232 ผลลัพธ์ สำหรับ *ข้อเท็จจริง*
ภาษา
หรือค้นหา: ข้อเท็จจริง, -ข้อเท็จจริง-Longdo TH - TH
อย่ามโน | [อย่า-มะ-โน] (ประโยคคำสั่ง) ไม่จินตนาการ หรือคิดเอง โดยปราศจากข้อเท็จจริง |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ข้อเท็จจริง | (n) fact, See also: truth, evidence, matters of fact, Syn. ความจริง, ความเป็นจริง, ข้อสรุป, ข้อพิสูจน์, Example: การประเมินผลต้องดูว่าผู้พูดมองข้อเท็จจริงจากไหน, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: ข้อความหรือเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือที่เป็นอยู่ตามจริง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อเท็จจริง | น. ข้อความหรือเหตุการณ์ที่เป็นมาหรือที่เป็นอยู่ตามจริง |
ข้อเท็จจริง | เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับเหตุการณ์ พฤติกรรม หรือสิ่งใด ๆ ที่เกิดขึ้น ที่มีอยู่ หรือที่เป็นไป. |
กฎหมายปิดปาก | น. หลักกฎหมายที่ไม่ยอมให้อ้างหรือพิสูจน์ข้อเท็จจริงให้ผิดไปจากข้อเท็จจริงที่ปรากฏตามพฤติการณ์ ไม่ว่าข้อเท็จจริงที่ปรากฏนั้นจะเป็นจริงหรือไม่ก็ตาม. |
กระทู้ถาม | น. คำถามในข้อเท็จจริงหรือนโยบายที่สมาชิกสภาที่ทำหน้าที่นิติบัญญัติตั้งถามฝ่ายบริหารให้ตอบในที่ประชุมแห่งสภานั้น ๆ หรือตอบเป็นหนังสือ. |
ข้อกฎหมาย | น. เรื่องหรือประเด็นที่เกี่ยวกับกฎหมาย เช่น ความหมายของบทบัญญัติของกฎหมาย ผลบังคับของกฎหมาย หรือการปรับใช้ข้อเท็จจริงที่ยุติแล้วเข้ากับบทบัญญัติของกฎหมาย. |
ข้อมูล | น. ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ. |
ข้อมูลข่าวสาร | น. สิ่งที่สื่อความหมายให้รู้เรื่องราวข้อเท็จจริง ข้อมูล หรือสิ่งใด ๆ. |
ข้อมูลเครดิต | น. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อกับสถาบันการเงิน และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติการได้รับอนุมัติสินเชื่อและการชำระสินเชื่อ. |
ชันสูตร | (ชันนะสูด) ก. ตรวจสอบเพื่อหาสาเหตุหรือหลักฐานข้อเท็จจริง เช่น ชันสูตรบาดแผล ชันสูตรพลิกศพ, สอบสวนโดยเหตุผล. |
ตรวจสอบ | ก. ตรวจเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง เช่น ตำรวจไปตรวจสอบหาหลักฐานในสถานที่เกิดเหตุ. |
ตระลาการ | (ตฺระ-) น. ตำแหน่งเจ้าพนักงานหรือเจ้าหน้าที่ศาล มีหน้าที่ชำระชี้ขาดข้อเท็จจริงในคดีความ เช่น ให้ผู้เปนตระลาการไต่สวนผู้เปนสักขิญานรู้เหน (สามดวง), กระลาการ ก็เรียก. |
ตามเนื้อผ้า | ว. ตามที่ปรากฏ เช่น เทศน์ตามเนื้อผ้า, ตามข้อเท็จจริง เช่น ว่าไปตามเนื้อผ้า. |
ไต่สวน | ก. สอบสวนข้อเท็จจริงเพื่อวินิจฉัยว่าถูกต้องหรือไม่. |
แถลงการณ์ | น. รูปแบบของการแจ้ง หรือบอกกล่าวข้อเท็จจริง หรือเรื่องราวที่ทางราชการประสงค์จะให้ประชาชนได้ทราบเป็นการทั่วไป. |
แถลงปิดคดี | ก. การที่โจทย์และจำเลยแถลงด้วยปากหรือหนังสือ หรือทั้ง ๒ อย่างเมื่อสืบพยานจำเลยเสร็จแล้ว เพื่อสรุปประเด็นข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายต่อศาลก่อนมีคำพิพากษา. |
แถลงเปิดคดี | ก. การที่โจทย์แถลงถึงลักษณะของฟ้อง อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะนำสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลย หรือการที่จำเลยแถลงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายซึ่งตั้งใจอ้างอิงพร้อมทั้งแสดงพยานหลักฐานที่จะนำสืบ. |
นำสืบ | ก. นำพยานหลักฐานมาแสดงต่อศาลเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่กล่าวอ้าง. |
นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. |
นิติเวชศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการใช้หลักทางการแพทย์ช่วยแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. |
บทเฉพาะกาล | น. บทบัญญัติของกฎหมายที่บัญญัติเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้บังคับกฎหมายใหม่ที่มีต่อกรณีที่เกิดขึ้นก่อนกฎหมายใหม่ใช้บังคับ หรือวิธีดำเนินการกับกรณีข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก่อนหรือในวันใช้บังคับกฎหมายใหม่ หรือที่เกิดขึ้นในระยะเวลาที่กำหนดภายหลังจากที่กฎหมายใหม่ใช้บังคับแล้ว. |
บริษัทข้อมูลเครดิต | น.บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการเกี่ยวกับการควบคุมหรือการประมวลผลข้อเท็จจริงเกี่ยวกับลูกค้าที่ขอสินเชื่อ เพื่อให้ข้อมูลแก่สมาชิกหรือผู้ใช้บริการ. |
บิดเบือน | ก. ทำให้ผิดแผกไปจากเดิมหรือจากข้อเท็จจริง. |
ใบสำคัญ | น. เอกสารที่รับรองข้อเท็จจริง ความถูกต้อง หรือสิทธิ. |
ปฏิบัติการ | ว. ที่ทดลองเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงตามทฤษฎีหรือฝึกงานเพื่อให้เกิดความชำนาญเป็นต้น เช่น ห้องปฏิบัติการ. |
ปฏิเสธ | ก. ไม่รับ, ไม่ยอมรับ, เช่น ปฏิเสธการเชิญ, ไม่ยอมรับข้อเท็จจริง เช่น ปฏิเสธข้อกล่าวหา |
ประเด็น | ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอันเป็นสาระสำคัญที่มีการยกขึ้นเป็นข้ออ้างในคดี. |
ปากแข็ง | ว. พูดยืนยันหรือเถียงอย่างดื้อดันไม่ยอมจำนนข้อเท็จจริง. |
ปิดสำนวน | ก. ยุติการสอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดี. |
เปิดคดี | ก. การที่โจทก์หรือจำเลยแถลงต่อศาลถึงข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมาย อีกทั้งพยานหลักฐานที่จะอ้างอิงก่อนที่จะนำพยานเข้าสืบ. |
ผู้ตรวจการแผ่นดิน | น. องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ มีหน้าที่สอบสวนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือปฏิบัตินอกเหนืออำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย หรือการละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ของรัฐหรือหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งอำนาจหน้าที่ในการเสนอเรื่องต่อศาลปกครองหรือศาลรัฐธรรมนูญเมื่อเห็นว่ากฎหมาย กฎ ข้อบังคับ หรือการกระทำใดของบุคคลใดมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ. |
พยาน | (พะยาน) น. หลักฐานเครื่องพิสูจน์ข้อเท็จจริง, ผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์หรือข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นหลักฐานเครื่องพิสูจน์ได้. |
พยานบุคคล | น. บุคคลซึ่งรู้ข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับคดีไม่ว่าจะรู้โดยวิธีใด ซึ่งอาจเป็นประจักษ์พยาน หรือพยานบอกเล่า ก็ได้. |
พยานแวดล้อมกรณี | น. พยานหลักฐานทางอ้อมที่อนุมานมาจากพฤติการณ์ต่าง ๆ เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอันเป็นประเด็นโดยตรง. |
พยานหลักฐาน | น. ในทางแพ่งหมายถึง สิ่งที่จะนำมาใช้ในการวินิจฉัยข้อเท็จจริง ในทางอาญาหมายถึง สิ่งที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยหรือผู้ต้องหามีความผิดหรือบริสุทธิ์. |
พฤตินัย | น. ความหมายตามข้อเท็จจริง (ล. de facto), ต่างกับ นิตินัย คือ ความหมายตามกฎหมาย (ล. de jure). |
มูลกรณี | น. เหตุแห่งเรื่อง, ข้อเท็จจริงแห่งเรื่อง. |
มูลคดี | ข้อเท็จจริงแห่งคดี. |
ยันกัน | ก. พิสูจน์ต่อหน้าให้รู้ข้อเท็จจริง เช่น เอาพยานมายันกัน, สอบข้อมูลหรือรายการให้ตรงกัน เช่น เอาบัญชีมายันกัน. |
เรื่อง | น. ภาวะหรือเนื้อหาของสิ่งซึ่งเนื่องกับข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ เช่น เรื่องประวัติศาสตร์ เรื่องการเมือง เรื่องเศรษฐกิจ |
ลูกขุน ณ ศาลหลวง, ลูกขุนศาลหลวง | น. คณะผู้พิพากษามีหน้าที่ตัดสินคดี โดยชี้ขาดข้อกฎหมาย หลังจากที่ตระลาการพิจารณาคดีชี้ขาดข้อเท็จจริงแล้ว, บางทีเขียนเป็น ลูกขุน ณ สานหลวง หรือ ลูกขุน ณ สารหลวง ก็มี. |
สงสัย | ก. ไม่แน่ใจในข้อเท็จจริง เช่น สงสัยว่าทำดีจะได้ดีจริงหรือ, ลังเล เช่น เมื่อเดินไปถึงทาง ๒ แพร่ง สงสัยว่าจะไปทางไหนจึงจะถูก |
สอบ ๑ | ก. ตรวจ ทดลอง เปรียบเทียบ หรือไล่เลียง เพื่อหาข้อเท็จจริง หรือวัดให้รู้ว่ามีความรู้หรือความสามารถแค่ไหน เช่น สอบตาชั่งให้ได้มาตรฐาน สอบราคาสินค้า สอบปากคำผู้ต้องหา สอบพิมพ์ดีด. |
สอบพยาน | ก. ซักถามพยานเพื่อหาข้อเท็จจริง. |
สอบสวน | ก. รวบรวมพยานหลักฐานและดำเนินการอย่างอื่นซึ่งพนักงานสอบสวนได้ทำไปเกี่ยวกับความผิดที่กล่าวหา เพื่อที่จะทราบข้อเท็จจริงหรือพิสูจน์ความผิด และเพื่อจะเอาตัวผู้กระทำผิดมาฟ้องลงโทษ. |
สืบ ๒ | ก. เสาะหา, แสวงหา, เช่น สืบความลับ สืบข้อเท็จจริง สืบข่าว. |
สืบสวน | ก. แสวงหาข้อเท็จจริงและหลักฐานซึ่งพนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจได้ปฏิบัติไปตามอำนาจและหน้าที่ เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน และเพื่อที่จะทราบรายละเอียดแห่งความผิด. |
สืบเสาะและพินิจ | น. การค้นหาและรวบรวมข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคลและนำมาวิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์ จิตวิทยา กฎหมาย และหลักวิชาการอื่นที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น. |
หน้าที่นำสืบ | น. หน้าที่ของคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งที่จะต้องพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่ตนกล่าวอ้าง. |
เหตุในลักษณะคดี | น. ข้อเท็จจริงอันเป็นเหตุที่เกี่ยวกับการกระทำความผิด ซึ่งมิใช่เหตุส่วนตัวเฉพาะผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่ง แต่เป็นเหตุที่เป็นคุณหรือเป็นโทษแก่ผู้กระทำความผิดนั้นด้วยกันทุกคน เช่น ข้อเท็จจริงที่ว่าลักษณะบาดแผลที่ถูกทำร้ายเป็นอันตรายแก่กายถึงสาหัสหรือไม่สาหัส. |
เหตุส่วนตัว | น. ข้อเท็จจริงอันเกี่ยวกับผู้กระทำความผิดคนใดคนหนึ่งอันควรยกเว้นโทษ ลดโทษ หรือเพิ่มโทษแก่ผู้กระทำความผิดเฉพาะคนนั้น เช่น เหตุที่ผู้กระทำความผิดเป็นผู้เยาว์. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
probative facts | ข้อเท็จจริงในประเด็น (ที่ใช้พิสูจน์ได้) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
post facto (L.) | ตามข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
primary fact | ข้อเท็จจริงชั้นต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
probe | การสอบหาข้อเท็จจริง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
physical fact | ข้อเท็จจริงที่ปรากฏ, ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
recall a judgment | กลับคำพิพากษา, พิพากษากลับ (โดยอาศัยข้อเท็จจริง) [ ดู reverse a judgment ประกอบ ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relevant fact | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู evidential fact ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
representation | ๑. การเป็นผู้แทน๒. การชี้แจงข้อเท็จจริง, การแถลงข้อความจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
similar facts | ข้อเท็จจริงอย่างเดียวกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
statement of facts | คำแถลงข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
admissions | การยอมรับ (ข้อเท็จจริง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
affirmative, the | คำยืนยันข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
juror | ลูกขุน (ผู้ชี้ขาดปัญหาข้อเท็จจริง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder in issue | การยอมรับข้อเท็จจริงของอีกฝ่ายหนึ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
joinder in pleading | การยอมรับข้อเท็จจริงร่วมกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
question of fact | ปัญหาข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mediate data | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
minor fact | ข้อเท็จจริงแวดล้อมกรณี [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mistake of fact | ความสำคัญผิดในข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collusive action | คดีที่สมมุติข้อเท็จจริง (เพื่อให้ศาลวินิจฉัยข้อกฎหมาย) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conclusion of fact | การสรุปตามข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collateral fact | ข้อเท็จจริงที่ใกล้เคียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
diligent inquiry | การสอบสวนอย่างหนักหน่วง (เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริงอย่างสมบูรณ์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact | ข้อเท็จจริง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact | ข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact | ข้อเท็จจริง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
fact in issue | ข้อเท็จจริงในประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
finding | ผลการวินิจฉัยข้อเท็จจริง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
finding | คำวินิจฉัยข้อเท็จจริงของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factum (L.) | ๑. ข้อเท็จจริง๒. การกระทำ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factum probandum (L.) | ข้อเท็จจริงที่ต้องพิสูจน์ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factum probans | ข้อเท็จจริงที่ใช้เป็นหลักฐาน (เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fatal variance | ความแตกต่างในข้อเท็จจริงที่สำคัญ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fabricated fact | ข้อเท็จจริงที่แต่งขึ้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact question | ปัญหาข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, evidential; fact, relevant | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, irrelevant | ข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, primary | ข้อเท็จจริงชั้นต้น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact, relevant; fact, evidential | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact-finder | ผู้สืบสวนข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fact-finding board | คณะกรรมการสืบสวนข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ex post facto | ภายหลังเหตุการณ์, ภายหลังข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
evidential fact | ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด็น [ ดู relevant fact ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
error in fact | ความผิดพลาดในข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
immaterial facts | ข้อเท็จจริงที่ไม่เป็นสาระ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
in fact | โดยพฤตินัย, ตามข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorance of the fact | ความไม่รู้ข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ignorantia facti excusat (L.) | ความไม่รู้ข้อเท็จจริงเป็นข้อแก้ตัวได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
issue of fact | ประเด็นข้อเท็จจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
inference | การอนุมาน (จากข้อเท็จจริง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Fact finding mission | คณะผู้แทนค้นหาข้อเท็จจริง [เศรษฐศาสตร์] |
Law and fact | กฎหมายกับข้อเท็จจริง [TU Subject Heading] |
Agreement | การที่รัฐที่ผู้จะไปประจำตำแหน่งในรัฐนั้นได้ตกลง เห็นชอบกับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอชื่อให้เป็นผู้แทนทางการทูต อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้ บัญญัติไว้ว่า1. รัฐผู้ส่งไม่จำเป็นต้องทำให้เป็นที่แน่นอนว่า รัฐผู้รับได้ให้ความเห็นชอบแล้ว สำหรับบุคคลที่รัฐผู้ส่งเสนอจะแต่งตั้งเป็นหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐนั้น2. รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องให้เหตุผลแก่รัฐผู้ส่งในการปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบ เมื่อได้รับความเห็นชอบแล้ว ผู้ที่ดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตซึ่งรอการถวายสารตราตั้งจะต้องเริ่มดำเนิน การเพื่อเดินทางไปยังรัฐผู้รับในเรื่องนี้ มีตัวอย่างไม่น้อยที่รัฐผู้รับปฏิเสธไม่ให้ความเห็นชอบด้วยเหตุผลบางอย่าง นับตั้งแต่อ้างว่า การเสนอชื่อผู้รับการแต่งตั้งได้กระทำกะทันหันเกินไป และมิได้แจ้งข้อเท็จจริงมาก่อน หรือว่าผู้ที่ได้รับการเสนอให้เป็นผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเคยกล่าวตำหนิ วิพากษ์รัฐผู้รับ หรือผู้รับการเสนอชื่อมมีภรรยาเป็นชาวยิว หรือผู้รับการเสนอชื่อถือศาสนาโรมันคาทอลิก หรือผู้นั้นเคยปฏิบัติไม่ดีต่อชนชาติของรัฐผู้รับ หรือผู้นั้นในขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างถูกฟ้องร้อง ถูกกล่าวหาว่าฉ้อโกง เป็นต้นกล่าวโดยย่อ agr?ment คือ การให้ความเห็นชอบของรัฐผู้รับ แก่บุคคลที่ได้รับการเสนอชื่อจากรัฐผู้ส่งให้เป็นผู้แทนทางการทูตนั่นเอง [การทูต] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Conciliation | การไกล่เกลี่ย คือ กระบวนการของการส่งเรื่องกรณีพิพาทไปให้คณะกรรมการ ซึ่งประกอบด้วยบุคคลผู้ได้รับมอบอำนาจเป็นทางการ เพื่อทำหน้าที่พิจารณาข้อเท็จจริง แล้วเสนอรายงาน ซึ่งประกอบด้วยข้อเสนอแนะในอันที่จะระงับกรณีพิพาทนั้น อย่างไรก็ดี ข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการนี้ไม่มีผลบังคับแก่คู่พิพาทแต่อย่างใด ไม่เหมือนกับคำวินิจฉัยในการตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (Arbitration) [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Facts | เหตุการณ์ที่แท้จริง, ข้อเท็จจริง, เหตุการณ์ที่แท้จริง [การแพทย์] |
Facts, Assembling the | การรวบรวมข้อเท็จจริงและข้อมูลต่างๆ [การแพทย์] |
Factual | ข้อเท็จจริง [การแพทย์] |
statistical data | ข้อมูลสถิติ, ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่เราสนใจ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
fact | ข้อเท็จจริง, หลักฐานหรือประจักษ์พยานต่าง ๆ ที่เป็นจริง ซึ่งสามารถสังเกตได้โดยทางตรงคือการใช้อวัยวะสัมผัสหรือโดยทางอ้อมคือการใช้เครื่องวัด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Ready reference | คำถามที่ต้องการข้อเท็จจริงทันที, Example: คำถามที่ต้องการข้อเท็จจริงทันที (Ready Reference) หมายถึง <br>1) เป็นคำถามที่บรรณารักษ์บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้าสามารถตอบได้รวดเร็วในเวลาเพียง 1-2 นาที คำถามเหล่านี้เป็นคำถามง่าย ๆ ที่ต้องการคำตอบสั้น ๆ ทันที เช่น ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไหร่ เป็นต้น ซึ่งบรรณารักษ์อาจใช้หนังสืออ้างอิงเพียง 1-2 เล่ม เท่านั้นในการค้นหาคำตอบ ได้แก่ สมพัตสร (Almanac) หนังสือรายปี คู่มือ และนามานุกรม (Directories) <br>2) หนังสืออ้างอิงที่ทำขึ้นสำหรับตอบปัญหาสั้น ๆ ใช้ง่าย เปิดหาคำตอบได้สะดวก มีคำตอบพร้อมที่จะใช้ได้ทันที เช่น พจนานุกรม นามานุกรม อักขรานุกรมภูมิศาสตร์ เป็นต้น หนังสืออ้างอิงเหล่านี้ให้ตั้งอยู่ใกล้กับโต๊ะบริการตอบคำถามมากกว่าอยู่ในชั้นหนังสืออ้างอิง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยข้อเท็จจริง | [dōi khøthetjing] (adv) EN: actually |
ข้อเท็จจริง | [khøthetjing] (n) EN: fact ; truth ; evidence ; matters of fact |
ข้อเท็จจริงอันเป็นที่ยอมรับ | [khøthetjing an pen thī yømrap] (n, exp) EN: accepted fact |
ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจโต้แย้งได้ | [khøthetjing thī mai āt tōyaēng dāi] (n, exp) EN: indisputable fact |
ผลการวินิจฉัยข้อเท็จจริง | [phon kān winitchai khøthetjing] (n, exp) EN: finding |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
argument | (n) ข้อพิสูจน์, See also: ข้อเท็จจริง |
enquire | (vt) สืบสวน, See also: สอบสวน, ไต่สวน, หาข้อเท็จจริง, Syn. analyze, inquire, investigate |
enquiry | (n) การไต่สวน, See also: การสืบสวนหาข้อเท็จจริง, Syn. analysis, investigation, probe |
fact | (n) ความจริง, See also: ข้อเท็จจริง, ความเป็นจริง |
fact-finding | (adj) เกี่ยวกับการรวบรวมข้อมูลเพื่อหาข้อเท็จจริง, See also: การหาข้อเท็จจริง |
factual | (adj) เกี่ยวกับข้อเท็จจริง, See also: เกี่ยวกับเรื่องจริง, Syn. actual, exact, true, real, evidential |
illuminating | (adj) ซึ่งให้ความกระจ่าง, See also: ซึ่งทำให้ทราบข้อเท็จจริง, Syn. exemplary, illustrative |
investigation | (n) การตรวจสอบหาความจริง, See also: การตรวจสอบข้อเท็จจริง, Syn. examination, exploration, scrutiny |
lowdown | (n) ข้อเท็จจริง (คำสแลง), See also: ความจริง, โฉมหน้าอันแท้จริง, เบื้องหลัง |
material | (n) ข้อเท็จจริง, See also: ข้อมูล, เนื้อหา, ใจความ, สาระ, ความคิด |
matter-of-fact | (n) ข้อเท็จจริง |
matter-of-factly | (adv) ด้วยข้อเท็จจริง |
matter-of-factness | (n) การเป็นข้อเท็จจริง |
matters of fact | (n) ข้อเท็จจริง |
right | (adj) ถูกต้อง, See also: ตรงตามข้อเท็จจริง, Syn. correct, exact, true |
bedrock | (sl) ข้อเท็จจริง, See also: ความจริง |
lowdown | (sl) ความจริง, See also: ข้อเท็จจริง |
truth | (n) ข้อเท็จจริง |
undeceive | (vt) ทำให้ไม่ถูกหลอกลวง, See also: ทำให้ไม่หลงผิด, ทำให้ทราบข้อเท็จจริง, Syn. disabuse, purge, undelude, Ant. deceive, betray |
whitewash | (n) สิ่งที่ปิดบังข้อเท็จจริง (คำไม่เป็นทางการ), See also: สิ่งที่อำพรางความจริง |
whitewash | (vt) ปิดบังข้อเท็จจริง, See also: อำพรางความจริง, Syn. conceal, cover up |
whitewasher | (n) ผู้ปิดบังข้อเท็จจริง |
Hope Dictionary
aver | (อะเวอ') vt. ยืนยันด้วยความมั่นใจ, ยืนยันข้อเท็จจริง, Syn. attest, affirm, swear |
bottom | (บอท'เทิม) { bottomed, bottoming, bottoms } n., adj. ก้น, พื้นฐาน, ข้างใต้, พื้นน้ำ, ตอนท้ายสุด, ปลาย, ท้องเรือ, ปลายตรอก vt., vi. ใส่พื้นให้แก่, พบความหมายเต็มของ ตรวจสอบข้อเท็จจริง vt. บรรลุถึงพื้นล่าง สร้างพื้นฐาน, Syn. foot |
case | (เคส) { cased, casing, cases } n. เรื่อง, กรณี, สภาพ, ข้อเท็จจริง, หลักฐานพยาน, ตัวอย่างที่เป็นจริง, รูปการ, โรค, คนไข้, ราย, ข้อสนับสนุน, การฟ้องร้อง, คดี, กล่อง, ลัง, หีบ, ปลอกหุ้ม, ปลอก, ซอง, อุปกรณ์บรรจุ, ถาดซองตัวพิมพ์ vt. บรรจุในกล่อง (ลัง, หีบ ฯลฯ) ห่อหุ้ม, ล้อม, ตรวจสอบดู - |
commentary | (คอม'มันทะรี) n. ข้อคิดเห็น, คำวิจารณ์, บทความแสดงข้อคิดเห็น, สิ่งที่ใช้อธิบาย, See also: commentaries n. บันทึกเหตุการณ์, บันทึกข้อเท็จจริง commentarial adj. ดูcommentary |
corpus | (คอร์'พัส) n. ร่างกาย, ศพ, รวมเรื่องเขียนขนาดใหญ่หรือสมบูรณ์, รวมวรรณกรรม, อวัยวะหรือส่วนของร่างกาย ที่ทำหน้าที่เฉพาะอย่าง, เงินก้อนใหญ่, Syn. corpse; -Phr. corpus delicti ข้อเท็จจริงที่ได้ทำผิดกฎหมาย -Phr. corpus juris ประมวลหลักธ |
corroboration | (คะรอบบะเร'เชิน) n. การหาหลักฐานยืนยัน, การทำให้แน่ใจยิ่งขึ้น, ข้อเท็จจริงหรือคำพูดที่ยืนยันสนับสนุน, Syn. confirmation, proof |
datum | (เด'ทัม, ดา'ทัม) n. ข้อมูลตัวเลข, ข้อเท็จจริงในการอ้างอิง, ฐาน, Syn. fact -pl. data |
fact | (แฟคทฺ) n. ความจริง, ข้อเท็จจริง -Phr. (in fact ตามความเป็นจริง), See also: factful adj., Syn. reality |
factual | (แฟค'ชวล) adj. เกี่ยวกับข้อเท็จจริง, See also: factually adv. factuality n. |
faithful | (เฟธ'ฟูล) adj. ซื่อสัตย์, รักษาสัจจะ, ไว้ใจได้, น่าเชื่อถือ, ยึดมั่นในข้อเท็จจริง. the faithful ผู้ศรัทธา, See also: faithfulness n., Syn. loyal, true |
induce | (อินดิวซฺ') vt. ชักจูง, ชักนำ, ชักชวน, เหนี่ยวนำ, มีอิทธิพลต่อ, ทำให้เกิดขึ้น, พิสูจน์, หาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง., See also: inducer n. inducible adj., Syn. instigate, persuade |
induction | (อินดัค'เชิน) n. การเหนี่ยวนำกระแสไฟฟ้าสลับที่มีโวลท์, การหาความจริงด้วยการสังเกตข้อเท็จจริง, การพิสูจน์, การเหนี่ยวนำสนามแม่เหล็กไฟฟ้า |
inference engine | เครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง |
justly | (จัสทฺ'ลี) adv. อย่างยุติธรรม, อย่างซื่อสัตย์, โดยความเป็นธรรม, ตามข้อเท็จจริง, แม่นยำ, แน่ชัด, Syn. honestly, fairly |
material | (มะเทีย'เรียล) n. วัตถุ, ส่วนประกอบ, วัสดุ, ปัจจัย, เนื้อหา, เนอความ, สาระ, กลุ่มของความคิด ข้อเท็จจริงหรือข้อมูล, สิ่งทอ adj. ประกอบด้วยวัตถุ, ทางกาย, เป็นปัจจัยสำคัญ, เกี่ยวกับวัตถุพยาน., See also: materials n. อุปกรณ์เครื่องมือ |
objectivity | (ออบเจคทิฟ'วิที) n. การยึดถือวัตถุภาวะวิสัย, ข้อเท็จจริงภายนอก, ความเป็นรูปธรรม |
phenomenon | (ฟินอม'มะนอน) n. ปรากฎการณ์, ข้อเท็จจริง, สิ่งที่ประทับใจ, บุคคลที่ประทับใจ, คนที่ยอดเยี่ยม pl. phenomena, Syn. fact |
probable cause | n. ข้อเท็จจริงที่น่าจะเป็นไปได้ |
representation | (เรพพริเซนเท'เชิน) n. การแทน, การเป็นผู้แทน, เครื่องหมายแสดงออก, ตัวอย่าง, ตัวแทน, ผู้แทน, ข้อคิดเห็น, ทัศนคติ, การแสดงออก, รูป, ภาพ, รูปปั้น, การแสดงละคร, ข้อเท็จจริง, เครื่องแสดง, การบรรยาย, See also: representational adj., Syn. indic |
sooth | (ซูธ) n. ความจริง, ความเป็นจริง, ข้อเท็จจริง. adj. ละมุนละไม, อ่อนหวาน, ปลอบโยน, จริง, แท้จริง., See also: soothly adv., Syn. truth |
statistic | (สทะทิส'ทิค) n. สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, Syn. numerical fact, datum |
statistical | (สทะทิส'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับสถิติ, อาศัยสถิติ, อาศัยข้อมูล, อาศัยข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข. |
statistics | (สทะทิส'ทิคซฺ) n. วิชาสถิติ, สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลข |
subsequence | (ซับ'ซะเควินซฺ) n. เหตุการณ์ภายหลัง, เหตุการณ์ที่ตามมา, สิ่งที่ตามมา, ข้อเท็จจริงที่ตามมา, Syn. sequel |
tumble | (ทัม'เบิล) vi., vt. (ทำให้) ล้ม, ล้มลง, ตกลง, หกคะเมน, ตีลังกา, ถลา, พังลง, กลิ้งไปมา, พลิกไปมา, ทำให้ยุ่งเหยิง, รีบเร่ง, กระทำอย่างรีบร้อน, เข้าใจข้อเท็จจริง n. การล้มลง, การตกลง, การพังลง, การแสดงกายกรรม, การหมดอำนาจ, ความสนใจ, ความยุ่งเหยิง, กองที่ซ้อนกันยุ่งเหยิง, ความสับสน |
unlearn | (อันเลิร์น') vt. แก้ไขข้อเท็จจริง, ทำให้ลืม. vi. ลืม, ทอดทิ้งความรู้, Syn. forget |
whitewash | (ไวท์'วอช) n. น้ำปูนขาวสำหรับทาผนังกำแพงให้เป็นสีขาว, สิ่งที่ปิดบังข้อเท็จจริง, การอำพรางความพ่ายแพ้, See also: whitewasher n., Syn. gilding, cover-up |
Nontri Dictionary
fact | (n) ข้อเท็จจริง, ความเป็นจริง |
factual | (adj) เกี่ยวกับข้อเท็จจริง, เป็นความจริง |
garble | (vt) บิดเบือน(ข้อเท็จจริง), ทำให้สับสน |
phenomenon | (n) ปรากฏการณ์, สิ่งที่ประทับใจ, ข้อเท็จจริง, ความประหลาด |
right | (n) ความยุติธรรม, สิทธิ, ความถูกต้อง, ข้อเท็จจริง, ฝ่ายขวา |
sooth | (n) ข้อเท็จจริง, ความจริง, ความเป็นจริง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
post-truth | [โพสต์-ทรูธ] "เรื่องจริงไว้ทีหลังก็ได้" เป็นคำศัพท์ใหม่สุดของ Oxford ที่บัญญัติไว้ในอาทิตย์นี้เอง หลังจากเหตุการณ์ Brexit ของอังกฤษ และการเลือกตั้งของอเมริกา.....พจนานุกรมอ๊อกซเฝิด บัญญัติไว้ว่าคือ "ภาวะหรือสภาพซึ่ง...ข้อเท็จจริงที่เป็นรูปธรรมจริง.. จะมีน้ำหนักโน้มน้าวทัศนคติผู้คนทั่วไปได้น้อยกว่า การโน้มน้าวให้แต่ละคน มีความเชื่อหรืออารมณ์คล้อยตาม" "relating to or denoting circumstances in which objective facts are less influential in shaping public opinion than appeals to emotion and personal belief."//Oxford Dict. |
set out | (vt) แถลง, กล่าวหา, อ้าง, บรรยายข้อเท็จจริง |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
統計 | [とうけい, toukei] (n) สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, S. numerical fact, datum |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
sachlich { adj } | (adj) เกี่ยวกับข้อเท็จจริง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0259 seconds, cache age: 27.221 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม