194 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความเข้าใจ*
ภาษา
หรือค้นหา: ความเข้าใจ, -ความเข้าใจ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความเข้าใจ | (n) understanding, See also: comprehension, Syn. ความรู้ความเข้าใจ, Example: ครูขอให้นักเรียนทุกคนกลับไปทำความเข้าใจกับวิชานี้ใหม่ |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ทำความเข้าใจ | (v) try to understand, See also: endeavour to grasp, Example: เรื่องเพศเป็นเรื่องใหญ่ที่ต้องทำความเข้าใจให้ถูกต้อง, Thai Definition: พยายามเข้าใจความหมายของสิ่งนั้น |
ความเข้าใจผิด | (n) misunderstanding, See also: misleading, misinterpretation, Syn. ความเข้าใจพลาด, Example: มีความเข้าใจผิดระหว่างพ่อกับแม่ในเรื่องของการเงินที่ใช้จ่ายภายในบ้าน |
ปรับความเข้าใจ | (v) reconcile, See also: negotiate for mutual understanding, adjust differences, come to an understanding, Example: สถานการณ์เริ่มดีขึ้นเมื่อสองฝ่ายยอมปรับความเข้าใจกัน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ความรู้ | ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ เช่น ผู้ชายคนนี้เก่ง แต่ไม่มีความรู้เรื่องผู้หญิง. |
จันทรคราส | (-คฺราด) น. “การกลืนดวงจันทร์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงจันทร์, จันทรุปราคา ก็เรียก. |
จับเข่าคุยกัน, จับหัวเข่าพูด | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. |
จับหัวเข่าพูด, จับเข่าคุยกัน | ก. พูดปรับความเข้าใจกันอย่างใกล้ชิด. |
จุดบอด | น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้. |
ซ้อม ๒ | ก. ทำทดลองเพื่อให้ชำนาญหรือให้แน่นอน เช่น ซ้อมรบ ซ้อมความเข้าใจ ซ้อมละคร. |
ธรรมปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ประชาสัมพันธ์ | ก. ติดต่อสื่อสารเพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันถูกต้องต่อกัน. |
ฝึก | ก. ทำ (เช่นบอก แสดง หรือปฏิบัติ เป็นต้น) เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น ฝึกทหาร ฝึกกายบริหาร ฝึกงาน. |
โพธ | (โพด) น. ความรู้, ความเข้าใจ, ความฉลาด. (ป., ส.). |
ภาพพจน์ | (พาบพด) น. ถ้อยคำที่เป็นสำนวนโวหารทำให้นึกเห็นเป็นภาพ, ถ้อยคำที่เรียบเรียงอย่างมีชั้นเชิงเป็นโวหาร มีเจตนาให้มีประสิทธิผลต่อความคิด ความเข้าใจ ให้จินตนาการและถ่ายทอดอารมณ์ได้อย่างกว้างขวางลึกซึ้งกว่าการบอกเล่าที่ตรงไปตรงมา. |
มนุษยสัมพันธ์ | (มะนุดสะยะ-, มะนุดสำพัน) น. ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน. |
มุติ | (มุ-ติ) น. ความรู้สึก, ความเห็น, ความเข้าใจ. |
เรียน ๑ | ก. เข้ารับความรู้จากผู้สอน, รับการฝึกฝนอบรมเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจหรือความชำนาญ, เช่น เรียนหนังสือ เรียนวิชาความรู้, ฝึกให้เกิดความรู้ความเข้าใจจนเป็นหรือมีความชำนาญ เช่น เขาเรียนแก้พัดลมด้วยตนเอง |
วิจักษ์ | น. ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของศิลปกรรมและวรรณกรรม, ความนิยม, ความซาบซึ้ง, เช่น วรรณคดีวิจักษ์. |
วิชานนะ | น. ความรู้, ความเข้าใจ. |
สุนทรียภาพ | (-ทะรียะ) น. ความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะที่แต่ละบุคคลสามารถเข้าใจและรู้สึกได้, ความเข้าใจและรู้สึกของแต่ละบุคคลที่มีต่อความงามในธรรมชาติหรืองานศิลปะ. |
สุริยคราส, สูรยคราส | (สุริยะคฺราด, สูระยะคฺราด) น. “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก. |
สูรยคราส, สุริยคราส | น. “การกลืนดวงอาทิตย์” ตามความเข้าใจของคนโบราณที่เชื่อว่าพระราหูอมดวงอาทิตย์, สุริยุปราคา ก็เรียก. |
อรรถปฏิสัมภิทา | (อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
asymbolia | ภาวะเสียความเข้าใจสื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
quidproquo | ความเข้าใจผิด [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
commonsense understanding | ความเข้าใจแบบสามัญสำนึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
comprehension | ความเข้าใจซึ้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
understanding, commonsense | ความเข้าใจแบบสามัญสำนึก [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Comprehension (Theory of knowledge) | ความเข้าใจ (ทฤษฎีความรู้) [TU Subject Heading] |
Listening comprehension | ความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] |
Listening comprehension tests | การทดสอบความเข้าใจในการฟัง [TU Subject Heading] |
Reading comprehension | ความเข้าใจในการอ่าน [TU Subject Heading] |
APEC Study Centers | ศูนย์ศึกษาเอเปค มีการจัดตั้งศูนย์ศึกษาเอเปคในแต่ละประเทศสมาชิก 15 ประเทศ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาคด้วยการ ศึกษา การพัฒนาฝีมือแรงงาน และอำนวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนความรู้และวัฒนธรรม ตลอดจนส่งเสริมความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างสมาชิกเอเปคในภูมิภาค ทั้งนี้ ศูนย์ศึกษาเอเปคได้มีบทบาทสำคัญในกิจกรรมต่าง ๆ ของประเทศสมาชิก เช่น กิจกรรมการประเมินผลการดำเนินความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการของเอเปค เป็นต้น [การทูต] |
Diplomatist หรือ Diplomat | ใช้กับราชการทุกคนที่ประจำทำงานในด้านทางการทูต ไม่ว่าจะประจำอยู่ในกระทรวงการต่างประเทศ หรือในราชการต่างประเทศ คือ ในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล หรือในสำนักงานทางทูตอื่นๆในทรรศนะของ เซอร์แฮโรลด์ นิโคลสัน นักการทูตยอดเยี่ยมคนหนึ่งของอังกฤษ ได้ระบุไว้ว่า นักการทูตหรือ Diplomat จะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติดังต่อไปนี้ คือ ยึดถือความเป็นจริง มีความแม่นยำ สงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น อารมณ์ดี มีความสงบเสงี่ยมและมีความจงรักภักดี ทั้งยังจะต้องเป็นผู้ที่มีสติปัญญา มีความรู้ มองเห็นการณ์ไกล มีความสุขุมรอบคอบ ใจดีกับแขกและผู้แปลกหน้า มีเสน่ห์ มีความอุตสาหะวิริยะ มีความกล้า และมีปฏิภาณในทำนองเดียวกัน Francoise de Callieres (1645-1717) นักการทูตชั้นเยี่ยมของฝรั่งเศส ซึ่งเคยเป็นเอกอัครราชทูตประจำโปแลนด์ ซาวอย ฮอลแลนด์ บาวาเรีย และลอเรน ได้เขียนหนังสือไว้เล่มหนึ่งชื่อว่า De la miniere avec les souverains เป็นเรื่องเกี่ยวกับวิธีการเจรจาทางการทูต ซึ่งจนถึงปัจจุบันยังเป็นที่รับรองกันทั่วไปว่าเป็นหนังสือที่ดีเยี่ยมเล่ม หนึ่ง หรือเป็นจินตกวีนิพนธ์เรื่องการดำเนินการทูตกับเจ้าผู้ครองนคร (Princes) สมัยนั้นCallieres ได้วางมาตรฐานของนักการทูตไว้สูงมากเพราะเขาเห็นว่า ไม่มีงานราชการใด ๆ ที่จะยากยิ่งไปกว่าการเจรจา ในการเจรจานั้น ผู้เจรจาจะต้องสามารถมองเห็นเหตุการณ์ทะลุปรุโปร่ง หรือมีสติปัญญาเฉียบแหลม มีความคล่องแคล่วกระฉับกระเฉง มีความละมุนละไม มีความรอบรู้และความเข้าใจอย่างกว้างขวาง ตลอดจนข้อสำคัญที่สุด ต้องเป็นผู้มีความสุขุมคัมภีรภาพ สามารถมองเห็นการณ์ไกลชนิดเจาะลึกทีเดียว นอกจากนี้ จะต้องเป็นผู้มีอารมณ์ขันอย่างสม่ำเสมอ ไม่โกรธง่าย มีจิตใจสงบเยือกเย็น มีความอดกลั้น พร้อมเสมอที่จะรับฟังทุกคนที่เขาพบด้วยความตั้งอกตั้งใจ พูดจาอย่างเปิดเผย และมีอารมณ์ร่าเริงไม่หน้าเง้าหน้างอ มีอัธยาศัยไมตรี รวมทั้งมีกิริยาท่าทางเป็นที่ต้องตาต้องใจกับทุกคน ในฐานะนักเจรจา (Negotiator) นักการทูตจะต้องมีคุณลักษณะและคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้เป็นอย่างน้อย เนื่องจากมีการเจรจาเป็นหน้าที่สำคัญที่สุดของนักการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Memorandum of Understanding | บันทึกความเข้าใจ ในทางปฏิบัติระหว่างประเทศถือเป็นสนธิสัญญาชนิดหนึ่ง [การทูต] |
Public Diplomacy | การทูตสาธารณะ หมายถึง การดำเนินการทางการทูตแบบหนึ่งเพื่อโน้มน้าวชักจูงให้สาธารณชนและกลุ่มเป้า หมายและกลุ่มผลประโยชน์ต่าง ๆ ในต่างประเทศที่มีบทบาทสำคัญต่อการตัดสินใจของรัฐให้มีความชื่นชมและเข้าใจ ถึงแนวทางการดำเนินนโยบายต่างประเทศของประเทศใคประเทศหนึ่ง ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความสัมพันธ์ระดับประชาชนให้มีความใกล้ชิดแน่นแฟ้น และประสบผลสำเร็จอน่างแนบเนียน โดยจะมี ความแตกต่างจากการดำเนินการทางการทูตแบบดั้งเดิม ที่เน้นการสื่อสารระหว่างรัฐต่อรัฐ(Government to Government)แต่การทูตสาธารณะจะเน้นวิธีการดำเนินความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับ ประชาชน( Government to People) ภาคเอกชน ประชาสังคม หรือสื่อมวลชนในต่างประเทศหรือระหว่าประชาชนด้วยกันเอง อนึ่ง การทูตวัฒนธรรม (Cultural Diplomacy) ที่ใช้วัฒนธรรมเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจอันดีระหว่างประชาชนนั้น ถือเป็นเครื่องมือหนึ่งของการดำเนินการทางการทูตสู่สาธารณชนนี้ [การทูต] |
Southeast Asia Fund for Institutional and Legal Development | กองทุนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อการพัฒนาสถาบันและกฎหมาย ไทยและแคนาดาได้จัดทำร่างบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน เพื่อจัดตั้งสำนักงานกองทุนฯ ในประเทศไทย [การทูต] |
Clarify | ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Cognition | การจดจำวัตถุด้วยการเรียนรู้, การรู้, พุทธิปัญญาความรู้, ความรู้ความเข้าใจสิ่งต่างๆ, การมีความรู้ความเข้าใจ, สติปัญญาความรู้ [การแพทย์] |
Cognitive Function | หน้าที่ทางการรู้, ความรู้ความเข้าใจต่างๆ [การแพทย์] |
Cognitive Orientation | ความรู้ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Comprehension | ความเข้าใจ, ความเข้าใจภาษา, การเข้าใจ, การทำความเข้าใจ [การแพทย์] |
Comprehensive | เบ็ดเสร็จ, ความเข้าใจ [การแพทย์] |
Concept, Modern | ความเข้าใจสิ่งที่ยอมรับในปัจจุบัน [การแพทย์] |
Dyslexis | เกิดความเข้าใจยาก [การแพทย์] |
Education, Formal or Nonformal | ความรู้ความเข้าใจไม่ว่าทางการหรือไม่เป็นทางการ [การแพทย์] |
scientific attitude | เจตคติทางวิทยาศาสตร์, ลักษณะของการคิดและปฏิบัติแบบนักวิทยาศาสตร์ ได้แก่ ความสนใจที่จะคิดและค้นคว้าทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อยู่เสมอ ความละเอียดถี่ถ้วน มานะบากบั่นในการทำงาน ซื่อสัตย์ในการคิดและปฏิบัติ ไม่เชื่อสิ่งใดอย่างง่าย ๆ โดยไม่มีเหตุผล ใจกว้างยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
procedural languages | ภาษาเชิงกระบวนความ, ภาษาโปรแกรมที่มีลักษณะการทำงานตามลำดับของคำสั่งจากคำสั่งแรกจนถึงคำสั่งสุดท้าย และบางคำสั่งอาจจะถูกทำซ้ำ หรือบางคำสั่งอาจจะไม่ถูกกระทำเลย ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในโปรแกรม ภาษาในกลุ่มนี้เหมาะสำหรับการเริ่มต้นทำความเข้าใจกับการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เนื่องจากช่ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Misconcepts | ความเชื่อและความเข้าใจที่ผิด [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความเข้าใจ | [khwām khaojai] (n) EN: understanding ; comprehension FR: compréhension [ f ] |
ปรับความเข้าใจ | [prap khwām khaojai] (v, exp) EN: reconcile ; negotiate for mutual understanding ; adjust differences ; come to an understanding |
ทำความเข้าใจ | [tham khwām khaojai] (v, exp) EN: try to understand ; endeavour to grasp FR: essayer de comprendre |
ทฤษฎีความเข้าใจ | [thritsadī khwām khaojai] (n, exp) EN: cognitive theory |
Longdo Approved EN-TH
homoeopathy | [โฮมีโอพาธี] (n) การบำบัดแบบโฮมีโอพาธีมีแนวคิดหรือปรัชญาพื้นฐานในการทำความเข้าใจร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากระบบการแพทย์แผนปัจจุบันโดยสิ้นเชิง การมองร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วยจะไม่ได้มองเป็นอวัยวะที่แยกส่วนออกจากกัน แต่จะมองร่างกายและจิตใจของผู้ป่วยเป็นภาพรวมเดียวกัน ดังนั้นก่อนที่จะบำบัดผู้ป่วยจะต้องมีการสัมภาษณ์และคุยกับผู้ป่วยในเรื่องของลักษณะทั่วไป บุคลิกภาพ ประวัติทางการแพทย์ของครอบครัว อารมณ์ ความรู้สึกส่วนบุคคลต่อสิ่งแวดล้อม อาหาร อากาศ ฯลฯ รวมทั้งอาการของโรคด้วย นักบำบัด (practitioner) จะต้องนำคำตอบทั้งหมดมาประมวลและสรุปเป็นภาพรวมโดยเรียกว่า “ภาพของอาการ” (symtom picture)ดังนั้นการประเมินประสิทธิภาพของการบำบัดจึงไม่ควรใช้กรอบและแนวคิดของระบบการแพทย์แผนปัจจุบันประเมินแต่เพียงอย่างเดียว ควรมีการศึกษาและทำความเข้าใจแนวคิดพื้นฐานของการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีด้วย โดยสรุปแล้วการบำบัดแบบโฮมีโอพาธีจัดเป็นศาสตร์การรักษาสุขภาพแบบองค์รวมที่เน้นเรื่องการปรับสมดุลสารชีวเคมีและพลังไหลเวียนภายในร่างกาย การให้ยาเป็นไปเพียงเพื่อกระตุ้นให้ร่างกายเกิดการปรับสมดุลด้วยกลไกตามธรรมชาติของร่างกายเอง ไม่ได้มุ่งหมายให้ยาไปขจัดหรือทำลายกลไกของร่างกายหรือสารที่ก่อให้เกิดอาการป่วย รวมทั้งไม่ได้มุ่งหมายที่จะขจัดสิ่งมีชีวิตใด ๆ ออกจากร่างกายด้วย |
data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
apercu | (อะเพอซี') n., (pl. -cus) fr. การมองแวบเดียว, ความเข้าใจลึกซึ้ง, การสรุป |
apprehension | (แอพพริเฮน'เชิน) n. ความสงสัย, ความกลัว, ความหวาดหวั่น, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ความคิดเห็น, การจับกุม, Syn. dread, alarm, capture, comprehension |
cognition | (คอกนิช'เชิน) n. การรับรู้, กระบวนการรับรู้ สิ่งที่เข้าใจหรือรู้, ความรู้ความเข้าใจ., See also: cognitive adj. |
comprehension | (คอมพริเฮน'เชิน) n. ความเข้าใจ, ภาวะที่เข้าใจ, ความสามารถเข้าใจ, ความสามารถในการเรียนรู้, การครอบคลุม, การกินความกว้าง, Syn. perception, grasp |
disillusion | (ดิสอิลู'เชิน) vt.ขจัดสิ่งลวงตาออก, ขจัดความเข้าใจผิดทิ้ง, See also: disillusionment n. |
imbroglio | (อิมโบรล'โย) n. ภาวะยุ่งเหยิง, สถานการณ์ที่ลำบาก, ความเข้าใจผิด, ความไม่ลงรอยกัน, กองที่ยุ่งเหยิง |
imperception | (อิมเพอเซพ' เชิน) n. การไร้ความรู้สึก, อำนาจที่ด้อยลงในการรับความรู้สึก (สำเหนียกได้ยิน, ความเข้าใจ, ความเห็น) ., See also: imperceptive adj. imperceptivity, imperceptiveness n., Syn. blemish, fault |
inapprehensive | (อินแอพพริเฮน' ซิฟว) adj. ขาดความเข้าใจ, ไม่รู้, ไม่ตระหนักถึง., See also: inapprehensiveness n. |
intelligent | (อินเทล'ลิเจินทฺ) adj. มีสติปัญญา, ฉลาด, มีไหวพริบดี, มีความเข้าใจหรือความรู้ดี. adv., Syn. clever |
intimacy | (อิน'ทะมาซี) n. ความคุ้นเคย, ความใกล้ชิด, ความสนิทสนม, ความเข้าใจลึกซึ้ง, ความสนิทสนมในทางเพศ, ความเป็นเรื่องส่วนตัว, Syn. closeness |
intuition | (อินทูอิช'เชิน) n. การรู้โดยสัญชาตญาณ, การรู้โดยความรู้สึกที่เกิดขึ้นเองในใจ, การหยั่งรู้ความเข้าใจอันซาบซึ้ง, ความสามารถในการเข้าใจโดยสัญชาตญาณ, สหัชญาณ., See also: intuitional adj. intuitionly adv., Syn. feeling, sixth se |
ken | (เคน) n. ความรู้, ความเข้าใจ, สายตา vt. รู้, เข้าใจ, ดู, เห็น |
machine language | ภาษาเครื่องหมายถึง ภาษาคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำให้เครื่องรับรู้และเข้าใจได้ เขียนโดยใช้รหัสเลขฐานสองเป็นหลัก (ฉะนั้น จะมีแต่เลข 0 กับ 1 เท่านั้น) คำสั่งแต่ละคำสั่งจะหมายถึงการทำงานอย่างหนึ่ง แต่ละโปรแกรมจึงจะยาวค่อนข้างมาก ผู้ที่เริ่มต้นเรียนคอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ ไม่ควรเรียนการเขียนโปรแกรมด้วยภาษานี้เลย เพราะอาจจะทำให้หมดกำลังใจไปเลย อาจจะพอเปรียบได้ว่า เลขฐานสองนั้นก็เหมือน ๆ กับตัวโน้ต เพลง (ภาษาดนตรีก็เข้าใจยากไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าภาษาเครื่องนี้สักเท่าใดดอก) อย่างไรก็ตาม ก็ต้องทำความเข้าใจไว้เสมอว่า ไม่ว่าเราจะสั่งให้เครื่องทำงานด้วยโปรแกรมภาษาอะไรก็ตาม ตัวแปลโปรแกรม (compiler) ก็จะต้องทำหน้าที่แปลภาษาที่เราใช้ให้เป็นภาษาเครื่องก่อนเสมอ คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจจนสามารถปฏิบัติตามคำสั่ง (execute) นั้น ๆ ได้ |
mastery | (มาส'เทอรี) n. ความเป็นนาย, อำนาจปกครอง, อำนาจควบคุม, ความเข้าใจ, ความรอบรู้, ชัยชนะ, การเรียนรู้, ความเชี่ยวชาญ |
misapprehension | (มิสแอพริเฮน'เชิน) n. ความเข้าใจผิด., See also: misapprehensive adj. |
miscreance | (มิส'ครีเอินซฺ) n. ความเชื่อที่ผิด, ความเข้าใจผิด, ความนอกรีต, ความคิดนอกทาง |
mistake | (มิสเทคฺ') { mistook, mistaken, mistaking, msitakes } n. ความผิดพลาด, ความเข้าใจผิด, ความนึกคิดที่ผิด. v. เข้าใจผิด, ตีความหมายผิด, ประเมินค่าผิด, See also: mistakingly adv., Syn. error, blunder |
misunderstanding | (มิสอันเดอสแทน'ดิง) n. ความเข้าใจผิด, ความไม่สามารถจะเข้าใจได้, ความไม่เห็นด้วย, Syn. mistake |
opacity | (โอแพส'ซิที) n. ความทึบ, ความขุ่นมัว, สิ่งทึบแสงหรือขุ่นมัว, ความเข้าใจยาก, ความมีปัญญาทึบ, Syn. density |
patency | (เพท'ทันซี) n. สภาพของสิทธิบัตร, ความแจ้งชัดความเข้าใจ |
perspicuity | (เพอสพิคิว'อิที) n. ความชัดเจน, ความแจ่มแจ้ง, ความเข้าใจง่าย, Syn. plainness |
picture | (พิค'เชอะ) n. ภาพ, รูปภาพ, ภาพวาด, ภาพถ่าย, แผ่นภาพ, ภาพอันสวย, ภาพยนตร์, ภาพพจน์, ภาพจินตนาการ, จอภาพ, สถานการณ์, ความเข้าใจต่อสถานการณ์ vt. แสดงเป็นภาพ, นึกภาพ, จินตนาการ, นึกหลับตา, พรรณา, ถ่ายเป็นภาพยนตร์ |
self-knowledge | (เซลฟฺนอล'ลิจฺ) n. การรู้จักตัวเอง, ความเข้าใจในตัวเอง |
simplicity | (ซิมพลิส'ซิที) n. ความง่าย ๆ , ความเรียบ ๆ , ความไม่สลับซับซ้อน, ความเข้าใจได้ง่าย, ความชัดเจน, ความตรงไปตรงมา, ความมีใจซื่อ, ความจริงใจ, ความไม่มีใจคิดโกง, ความไม่หรูหรา, ความไม่มีอะไร, ความด้อยปัญญาหรือประสบการณ์, Syn. easiness |
trancendence | (แทรน'เซนเดินซฺ, -ซี) n. การอยู่เหนือ, การอยู่นอกเหนือ, การมีชัย, การเหนือความเข้าใจ, การอยู่เหนือความเข้าใจ, See also: transcendent adj. |
transcendency | (แทรน'เซนเดินซฺ, -ซี) n. การอยู่เหนือ, การอยู่นอกเหนือ, การมีชัย, การเหนือความเข้าใจ, การอยู่เหนือความเข้าใจ, See also: transcendent adj. |
understanding | (อันเดอะสแทน'ดิง) n., adj. (เกี่ยวกับ) ความเข้าใจ, การเข้าใจ, ความสามารถในการเข้าใจ, สติปัญญา, ความรู้, เชาวน์, ความเห็นอกเห็นใจ, See also: understandingly adv. understandingness n., Syn. intelligence, intellect, agreement |
uptake | (อัพ'เทค) n. ความเข้าใจ, การหยิบขึ้น, การยกขึ้น, ที่ดูด, การดูด, ทางขึ้นของควัน, ช่องขึ้นของลม., Syn. understanding |
Nontri Dictionary
apperception | (n) ความเข้าใจ, สติสัมปชัญญะ |
apprehension | (n) การจับกุม, ความเข้าใจ, ความหวาดหวั่น, ความเกรงกลัว |
cognition | (n) ความรู้ความเข้าใจ, ญาณ |
comprehension | (n) ความเข้าใจ, การหยั่งรู้ |
comprehensive | (adj) เกี่ยวกับความเข้าใจ, กินวงกว้าง, กว้างขวาง, ครอบคลุม |
deception | (n) ความหลอกลวง, การตบตา, ความเข้าใจผิด, เล่ห์เพทุบาย, การต้มตุ๋น |
delusion | (n) การหลอกลวง, การตบตา, โมหันธ์, ภาพลวงตา, ความเข้าใจผิด |
imbroglio | (n) ความยุ่งยาก, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความเข้าใจผิด |
knowledge | (n) ความรู้, ความเข้าใจ, ความรู้จัก |
misapprehension | (n) ความเข้าใจผิด |
misconception | (n) ความเข้าใจผิด, ความเห็นผิด |
misunderstanding | (n) ความเข้าใจผิด, การตีความผิด |
perception | (n) การสังเกตเห็น, การได้ยิน, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ญาณ |
perspicuity | (n) ความชัดแจ้ง, ความแจ่มแจ้ง, ความเข้าใจง่าย |
sense | (n) ความรู้สึก, ไหวพริบ, ความเข้าใจ, ประสาทสัมผัส, สติปัญญา, เหตุผล |
understanding | (n) ความเข้าใจ, ปัญญา, เชาวน์, สมอง |
wit | (n) ความเข้าใจ, เชาวน์, ปัญญา, ไหวพริบ, ความหลักแหลม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
empathic | (adj) ความเข้าใจความรู้สึกของคนอื่น |
image schema | ภาพร่าง -- เป็นความเข้าใจพื้นฐานที่เราสร้างขึ้นจากประสบการณ์การรับรู้ที่ผ่านมา |
Inclusive Education | (n) การศึกษาแบบเรียนร่วม การจัดการศึกษาให้กับกลุ่มบุคคลที่มีความต้องการพิเศษ เช่น คนพิการ คนด้อยโอกาส คนไร้สัญชาติ คนอพยพ โดยคำนึงถึงการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ในโรงเรียน หรือระบบการศึกษาแบบปกติ มีจุดมุงหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ และการยอมรับความแตกต่าง ความสามารถระหว่างบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเอง และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างปกติสุข |
mou | (phrase, abbrev) Memorandum Of Understand - ขอทำบันทึกความเข้าใจ |
Longdo Approved JP-TH
了解 | [りょうかい, ryoukai] (n) ความเข้าใจ, ความยินยอม เช่น 了解しました เข้าใจแล้วครับ, ตกลงตามนั้น |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
バラツキ | [ばらつき, baratsuki] (n) ความแตกต่าง(ด้านความสามารถ, ไหวพริบ, ความเข้าใจ) |
捕捉 | [ほそく, hosoku] (n, vt) 1.การจับ, การจับกุม 2.การจับใจข้อความ, การทำความเข้าใจ |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Weltanschauung { f } | ความเข้าใจในการมองโลกและชีวติมนุษย์ |
Longdo Approved FR-TH
entendement | (n) le, (compréhension)ความเข้าใจ , (intelligance)ความมีไหวพริบ |
d'accord | (phrase) ตกลง, เห็นด้วย, โอเค (เป็นวลีที่ใช้บ่งแสดงความเห็นพ้องหรือความเข้าใจ) |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0902 seconds, cache age: 3.565 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม