90 ผลลัพธ์ สำหรับ *การบริการ*
ภาษา
หรือค้นหา: การบริการ, -การบริการ-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เขตอุตสาหกรรมทั่วไป | น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกัน. |
นิคมอุตสาหกรรม | น. เขตพื้นที่ที่กำหนดไว้สำหรับการประกอบอุตสาหกรรม พาณิชยกรรม การบริการ และกิจการอื่นที่เป็นประโยชน์หรือเกี่ยวเนื่องกัน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
science, transfusion | วิทยาศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
announcement service | การบริการประกาศ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
medicine, transfusion | เวชศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
transfusion medicine | เวชศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
transfusion science | วิทยาศาสตร์การบริการโลหิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
T.A.B Telephony | การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติ, การบริการหนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกส์ระบบเดซีผ่านโทรศัพท์อัตโนมัติของสมาคมคนตาบอดแห่งประเทศไทย ผู้ฟังสามารถฟังการอ่านหนังสือเสียงโดยการโทรไปที่โทรศัพท์หมายเลข ๐-๒๒๐๓-๙๑๐๐ ระบบจะจัดให้ผู้ฟังสามารถเลือกฟังหนังสือใดๆ ในระบบ [Assistive Technology] |
Customer services | การบริการลูกค้า [TU Subject Heading] |
Food service management | การจัดการบริการอาหาร [TU Subject Heading] |
Public service television programs | รายการบริการสาธารณะทางโทรทัศน์ [TU Subject Heading] |
Radio programs, Public service | รายการบริการสาธารณะทางวิทยุ [TU Subject Heading] |
Trade associations | สมาคมอุตสาหกรรมและการบริการ [TU Subject Heading] |
Wine service | การบริการไวน์ [TU Subject Heading] |
Collection Service | การบริการขนขยะ [สิ่งแวดล้อม] |
Commercial Waste | ของเสียอันตรายจากพาณิชยกรรมและการบริการ, Example: ขยะที่เกิดจากิจกรรมเชิงพาณิชย์ เช่น ห้างร้าน สำนักงาน ภัตตาคาร แต่ไม่รวมถึงขยะที่พักอาศัยและอุตสาหกรรม รวมถึงน้ำมันเครื่องเก่า กากตะกอนน้ำมันจากสถานีบริการน้ำมัน หม้อแปลงไฟฟ้า ตัวเก็บประจุไฟฟ้าที่มีสารพีซีบี (Polychlorinated biphenyl) น้ำเสียจากร้านล้างอัดขยายรูป เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Framework Agreement on Services | กรอบความตกลงของอาเซียนว่าด้วยการบริการ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือและการเปิดเสรีการค้าบริการระหว่าง ประเทศสมาชิกอาเซียน [การทูต] |
ASEAN Investment Area | เขตการลงทุนอาเซียน จัดตั้งขึ้นตามกรอบความตกลงว่าด้วยเขตลงทุนอาเซียน ที่ลงนามเมื่อ ปี พ.ศ. 2541 เพื่อส่งเสริมให้มีภาวะการลงทุนที่โปร่งใสและเสรีในอาเซียนในอันที่จะดึงดูด การลงทุนจากภายในและภายนอกภูมิภาค โดยให้ประเทศสมาชิกเปิดให้มีการลงทุนทางอุตสาหกรรม และให้มี การประติบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเซียนภายในปี พ.ศ. 2553 และแก่นักลงทุนทั่วไปภายในปี พ.ศ. 2563 โดยครอบคลุมการลงทุนโดยตรง ทั้งหมดในสาขาอุตสาหกรรมการผลิต เกษตร ประมง ป่าไม้ และเหมืองแร่ รวมทั้งการบริการที่เกี่ยวเนื่องกับสาขาการผลิตดังกล่าว ยกเว้นการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ [การทูต] |
Exemption from Taxation of Diplomatic Agent | การยกเว้นภาษีอากรให้แก่ตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ข้อ 34 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ให้ตัวแทนทางการทูตได้รับยกเว้นจากภาระผูกพันและภาษีทั้ง ปวงของชาติท้องถิ่นหรือเทศบาล ในส่วนบุคคลหรือในทรัพย์สิน เว้นแต่ก. ภาษีทางอ้อม ชนิดที่ตามปกติรวมอยู่ในราคาของสินค้าหรือบริการแล้วข. ภาระผูกพันและภาษีจากอสังหาริมทรัพย์ส่วนตัว ซึ่งตั้งอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับ นอกจากว่า ตัวแทนทางการทูตครอบครองอสังหาริมทรัพย์นั้นไว้ในนามของรัฐผู้ส่ง เพื่อความมุ่งประสงค์ของคณะผู้แทนค. อากรกองมรดก การสืบมรดก หรือการรับมรดก ซึ่งรัฐผู้รับเรียกเก็บภายในบังคับแห่งบทของวรรค 4 ข้อ 39 ง. ภาระผูกพันและภาษีจากเงินได้ส่วนตัว ซึ่งมีแหล่งกำเนิดในรัฐผู้รับ และภาษีเก็บจากเงินทุนซึ่งได้ลงทุนในการประกอบการพาณิชย์ในรัฐผู้รับจ. ค่าภาระซึ่งเรียกเก็บสำหรับบริการจำเพาะที่ได้ให้ฉ. ค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน ค่าธรรมเนียมศาล หรือสำนวนความ ภาระผูกพันในการจำนอง และอากรแสตมป์ในส่วนที่เกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ ภายในบังคับแห่งบทของข้อ 23?นอกจากนี้ ข้อ 35 ของอนุสัญญากรุงเวียนนายังได้บัญญัติไว้ด้วยว่า ?ให้รัฐผู้รับให้ตัวแทนทางการทูตได้รับการยกเว้นจากการบริการส่วนบุคคลทั้ง มวล จากบริการส่วนสาธารณะทั้งมวล และจากข้อผูกพันทางทหาร เช่น ส่วนที่เกี่ยวกับการเรียกเกณฑ์ ส่วนบำรุง หรือเรียกคืนที่พักอาศัยเพื่อปฏิบัติการทางทหาร? [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
Intellectual Property | ทรัพย์สินทางปัญญา " หมายถึง ผลงานอันเกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ซึ่งผู้เป็นเจ้าของสามารถถือครอง และ/หรือเก็บเกี่ยวสิทธิประโยชน์ได้ นอกเหนือจากสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ - Patent สิทธิบัตร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่สร้างใหม่ ยังไม่เคยมีการเปิดเผยมาก่อน และเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่มีขั้นตอนการประดิษฐ์ที่สูงขึ้น และการประดิษฐ์นั้นสามารถประยุกต์ใช้ในทางอุตสาหกรรมได้ - Copy Rights ลิขสิทธิ์ หมายถึง งานหรือความคิดสร้างสรรค์ในสาขาวรรณกรรม ศิลปกรรม ดนตรี งานภาพยนต์ หรืองานอื่นใดในแผนกวิทยาศาสตร์ - Neighboring Rights สิทธิข้างเคียง เป็นความคุ้มครองที่แตกแขนงมาจากลิขสิทธิ์ เนื่องจากงานที่สร้างขึ้นไม่สามารถถูกจัดเข้าเป็นงานลิขสิทธิ์ได้โดยตรง เพราะผลงานที่เกิดขึ้นนั้นได้มีบุคคลอื่นเข้ามาเป็นสื่อกลาง และก่อให้เกิดผลงานโดยใช้ เครื่องมือในทางวิชาชีพสร้างงานขึ้นมา ดังนั้น บุคคลผู้ที่เข้ามาเป็น สื่อกลางเพื่อผลิตงานให้แก่ผู้สร้างงานจึงควรมีสิทธิในผลงานนั้นเหมือนกับ เจ้าของงานลิขสิทธิ์ด้วย - Trade Marks เครื่องหมายการค้า หมายถึง เครื่องหมาย สัญลักษณ์ หรือตราที่ใช้กับสินค้าเพื่อให้ประชาชนทั่วไปแยกแยะได้ว่าสินค้านั้นเป็นของ ผู้ใด ใครเป็นเจ้าของ และมีความแตกต่างกันอย่างไร ซึ่งโดยทั่วไปจะเรียกว่า ยี่ห้อ สำหรับเครื่องหมายการค้านั้น จะเป็นภาพ เป็นคำ หรือเป็นตัวอักษรก็ได้ Service Marks เครื่องหมายบริการ เป็นเรื่องที่เกิดใหม่เนื่องจากสินค้าบริการได้เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เช่น การให้บริการด้านการเงิน การโทรคมนาคม จึงทำให้ผู้ให้บริการต้องการที่จะใช้เครื่องหมาย เพื่อชี้ให้เห็นถึงการบริการของตน เช่นเดียวกับการใช้เครื่องหมายการค้า " [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Accessibility | การจัดบริการให้ทั่วถึง, การเข้าถึง, การบริการเข้าถึงประชาชน, ความเข้าถึง [การแพทย์] |
Blood Banks, Commercial | การบริการโลหิตที่ดำเนินการในรูปการซื้อ-ขาย [การแพทย์] |
Child Health Services | อนามัยเด็ก, การบริการ;เด็ก, การบริการสุขภาพ;บริการสุขภาพเด็ก [การแพทย์] |
Community Health Services | อนามัยชุมชน, การบริการ [การแพทย์] |
Community Mental Health Services | สุขภาพจิตชุมชน, การบริการ [การแพทย์] |
Community Pharmacy Services | เภสัชชุมชน, การบริการ;เภสัชกรรมชุมชน, การบริการ [การแพทย์] |
Comprehensive Dental Care | ทันตกรรมเบ็ดเสร็จ, การบริการ [การแพทย์] |
Comprehensive Health Care | สาธารณสุขเบ็ดเสร็จ, การบริการ;การให้บริการอนามัยเบ็ดเสร็จ;การให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ;บริการอนามัยเบ็ดเสร็จ;บริการอนามัยเบ็ดเสร็จ;การให้บริการอนามัยเบ็ดเสร็จ [การแพทย์] |
Dental Service, Hospital | ทันตกรรมของโรงพยาบาล, การบริการ, ทันตกรรม, การบริการในโรงพยาบาล [การแพทย์] |
Dietary Services | อาหาร, การกำหนด, การบริการ, อาหารที่กำหนด, การบริการ [การแพทย์] |
Food Service, Hospital | อาหารของโรงพยาบาล, การบริการ, โรงพยาบาล, การบริการอาหาร [การแพทย์] |
Food Services | อาหาร, การบริการ [การแพทย์] |
telex | เทเลกซ์, การบริการรับและส่งข่าวสารทางโทรพิมพ์ซึ่งมีข่ายงานอยู่ทั่วโลก telex ย่อมาจาก teleprinter exchange [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
cleaner technology | เทคโนโลยีสะอาด, การพัฒนา เปลี่ยนแปลง ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ วิธีการ กระบวนการ หรือการบริการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดผลกระทบหรือความเสี่ยงต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด โดยใช้เครื่องมือ เช่น 3R คือ ใช้น้อย(reduce) ใช้ซ้ำ(reuse) และแปรรูปแล้วนำกลับมาใช้ใหม่(recycle) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Indirect Services | การบริการที่ไม่ใช่การบำบัดโดยตรง, บริการผู้ป่วยทางอ้อม [การแพทย์] |
Information Services | บริการสารนิเทศ, การบริการสารนิเทศ [การแพทย์] |
Library Services | ห้องสมุด, การบริการ [การแพทย์] |
Maternal Health Services | มารดา, การบริการสุขภาพ; อนามัยแม่และเด็ก, การบริการ [การแพทย์] |
Mental Health Services | สุขภาพจิต, การบริการ [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
จิตวิทยาการบริการ | [jittawitthayā kān børikān] (n, exp) EN: psychology of hospitality ; psychology of tourism, hospitality and leisure |
การบริการ | [kān børikān] (n) EN: serve FR: service [ m ] |
การบริการความสะดวก | [kān børikān khwām sadūak] (n, exp) EN: facility |
การบริการลูกค้า | [kān børikān lūkkhā] (n, exp) EN: customer service FR: service à la clientèle [ m ] |
การบริการร่างกาย | [kān børikān rāngkāi] (n, exp) EN: exercise |
มาตรฐานการบริการ | [māttrathān kān børikān] (n, exp) FR: qualité de service [ f ] ; niveau de service [ m ] |
โรงแรมที่มีมาตรฐานการบริการระดับนานาชาติ | [rōngraēm thī mī māttrathān kān børikān radap nānāchāt] (n, exp) FR: hôtel de classe internationale [ f ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
First come, first served | (idm) ใครมาก่อนได้ก่อน, See also: คนที่ได้รับการบริการเป็นคนแรก |
drink | (n) เครื่องดื่ม, See also: การดื่มเหล้า, การบริการเครื่องดื่ม, Syn. beverage, brew, liquor |
facility | (n) คุณสมบัติพิเศษของเครื่องจักรหรือการบริการต่างๆ, Syn. extra feature |
honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ |
honorarium | (n) ค่าธรรมเนียมการบริการทางวิชาชีพ |
NHS | (n) การบริการทางด้านสุขภาพในอังกฤษ (คำย่อ National Health Service) |
plate | (n) อาหารในจาน, See also: อาหารและการบริการมื้อหนึ่ง, Syn. course, helping, serving |
price index | (n) ดรรชนีราคา, See also: ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ, Syn. index |
serving | (n) การรับใช้, See also: การบริการ, การปรนนิบัติ, การต้อนรับแขก, การช่วยเหลือ |
tip | (n) เงินรางวัลพิเศษ, See also: เงินตอบแทนการบริการ, Syn. gift, reward |
utility | (n) สาธารณูปโภค, See also: การบริการสาธารณะ |
Hope Dictionary
archie | (อาร์' คี) n. ระบบหนึ่งของผู้ให้การบริการ (servers) ที่ค้นหาไฟล์ที่มีอยู่ สำหรับสาธารณในแหล่งข้อมูลโปรโตรคอลแปลงแฟ้มข้อมูล (FTP, file transfer protocol) |
barroom | (บาร์'รูม) n. ห้องหรือสถานที่ที่มีการบริการเหล้า |
bulletin board system | ระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย) |
buyers' market | n. ตลาดของผู้ซื้อซึ่งมีสินค้าและการบริการมากมายและมีราคาที่ต่ำ |
cater | (เค'เทอะ) { catered, catering, caters } vi. จัดอาหาร (การบริการและ อื่น ๆ) ให้, จัดหาสิ่งที่ต้องการให้, เสนอรายการบันเทิง, เสนอรายการ, สอดคล้อง, See also: caterer ผู้จัดหา. cateringly adv., Syn. victual, feed |
client | (ไคล'เอินทฺ) n. ลูกความ, คนไข้, ลูกค้า, คนซื้อของ, ผู้พึ่งคนอื่น, บุคคลหรือบริษัทที่จ่ายเงินสำหรับสินค้าหรือการบริการ adj. เป็นลูกค้าประจำ, See also: cliental adj. ดูclient ผู้รับบริการ1. ใช้ในเรื่องของข่ายงานบริเวณเฉพาะที่ LAN หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่สามารถเรียกข้อมูลข่าวสารหรือโปรแกรมจากเครื่องบริการแฟ้ม file server มาใช้ได้ หรืออาจหมายถึงเครื่องที่ทำงานอย่างอิสระ โดยใช้โปรแกรมที่มีอยู่ในเครื่องนั้นเองก็ได้ ดู file server ประกอบ2. หมายถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ข้อมูลร่วมกับเครื่องอื่นได้ โดยใช้ระบบ DDE หรือ dynamic data exchange ดู dynamic data exchange ประกอบ |
consumption | (คันซัมพฺ'เชิน) n. การบริโภค, การเผาผลาญ, การใช้สินค้าหรือการบริการที่มีค่าทางเศรษฐศาสตร์ที่แลกเปลี่ยนได้, วัณโรค, โรคที่ทำให้ร่างกายเสื่อมโทรม, Syn. consuming, utilization |
employ | (เอมพลอย') vt. จ้าง, ว่าจ้าง, ใช้, ใช้สอย, ใช้เวลา. -n. การจ้าง, การว่าจ้าง, การบริการ, อาชีพ., See also: employability n. ดูemploy employable adj. ดูemploy employer n. ดูemploy, Syn. engage |
good offices | การบริการของผู้ไกล่เกลี่ยกรณีพิพาทอิทธิพล |
gross national product | ค่าเงินของสินค้าที่ผลิตได้และการบริการทั้งหมดของประเทศในระยะเวลาหนึ่ง, GNP |
heriot | n. ของขวัญหรือการบริการจากเจ้าของที่ดินเมื่อผู้เช่าซื้อตาย |
ministry | (มิน'นิสทรี) n. กระทรวง, คณะรัฐมนตรี, คณะสงฆ์, การบริการ, การช่วยเหลือ |
office | (ออฟ'ฟิซฺ) n. สำนักงาน, ที่ทำการ, สถาบัน, ร้านค้า, กระทรวง, กรม, กอง, ตำแหน่ง, การทำงาน, หน้าที่, ภาระหน้าที่, สมรรถนะ, งาน, การบริการ, See also: offices n., pl. ที่ทำงานบ้านในบ้าน เช่นครัวหรือที่ซักหรือรีดผ้า, Syn. function, position |
plate | (เพลท) n. จานอาหาร, อาหารในจาน, อาหารและการบริการมื้อหนึ่ง, แผ่นโลหะ, ป้ายโลหะ (โดยเฉพาะป้ายชื่อ) , แผ่นเหล็กต่อเรือ, แผ่นกระจก, แผ่นพิมพ์, เครื่องใช้ที่เป็นโลหะ, โล่รางวัล, การแข่งขันเพื่อโล่รางวัล, จานเรี่ยไรหรือรับเงินบริจาค, ภาชนะท้องเรียบ, ขั้วบวกไฟสูงของหลอดวิทยุ vi. ชุบ, ชุบด้วยไฟฟ้า, ตอกแผ่นโลหะ, พิมพ์ด้วยแผ่นพิมพ์ |
preventive maintenance | การบำรุงรักษาเชิงป้องกันหมายถึง แผนงานการบริการการบำรุงรักษา ซึ่งมุ่งเป้าไปถึงการป้องกันไม่ให้เครื่องเสีย การบำรุงรักษานั้น รวมตั้งแต่ การทำความสะอาดเครื่องเป็นระยะ ๆ การตรวจสอบ หรือคอยดูแลเปลี่ยนอุปกรณ์ หรือวงจรที่จะครบอายุการใช้งานทุกระยะด้วย |
price index | n. ดรรชนีราคา, ดรรชนีแสดงระดับการเปลี่ยนแปลงของสินค้ากับการบริการ |
public service | n. การบริการสาธารณะ, การบริหารประชาชน, กิจการของข้าราชการ |
service | (เซอ'วิส) n. การรับใช้, การบริการ, การปรนนิบัติ, การบริการอาหาร, การต้อนรับแขก, การช่วยเหลือ, การอำนวยประโยชน์, ทหารบก, การบำรุงรักษา, ชุดเครื่องมือรับประทานอาหาร, การเสิร์ฟลูก, การออกลูก, การส่งหมายศาล, การยื่นหมายศาล, พิธีศาสนา adj. ใช้เป็นประโยชน์, เป็นการบริการ, ลักษ |
serving | (เซอ'วิง) n. การรับใช้, การบริการ, การปรนนิบัติ, การบริการอาหาร, อาหารที่บริการ, การช่วยเหลือ. adj. ใช้ในการบริการอาหาร |
tendance | (เทน'เดินซฺ) n.การรับใช้, การบริการ, การเฝ้าดูแล, คนใช้, Syn. care, ministration |
tendency | (เทน'เดินซี) n. ความโน้มเอียง, ความโน้มน้าว, นิสัย, การบริการ, จุดประสงค์พิเศษ หรือเฉพาะ., See also: tendentious adj. |
utility | (ยูทิล'ลิที) n. ประโยชน์, ผลประโยชน์, การบริการสาธารณะ (เช่นรถเมล์ รถราง, รถไฟ, โทรศัพท์, ไฟฟ้า) , ปัจจัยที่เป็นประโยชน์, หลักการของลัทธิผลประโยชน์, adj. สำหรับใช้สอย (มากกว่าสำหรับการประดับตกแต่งให้สวยงาม), See also: utilities n. หุ้นหรือหลักทรัพย์ของทรัพ |
yeoman's service | n. การบริการที่ดีและมีประโยชน์ต่อสาธารณะ |
Nontri Dictionary
SELF-self-service | (n) การช่วยตนเอง, การบริการตนเอง |
tendency | (n) ความโน้มเอียง, การบริการ, นิสัย, จุดประสงค์พิเศษ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bait and switch | (n) เป็นการโฆษณารูปแบบหนึ่งที่บอกขายสินค้าหรือการให้บริการในราคาที่ถูก แต่เมื่อมีผู้ต้องการซื้อสินค้าหรือการบริการชนิดนั้น ผู้ขายอ้างว่าสินค้าหมดและเสนอขายสินค้าทดแทนที่มีราคาสูงกว่าแทนอย่างตั้งใจ |
interlibrary loan | ระบบการบริการให้ยืม, หนังสือระหว่างห้องสมุดสำหรับผู้ใช้ห้องสมุด |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
公社 | [こうしゃ, kousha] TH: กิจการของรัฐบาลที่เกี่ยวกับการบริการสาธารณะ |
Longdo Approved DE-TH
Gefallen | (n) |der, nur Sg.| ความกรุณา, ความชอบ, การบริการที่ถูกใจ มักจะเป็นเรื่องเล็กๆน้อยๆ เช่น Schatz! Kannst du mir bitte einen Gefallen tun, mir eine Zeitung zu kaufen? = ที่รักจ๋า, คุณช่วยทำอะไรให้ผมหน่อยได้มั้ย แค่ไปซื้อหนังสือพิมพ์ |
Dienstleistung | (n) |die, pl. Dienstleistungen| การรับใช้, การบริการ เช่น Die Firma bietet Produkte und Dienstleistungen für Systemlösungen für industielle Märkte. |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Dienstleistung | [ดี๊นสท-ไลส-ถุ่ง] (n) การบริการ การให้บริการ, Syn. Service |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.07 seconds, cache age: 1.935 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม