรมชาติและจักรวาล, ความเชื่อว่าวิญญาณอาจอยู่แยกต่างหากจากร่างกาย, ความเชื่อถือว่าวิญญาณเป็นส่วนสำคัญของชีวิตและสุขภาพที่ดี, ความเชื่อในเรื่องวิญญาณ -animist n. -animistic adj. |
assurance | (อะชัว'เรินซฺ) n. การรับรอง, การทำให้แน่นอน, การทำให้มั่นใจ, ความมั่นใจ, ความเชื่อถือ, ความไม่กลัวเกรง, ความบ้าบิ่น, การประกันภัย, การโอนทรัพย์สิน, Syn. boldness, confidence, Ant. doubt, distrust |
atheism | (เอ'ธีอิสซึม) n. ความเชื่อที่ว่าไม่มีพระเจ้า, ความไม่มีพระเจ้า, ความชั่วร้าย |
authority | (ออธอ'ริที) n. เจ้าหน้าที่, อำนาจ (ในหน้าที่ตำแหน่ง) , ผู้มีอำนาจ, ผู้เป็นต้นตำรับ, ทางราชการ, แหล่งข้อมูลหรือคำแนะนำที่เชื่อถือได้, ความเชื่อถือได้, ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง, อำนาจทางนิตินัย, อำนาจการเป็นตัวแทน, ความเชี่ยวชาญ, พยาน, การให้การ (คำที่มีความหมายเหมือนก |
autogenesis | (ออโทเจน'นิซิส) n. การเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, ความเชื่อที่ว่าสิ่งชีวิตเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ. -autogenetic adj. (abiogenesis) |
belief | (บิลีฟ') n. ความเชื่อ, ความเชื่อถือ, ศรัทธา, ข้อบัญญัติทางศาสนา, Syn. faith |
casualism | (แคซ'ซวลลิสซึม) n. ความเชื่อหรือลัทธิที่เชื่อว่าสิ่งต่าง ๆ เป็นไปโดยบังเอิญ, See also: casualist n. |
certitude | (เซอ'ทิทิวดฺ) n. ความเชื่อมั่น, ความมั่นใจ |
complexion | (คัมเพลค'เชิน) n. สีหน้า, สีผิว, คุณลักษณะ, เค้า, ความคิดเห็น, ความเชื่อ |
confession | (คันเฟส'เชิน) n . การสารภาพ, การยอมรับ, การสารภาพความผิด, สิ่งที่ได้สารภาพ, การประกาศความเลื่อมใสและยอมรับการปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา, สุสานนักบุญ, Syn. admission, confirmation |
confidence | (คอน'ฟิเดินซฺ) n. ความเชื่อถือ, ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่นในตัวเอง, ความกล้าได้กล้าเสีย -Phr. (in confidence เป็นความลับ), Syn. trust, reliance, boldness |
conversion | (คันเวอ'เชิน) n. การเปลี่ยนแปลง, ภาวะที่ถูกเปลี่ยนแปลง, การเปลี่ยน (ศาสนา ความเชื่อ พรรคหรืออื่น ๆ) , การแลกเปลี่ยน, การแปลงหนี้., See also: conversional adj. ดูconversion conversionary adj. ดูconversion |
conviction | (คันวิค'เชิน) n. การลงโทษ, การตัดสินว่ากระทำผิด, ภาวะที่ถูกตัดสินว่ากระทำผิด, ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่นใจ, Syn. faith, Ant. unbelief |
credence | (เครด'เดินซฺ) n. ความเชื่อถือว่าจริง, ความไว้วางใจ, หลักฐานความเชื่อถือ -Phr. (credence table, credenzaโต๊ะข้างที่ใช้ในวิธีศีลมหาสนิท (Eucharist)), Syn. assurance, belief, trust, faith, Ant. distrust, mistrust |
credendum | (คริเดน'ดัม) n. ลัทธิที่ต้องการความเชื่อ, สิ่งที่เชื่อถือ -pl. credenda |
credit | (เครด'ดิท) { credited, crediting, credits } n. ความน่าไว้วางใจ, ความเชื่อถือ, ชื่อเสียง, เกียรติยศ, เกียรติภูมิ, ฐานะ, หลักฐาน, สินเชื่อ, การเชื่อของ, เงินสินเชื่อ, เงินคงเหลือในธนาคาร, บัญชีรายรับ, หน่วยกิตวิชา, หนังสือรับรองสินเชื่อ vt. เชื่อถือ, ไว้วางใจ, เลื่อมใส, นำชื่อ |
credo | (ครี'โด) n. ข้อบัญญัติทางศาสนา, ข้อบัญญัติ, ความเชื่อถือ, Syn. creed |
credulity | (ครีดู'ลิที) n. ความเชื่อคนง่ายเกินไป, ความไว้วางใจคนง่ายเกินไป, Syn. trust |
creed | (ครีด) n. ข้อบัญญัติทางศาสนา, หลักความเชื่อถือ, See also: creedal ดูcreed, Syn. credo |
cunctation | (คังเท'เชิน) n. ความเชื่องช้า, ความเฉือยชา, ความอืดอาด, ความลังเล |
data redundancy | ความซ้ำซ้อนข้อมูลหมายถึงข้อมูลที่ซ้ำซ้อนกัน หากตัดออก ก็จะไม่ทำให้ข้อมูลที่เหลืออยู่เสียหาย ถ้าใช้กับตัวเครื่อง (hardware) หมายถึง เครื่องที่มีระบบการทำงานซ้ำซ้อนกัน ในบางกรณีอาจจำเป็นต้องมีหรือใช้ ถ้าต้องการให้มีความเชื่อถือได้สูง |
deism | (ดี'อิสซึม) n. ความเชื่อในการมีพระเจ้าแต่ไม่เชื่อในสิ่งที่เหนือธรรมชาติ |
deliberation | (ดิลิบบะเร'เชิน) n. ความสุขุม, ความรอบคอบ, เจตนา, การพิจารณาหารือ, การปรึกษา, ความเชื่องช้า, Syn. thought, Ant. haste |
delusion | (ดิลู'เ??ชิน) n. การลวงตา, การหลอกลวง, ความเชื่อผิด ๆ , ความคิดเพ้อเจ้อ, การเข้าใจผิด, มหันต์ |
discredit | (ดิส'เครดิท) vt. ทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง, ทำให้สูญเสียความเชื่อถือ, ทำให้ขายหน้า, ทำให้ไม่เชื่อ. n. ความไม่เชื่อถือ, การสูญเสียชื่อเสียง, สิ่งที่ทำให้เสียชื่อ, Syn. disparage, slur |
dogma | (ดอก'มะ) n. หลักเกณฑ์หรือกฎเกณฑ์ที่ไร้ข้อพิสูจน์, คำสอนของศาสนา, ลัทธิแบบศาสนา, คำสอนแบบกำปั้นทุบดิน, ความเชื่อ, สิทธันต์, Syn. tenet, doctrine |
dogmatic | (ดอกแมท'ทิค) adj. เกี่ยวกับหลักเกณฑ์คำสอน ความเชื่อ หรือความคิดเห็นที่ไร้ข้อพิสูจน์, หยั่ง, หัวรั้น, มั่นใจ, ดันทุรัง, Syn. dogmatical, opinionated, settled, one-sided |
faith | (เฟธ) n. ศรัทธา, ความมั่นใจ, ความเลื่อมใส, ความยึดมั่น, ความเชื่อในศาสนา, ความซื่อสัตย์, คำรับรอง. -Phr. (lose faith in สงสัย) . -Phr. (in good faith ด้วยศรัทธา), Syn. belief, creed |
fallacy | (แฟล'ละซี) n. การหลอกลวง, การทำให้เข้าใจผิด, ความผิดพลาด, การอ้างเหตุผลหรือความเชื่อที่ผิด, Syn. delusion |
fiduciary | (ฟีดู'เชียรี) n. ผู้ได้รับมอบหมายอำนาจหรือทรัพย์สิน, ผู้ได้รับความไว้วางใจ adj. ขึ้นอยู่กับความเชื่อใจ |
folklore | (โฟล์ค'ลอร์) n. คติชาวบ้าน, ความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวบ้าน. -folkloric adj., See also: folklorist n. folkloristic adj. |
gospel | (กอส'เพิล) n., adj. คำสั่งสอนหรือเรื่องราวของพระเยซูคริสต์, ลัทธิหรือความเชื่อที่มีความสำคัญมาก. |
homeopathy | (โฮมีออพ'พะธี) n. ความเชื่อที่ว่ายาที่ใช้รักษาโรคสามารถทำให้เกิดอาการเดียวกันของโรคถ้าให้ในปริมาณน้อยที่สุดแก่ผู้ที่ไม่เป็นโรคนั้น, See also: homeopathic adj. |
independent | (อินดิเพน' เดินทฺ) adj. อิสระ, ไม่ขึ้นใคร, เป็นตัวของตัวเอง, ไม่อยู่ภายใต้การช่วยเหลือหรือสนับสนุนจากผู้อื่น, มีเงินเพียงพอที่จะช่วยตัวเอง, มีความเชื่อมั่นในตัวเอง. -n. คนที่อิสระ, คนที่เป็นตัวของตัวเอง, ผู้ออกเสียงอิสระ (ไม่ขึ้นอยู่พรรคการเมืองใด ๆ) |
indoctrinate | (อินดอค'ทริเนท) vt. ปลูกฝังความเชื่อ, สอนให้ซึมซาบ., See also: indoctrination n. indoctrinator n., Syn. instruct, inculcate |
ism | (อิส'ซึม) n. ลัทธิ, ทฤษฎี, ระบบ, ความเชื่อ, วิชาการ, Syn. doctrine, theory, system |
lagging | (แลก'กิง) n. ความล้าหลัง, ความเชื่องช้า. adj. ล้าหลัง, เชื่องช้า, เถลไถล, ปล่อยเวลาให้ผ่านไปโดยเปล่าประโยชน์, See also: laggingly adv. |
languor | (แลง'เกอะ) n. ความอ่อนเพลีย, ความอ่อนเปลี้ยเพลียแรง, ความเซื่องซึม, ความเชื่องช้า, See also: languorous adj. ดูlanguor |
martyr | (มาร์'เทอะ) n. ผู้ยอมรับการทรมานจากความตายแต่ไม่ยอมละทิ้งซึ่งศาสนา ความเชื่อหรืออุดมการณ์ของตัว, ผู้ได้รับการทรมานอย่างรุนแรงหรือเนืองนิจ, ผู้เรียกร้องความเห็นอกเห็นใจหรือความสนใจโดยแสร้งได้รับความทุกข์ทรมานหรืออื่น ๆ, See also: martyrly adv. adj. |
miscreance | (มิส'ครีเอินซฺ) n. ความเชื่อที่ผิด, ความเข้าใจผิด, ความนอกรีต, ความคิดนอกทาง |
monism | (มอน'นิซึม, โม'นิสซึม) ความเชื่อที่ว่ามีเพียงปัจจัย, See also: monist n. monistic adj. monistical adj. |
notion | (โน'เชิน) n. ความนึกคิด (ที่คลุมเครือหรือไม่สมบูรณ์) , ความคิดเห็น, ความเชื่อ, สิ่งประดิษฐ์, See also: notions n. ของเล็ก ๆ น้อย ๆ สำหรับ ขาย. ., Syn. idea |
occultism | (อะคัล'ทิสซึม) n. ความเชื่อในเรื่องผีสาง, ความเชื่อในเรื่องเวทมนตร์คาถา, ลัทธิลึกลับ, See also: occultist n., adj. |
orthodoxy | (ออร์ธะดอค'ซี) n. ความเชื่อหรือหลักปฏิบัติที่มาแต่ดั้งเดิม |
panentheism | (แพนเนน'ธิอิสซึม) n. ลัทธิหรือความเชื่อที่ว่ามีพระเจ้าอยู่ทั่วโลก ทั่วโลกและทั่วจักรวาล |
persuasion | (เพอสเว'เชิน) n. การชักชวน, การชักจูง, การจูงใจ, ภาวะที่ถูกชักชวน, ความมั่นใจ, ความเชื่อ, ระบบหรือรูปแบบของความเชื่อ, สำนักนิกาย, หมู่คณะ, Syn. conversion, inducement, belief, potency |
piety | (ไพ'อิที) n. ความเคร่งครัดในทางศาสนา, ความเลื่อมใสบูชา, ความมีศรัทธาอันแก่กล้า, คำพูดความเชื่อหรือพฤติการณ์ที่มีศรัทธาอันแก่กล้า |
Nontri Dictionary
atheism | (n) ความเชื่อว่าไม่มีพระเจ้า |
awkwardness | (n) ความเชื่องช้า, ความงุ่มง่าม, ความเปิ่น, ความอึกอัก |
belief | (n) ความเชื่อ, ความเชื่อถือ, ความเลื่อมใส, ความศรัทธา |
certainty | (n) ความเชื่อมั่น, ความแน่นอน, ความมั่นใจ, ความแน่ใจ |
clumsiness | (n) ความเชื่องช้า, ความเซ่อซ่า, ความซุ่มซ่าม, ความงุ่มง่าม |
confidence | (n) ความเชื่อมั่น, ความไว้ใจ, ความเชื่อถือ |
conviction | (n) ความมั่นใจ, ความเชื่อมั่น, ความแน่ใจ, การลงโทษ, การตัดสินว่าผิด |
credence | (n) ความเชื่อถือ, หลักความเชื่อ, ความไว้วางใจ |
creed | (n) ลัทธิ, หลักความเชื่อ, ข้อบัญญัติศาสนา |
dependence | (n) ความเชื่อใจ, ความไว้ใจ, การพึ่งพาอาศัย, เมืองขึ้น |
docility | (n) ความว่านอนสอนง่าย, ความเชื่อง |
dogma | (n) กฎเกณฑ์, หลักเกฎท์, ความเชื่อ, คำสอน, ลัทธิศาสนา |
faith | (n) ความศรัทธา, ความเลื่อมใส, ความเชื่อ, ศาสนา, ความยึดมั่น |
fetishism | (n) การเชื่อเครื่องราง, ความเชื่อทางไสยศาสตร์ |
idea | (n) ความคิด, ความคิดเห็น, มโนคติ, ความเชื่อ |
inertia | (n) ความเชื่องช้า, ความเฉื่อย, ความเกียจคร้าน |
meekness | (n) ความอ่อนโยน, ความสุภาพ, ความเชื่อง, ความว่าง่าย |
monotheism | (n) ความเชื่อว่ามีพระเจ้าองค์เดียว |
mystic | (adj) ลึกลับ, เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา, เกี่ยวกับอาคม, เกี่ยวกับเวทมนตร์ |
mystical | (adj) ลึกลับ, เกี่ยวกับความเชื่อทางศาสนา, เกี่ยวกับอาคม, เกี่ยวกับเวทมนตร์ |
mysticism | (n) ความเชื่อทางศาสนา, ความเชื่อทางไสยศาสตร์ |
naivete | (n) ความเชื่อง, ความซื่อ, ความไร้เดียงสา |
notion | (n) ความคิดเห็น, ความนึกคิด, ความเชื่อ, สิ่งประดิษฐ์ |
orthodoxy | (n) ความเชื่อมั่นในศาสนา, ความเชื่อดั้งเดิม |
polytheism | (n) ความเชื่อในพระเจ้าหลายองค์ |
reliability | (n) ความเชื่อมั่น, ความไว้วางใจ |
reliance | (n) ความเชื่อมั่น, ความไว้วางใจ, ความเชื่อถือ |
SELF-self-confidence | (n) ความมั่นใจในตัวเอง, ความเชื่อมั่นในตัวเอง |
SELF-self-reliance | (n) ความเชื่อมั่นในตัวเอง, ความไว้ใจตัวเอง |
sloth | (n) ความเชื่องช้า, ความเกียจคร้าน, ความเฉื่อยชา |
spirituality | (n) ความเชื่อเรื่องจิตและวิญญาณ |
superstition | (n) ความเชื่อเรื่องผีสาง, ความเชื่อโชคลาง |
tardiness | (n) ความเชื่องช้า, เครื่องถ่วง, ความเฉื่อย, การลังเล |
tenet | (n) หลักการ, คำสอน, ความเชื่อ, ข้อคิดเห็น, ทฤษฎี |
theorem | (n) ทฤษฎี, บทพิสูจน์, หลักเกณฑ์, สูตร, ความเชื่อ, ความคิดเห็น |
trust | (n) ความไว้ใจ, การให้เชื่อ, ความเชื่อถือ, ความรับผิดชอบ, สินเชื่อ, ของฝาก |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Adam | [อาดัม] (n) อาดัม เป็นชื่อชายคนแรกของโลกที่พระเจ้าทรงสร้างมาตามความเชื่อของศาสนาคริสต |
Beltane | (uniq) เทศกาลเฉลิมฉลอง หนึ่งใน เทศกาลแห่งเปลวเพลิง ซึ่งรับทอดมาจากศาสตร์เซลติกโบราณ ซึ่งนิยมจะเฉลิมฉลองกันในยามค่ำคืน เพแกนจะขี่เหล่าปศุสัตว์ระหว่างกองไฟซึ่งก่อ ณ กลางแจ้ง ทั้งสองกอง เป็นความเชื่อว่าจะปกป้องพวกเขาจากโรคร้าย ส่วนคู่หนุ่มสาวที่ปราถณาจะมีชีวิตคู่ที่ชุ่มชื่นก็จะ "กระโดดเหนือกองไฟ" ในคืน Beltane |
cross | [ครอส] (n) ไม้กางเขน เป็นไม้กางเขน ที่ทหารโรมันตรึงพระเยซู ตามความเชื่อของศาสนาคริสต |
doxastic | [ด็อกซาติค (dɒksˈæstɪk)] (adj) 1. ของความเชื่อ, เกี่ยวข้องกับความเชื่อ 2. เป็นสาขาหนึ่งของตรรกศาสตร์อัญรูปที่ศึกษามโนทัศน์เกี่ยวความเชื่อ หรือ 1. of or relating to belief 2. denoting the branch of modal logic that studies the concept of belief |
Eve | [อิฟ] (n) เอวา ชื่อพู้หญิงคนแรกของโลก ที่พระเจ้า้้้้้้ทรงสร้างมา โดยกระดูกซิ่โครงของอาดัมตามความเชื่อของศาสนาคริสต |
fundamentalist | [げんりしゅぎしゃ] (n) ผู้คนที่ยึดถือหลักความเชื่อดั้งเดิมของคริสต์ศาสนา |
gamadeva | [Ga-Ma-De-Va] (n) กามเทพ ในความเชื่อของชาวฮินดู |
Goddism | (n) ศาสนาที่รักเทิดทูน, ศาสนาเเห่งความรักของพระเจ้ากับมนุษยชาติ, ลัทธิความเชื่อที่เกี่ยวกับความรักของพระเจ้า |
humoralism | (n) ความเชื่อของแพทย์โรมันว่าความป่วยของร่างกายคนมาจากการเสียสมดุลของของเหลวสี่อย่างในร่างกาย |
Lucifer | [ลูซิเฟอร] (n) ลูซีเฟอร หรือซาตาน เป็นคนที่ก่อเหตชั่วร้ายให้กับมนุษย์ เป็นบิคาแห่งความชั่ว ตามความเชื่อศาสนาคริสต มันมีหลายชื่อ เช่น ดาวประจำกลางวัน มาร พญามาร งูดึกดำบรรณ ซาตาน |
overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
presupposition | (n) ความเชื่อพื้นฐาน |
slowness | [สโลว์เนส] (n) ความเชื่องช้า |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
Longdo Approved JP-TH
信念 | [しんねん, shinnen] (n) ความเชื่อ, Syn. 信じる |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
遅滞 | [ちたい, chitai] ความเชื่องช้า |
確信 | [かくしん, kakushin] ความเชื่อมั่น、ความไว้เนื้อเชื่อใจ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0621 seconds, cache age: 6.541 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม