203 ผลลัพธ์ สำหรับ *แก้ปัญหา*
ภาษา
หรือค้นหา: แก้ปัญหา, -แก้ปัญหา-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
แก้ปัญหา | (v) solve a problem, See also: resolve a problem, Syn. ไขปัญหา, Example: ตำรวจติดเครื่องควบคุมสัญญาณจราจรโดยอัตโนมัติเพื่อแก้ปัญหาการจราจรติดขัด |
การแก้ปัญหา | (n) remedy, See also: solution, Syn. การแก้ไขปัญหา, Example: การพบกับสิ่งแวดล้อมใหม่ๆ จะก่อให้เกิดการแก้ปัญหาใหม่ๆ แก่เด็ก, Thai Definition: การหาทางแก้ไข หรือทางออกให้กับความยุ่งยากที่เกิดขึ้น |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
แก้ ๒ | เฉลย, อธิบายให้เข้าใจ, เช่น แก้ปัญหา แก้กระทู้ |
แกล้งดิน | ก. กระบวนการแก้ปัญหาสภาพดินเปรี้ยวตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยใช้กรรมวิธีเร่งปฏิกิริยาเคมีในดิน ทำให้ดินเปรี้ยวอย่างรุนแรงแล้วใช้ระบบชลประทานนำน้ำมาเจือจางดินเปรี้ยวทำสลับไปมา จนเปลี่ยนสภาพดินให้สามารถเพาะปลูกได้. |
ขบปัญหา | ก. คิดแก้ปัญหา. |
ขบไม่แตก | ก. คิดไม่ออก, แก้ไม่ตก, (ใช้แก่ปัญหา). |
คอมพิวเตอร์ | น. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์. |
คอมมิวนิสต์ | น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. |
คิดไว | ก. คิดแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้รวดเร็ว. |
จุดบอด | น. บริเวณที่เครื่องมือสื่อสารรับสัญญาณได้ไม่ชัด, บริเวณหลังลูกตาที่ไม่รับแสง, บริเวณที่ควรจะมองเห็นแต่ไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น ทางโค้งนี้มีจุดบอด ทำให้เกิดอุบัติเหตุรถชนกันบ่อย ๆ, จุดของปัญหาที่ไม่สามารถตัดสินใจหรือแยกแยะได้อย่างชัดเจนอาจจะเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้เป็นต้น, โดยปริยายหมายถึงสภาวะที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้. |
ทางออก | น. ทางรอด, วิธีแก้ปัญหา. |
นิติวิทยาศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการนำหลักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. |
นิติเวชศาสตร์ | น. วิชาที่ว่าด้วยการใช้หลักทางการแพทย์ช่วยแก้ปัญหาทางกฎหมาย และการพิสูจน์ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคดีความ. |
เปลาะ, เปลาะ ๆ | (เปฺลาะ) น. ระยะที่มัดหรือขอดไว้เป็นตอน ๆ, ลักษณะที่มัดหรือขอดไว้เป็นตอน ๆ, เช่น ผูกเป็นเปลาะ แก้ปัญหาเป็นเปลาะ ๆ, ลักษณนามเรียกสิ่งที่มัดหรือผูกให้เป็นตอน ๆ เช่น มัดไต้ ๓ เปลาะ หรือสิ่งอื่นที่มีลักษณะคล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหามี ๔ เปลาะ. |
ฝีมือ | โดยปริยายหมายถึง ความสามารถหรือทักษะและชั้นเชิงในการปฏิบัติการใด ๆ เช่น เขามีฝีมือในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้สำเร็จลุล่วงไปได้โดยรวดเร็ว. |
สิ้นคิด | ก. หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น บางคนพอสิ้นคิดเข้าจริง ๆ ก็ฆ่าตัวตาย. |
สิ้นคิด | ว. ที่หมดปัญญาจะแก้ปัญหา, ที่หมดหนทางคิดอ่าน, เช่น เขาทำตัวเหมือนคนสิ้นคิด เที่ยวลักขโมยเขากิน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
resolvent | ตัวแก้ปัญหา [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
trouble shooter | ๑. โปรแกรมแก้ปัญหา๒. ผู้แก้ปัญหา [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
trouble shooter | ๑. โปรแกรมแก้ปัญหา๒. ผู้แก้ปัญหา [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
heuristic approach | การแก้ปัญหาแบบศึกษาสำนึก [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
system | ระบบ, ที่รวมของส่วนประกอบต่างๆ ที่ทำงานร่วมกัน มีจุดประสงค์ร่วมกัน และมีขอบเขตโดยแน่ชัด เช่น คอมพิวเตอร์เป็นระบบ เพราะประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ที่ทำงานร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาตามที่ผู้ใช้กำหนด ร่างกายมนุษย์เป็นระบบเพราะประกอบด้วยอวัยวะต่างๆ ที่ทำงานร่วมกันโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะให้ร่างกายมีชีวิตอยู่ ระบบทั้งหลายต้องรับอินพุดรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งเข้าไปในระบบ ต่อจากนั้นจึงนำอินพุดเหล่านั้นมาดำเนินการให้เกิดเป็นเอาท์พุต หรือปรับอินพุดหรือการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การนำเอาท์พุดมาพิจารณาแล้วปรับ ดังนี้เรียกว่า การป้อนกลับ (feedback) [คอมพิวเตอร์] |
troubleshooting | แก้ปัญหา, Example: การพยายามหาสาเหตุของปัญหาอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อแก้ไขให้อุปกรณ์นั้นกลับทำงานดีดังเดิม [คอมพิวเตอร์] |
Group problem solving | การแก้ปัญหาโดยกลุ่ม [TU Subject Heading] |
Medical records, Problem-oriented | เวชระเบียนแบบวิธีการแก้ปัญหา [TU Subject Heading] |
Problem solving | การแก้ปัญหา [TU Subject Heading] |
Value-Added Tax | จัดเป็นภาษีทางอ้อม (ดู Indirect tax) ชนิดหนึ่ง โดยเรียกเก็บจากมูลค่าส่วนเพิ่มในแต่ละขั้นตอนการผลิตและจำหน่ายในแต่ละช่วง ซึ่งทำให้แก้ปัญหาการเก็บภาษีซ้ำซ้อนในแต่ละทอดที่สินค้าและ บริการได้รับการเปลี่ยนมือได้ ประเทศไทยเริ่มใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม แทนภาษีการค้าที่เคยจัดเก็บมาแต่เดิมเมื่อ พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา, Example: จัดเป็นภาษีทางอ้อม (ดู Indirect tax) ชนิดหนึ่ง โดยเรียกเก็บจากมูลค่าส่วนเพิ่มในแต่ละขั้นตอนการผลิตและจำหน่ายในแต่ละช่วง ซึ่งทำให้แก้ปัญหาการเก็บภาษีซ้ำซ้อนในแต่ละทอดที่สินค้าและ บริการได้รับการเปลี่ยนมือได้ ประเทศไทยเริ่มใช้ภาษีมูลค่าเพิ่ม แทนภาษีการค้าที่เคยจัดเก็บมาแต่เดิมเมื่อ พ.ศ. 2535 เป็นต้นมา [สิ่งแวดล้อม] |
Humanitarian Intervention | การแทรกแซงเพื่อมนุษยธรรม " เป็นแนวคิดที่นายโคฟี อันนาน เลขาธิการสหประชาชาติเสนออย่างเป็น ทางการครั้งแรกต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติ สมัยที่ 54 เมื่อปี พ.ศ. 2542 โดยมุ่งจะให้สหประชาชาติสามารถเข้าไปแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนภาย ในประเทศต่าง ๆ ได้โดย คำนึงถึงประเด็นเรื่องมนุษยธรรมเป็นหลัก ขณะนี้ แนวคิดนี้ยังคงเป็นที่ถกเถียงกันและยังไม่ยุติ โดยบางประเทศเห็นว่า เป็นการดำเนินการที่ขัดต่อกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหว่างประเทศ เนื่องจากเป็นการละเมิดอธิปไตยของรัฐ บางประเทศเห็นว่าเป็นมาตรการที่จำเป็นเพื่อแก้ปัญหาของมนุษยชาติ ส่วนบางประเทศเห็นว่าการแทรกแซงดังกล่าวจะต้องอยู่ใต้กรอบหลักเกณฑ์ หรือกรอบกฎหมายบางประการ เช่น กฎบัตรสหประชาชาติ " [การทูต] |
The New Partnership for Africa?s Development | หุ้นส่วนใหม่เพื่อการพัฒนาแอฟริกา เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแอฟริกา มีวัตถุประสงค์ในการ ส่งเสริมความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาที่ยั่งยืนของประเทศแอฟริกา การขจัดความยากจนและการขจัดความเสียเปรียบของประเทศแอฟริกาในยุคโลกาภิวัตน์ NEPAD พัฒนามาจากการประชุม สุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 ที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2542 ซึ่งในการประชุมนี้ ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้ ประธานาธิบดีไนจีเรีย และประธานาธิบดี แอลจีเรียได้เสนอต่อที่ประชุม ขอให้กลุ่มประเทศเหนือและประเทศใต้ร่วมกันแก้ปัญหาที่ทั้งสองกลุ่มประเทศ เผชิญอยู่ บนพื้นฐานของ ผลประโยชน์ร่วมกัน โดยเน้นการพัฒนาประเทศที่ยากจน เช่น ประเทศ ในภูมิภาคแอฟริกา ต่อมาบรรดาผู้นำของกลุ่มประเทศแอฟริกาได้ร่วมกันกำหนดแผนพัฒนาแอฟริกาสำหรับ ใช้ขอรับการสนับสนุนจากประเทศพัฒนาแล้วในเวทีการประชุมระหว่างประเทศต่าง ๆ ที่เรียกว่า New Africa Initiative (NAI) ที่ประชุมองค์การเอกภาพแอฟริกา หรือ OAU (ซึ่งต่อมากลายเป็น African Union ? AU) ได้เห็นชอบต่อแผน NAI ดังกล่าวในเดือนกรกฎาคม 2544 ผู้นำของประเทศแอฟริกาได้นำเสนอ NAI ต่อที่ประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มประเทศ G8 เมื่อปี พ.ศ. 2544 และได้รับการปรับปรุงแก้ไขจนเป็น NEPAD ในปัจจุบัน [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Technical Competency | สมรรถนะทางวิชาการ, ความรู้ ทักษะและพฤติกรรมที่พนักงานต้องมีเพื่อนำมาใช้ปฏิบัติงาน เช่น ความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์ (Product Knowledge) คุณภาพงานบริการ (Service Quality) ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) การแก้ปัญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving and Decision Making) เป็นต้น [การจัดการความรู้] |
model | แบบจำลอง, ชิ้นงาน 3 มิติ ที่จำลองรูปทรง ขนาด สัดส่วน โครงสร้าง กลไก และรายละเอียดต่าง ๆ เพื่อจำลองการทำงานของชิ้นงานหรือวิธีการที่ใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technology | เทคโนโลยี, การนำความรู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการโดยผ่านกระบวนการ เพื่อแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
flowchart | ผังงาน, ผังงานเป็นการอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้รูปสัญลักษณ์มาเรียงต่อกัน สัญลักษณ์แต่ละแบบจะมีความหมายถึงกระบวนการที่แตกต่างกัน โดยจะมีคำอธิบายสั้นๆ เพิ่มเติมในรูปสัญลักษณ์ ความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในผังงานได้ถูกกำหนดโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
pseudocode | รหัสลำลอง, การจำลองขั้นตอนวิธีแก้ปัญหา โดยการอธิบายด้วยคำพูดที่เข้าใจได้ง่ายเป็นขั้น ๆ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
selection structure | โครงสร้างแบบทางเลือก, โครงสร้างการทำงานแบบเลือกทำทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากต้องมีการเลือกทำชุดคำสั่งใดชุดคำสั่งหนึ่งตามผลของเงื่อนไขที่เป็นจริง แต่ในการเขียนโปรแกรมหรือผังงานเพื่อแก้ปัญหา นักเขียนโปรแกรมอาจไม่ต้องการทำงานใดๆ เมื่อผลของเงื่อนไขเป็นเท็จก็ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sequential structure | โครงสร้างแบบลำดับ, โครงสร้างการทำงานแบบเป็นขั้นตอนเพื่อแก้ปัญหาจะทำงานตามคำสั่งที่เขียนไว้ตามลำดับ ตั้งแต่คำสั่งแรก ไปจนถึงคำสั่งสุดท้าย โดยที่คำสั่งในที่นี้อาจเป็นคำสั่งเดี่ยวๆ หรือเป็นคำสั่งเชิงซ้อนที่มีหลายคำสั่งย่อย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
The American National Standard Institute (ANSI) | สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา, องค์กรที่กำหนดรายละเอียดของสัญลักษณ์และความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในผังงานอธิบายขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา เพื่อให้สามารถสื่อความหมายที่ตรงกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technological process | กระบวนการเทคโนโลยี, การแก้ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์อย่างเป็นขั้นตอน ประกอบด้วย กำหนดปัญหาหรือความต้องการ รวบรวม ข้อมูล เลือกวิธีการ ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแก้ไข และประเมินผล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
communication of result | การถ่ายทอดความคิด, การอธิบายและสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจถึงแนวคิดที่ใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการให้เป็นรูปธรรม แบ่งเป็น 2 รูปแบบ ได้แก่ การถ่ายทอดความคิดเป็นชิ้นงาน และการถ่ายทอดความคิดเป็นวิธีการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
sketch | ภาพร่าง, ภาพที่แสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ เกิดจากการลำดับความคิดหรือจินตนาการในสิ่งที่เราต้องการจะอธิบายอย่างเป็นขั้นตอน แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ ภาพร่าง 2 มิติ ภาพร่าง 3 มิติ และภาพฉาย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
two-dimensional sketch | ภาพร่าง 2 มิติ, ภาพที่นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการประกอบด้วย ด้านกว้าง และด้านยาว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
three-dimensional sketch | ภาพร่าง 3 มิติ, ภาพที่นำเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการประกอบด้วย ด้านกว้าง ด้านยาว และด้านสูง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
orthographic drawing | ภาพฉาย, ภาพแสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ภาพด้านข้าง และภาพด้านบน แสดงขนาด สัดส่วน มาตราส่วนและหน่วยในการวัด เพื่อสามารถนำไปสร้างแบบจำลองหรือต้นแบบได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
conceptual model | แบบจำลองความคิด, ภาพร่าง แผนผังความคิด ผังงาน หรือแผนภูมิ เพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจวิธีการที่ใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ โดยแสดงลำดับขั้นตอนความคิดของการทำงานในระบบงานหนึ่ง ๆ ในภาพรวม เพื่อแสดงให้เห็นว่าระบบงานมีการทำงานหรือวิธีการทำงานอย่างไร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
design [ technological design ] | การออกแบบ(ทางเทคโนโลยี), การลำดับความคิดหรือจินตนาการเป็นขั้นตอน นำไปสู่การวางแผนการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
design and technology | การออกแบบและเทคโนโลยี, การเรียนรู้เพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในการแก้ปัญหา และสนองความต้องการอย่างสร้างสรรค์ โดยใช้ความรู้และกระบวนการเทคโนโลยี สร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำรงชีวิตและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
creativity | ความคิดสร้างสรรค์, ความสามารถทางสมองของมนุษย์ที่คิดได้กว้างไกล หลายแง่มุม หลายทิศทาง นำไปสู่การคิดประดิษฐ์สิ่งของ และแนวทางการแก้ปัญหาใหม่ โดยอาศัยข้อมูล ความรู้ และประสบการณ์ ความคิดสร้างสรรค์ มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคิดคล่อง ความคิดยืดหยุ่น ความคิดละเอีย [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technology evolution | วิวัฒนาการของเทคโนโลยี, พัฒนาการของสิ่งของเครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรือวิธีการ ซึ่งมีเหตุผลและปัจจัยของการเปลี่ยนแปลงเพื่อแก้ปัญหา สนองความต้องการ หรือเพิ่มความสามารถในการทำงานของมนุษย์ โดยมีการปรับปรุงกระบวนการผลิต ลักษณะทางกายภาพ วัสดุ หน้าที่ใช้สอย การใช้งาน รวมถึงประสิทธิภาพอย่า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technological system | ระบบเทคโนโลยี, ระบบที่มีองค์ประกอบทางเทคโนโลยี และทำงานสัมพันธ์กันอย่างเป็นลำดับขั้นตอน ในการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ จนบรรลุวัตถุประสงค์ ได้แก่ ตัวป้อน กระบวนการ ผลผลิต ทรัพยากรทางเทคโนโลยี และปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
output | ผลผลิต, ผลิตภัณฑ์ ชิ้นงาน หรือวิธีการ ที่ได้มาหรือเกิดจากกระบวนการเทคโนโลยี ซึ่งสามารถตอบสนองต่อตัวป้อนในระบบเทคโนโลยี และสามารถนำไปแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์ได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
technological project | โครงงานเทคโนโลยี, โครงงานที่เกี่ยวกับการนำความรู้ ทักษะ และทรัพยากรที่มีอยู่มาสร้างหรือพัฒนา เครื่องมือ เครื่องใช้ แบบจำลองหรือวิธีการเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ โดยมีขั้นตอนการทำงานอยู่บนพื้นฐานของกระบวนการเทคโนโลยี [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Guidance, Anticipatory | แนะแนวทางแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ในการปรับตัวของ [การแพทย์] |
Intellectual Process Level Problem Solving | ความรู้ความสามารถในแง่การแก้ปัญหา [การแพทย์] |
Learning, Experimental | การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
แก้ปัญหา | [kaē panhā] (v) EN: solve a problem ; resolve a problem ; settle a question ; settle an issue ; work out a solution ; deal with FR: résoudre un problème ; résoudre une difficulté ; solutionner un problème ; rechercher une solution |
แก้ปัญหาคณิฅศาสตร์ | [kaē panhā khanittasāt] (v, exp) EN: solve a mathematical problem FR: résoudre un problème mathématique [ m ] |
การแก้ปัญหา | [kān kaē panhā] (n, exp) EN: remedy ; solution ; problem solving FR: solution [ f ] ; remède [ m ] ; résolution d'un problème [ f ] |
ข้อแก้ปัญหา | [khø kaē panhā] (n, exp) EN: solution FR: solution [ f ] ; réponse [ m ] |
ทางแก้ปัญหา | [thāng kaē] (n, exp) EN: solution FR: solution [ f ] |
ทางแก้ปัญหา | [thāng kaē panhā] (n, exp) EN: solution FR: solution [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
civil society | (n) ประชาสังคม เป็นการรวมกลุ่มของประชาชนโดยมีจิตสำนึกร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาของสังคม เช่น Civil society is much talked about, but rarely understood. John Edwards explores the practical and theoretical significance of civil society. |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
algorithm | (n) ลำดับขั้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา |
answer | (n) วิธีแก้ปัญหา, Syn. solution, discovery, solution |
arrive | (vi) แก้ปัญหาได้, See also: หาทางออกได้ |
brainstorm | (vi) ถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา, Syn. confer |
brainstorm | (adj) เกี่ยวกับการถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา |
fix | (n) การแก้ปัญหา, Syn. solution |
hash out | (phrv) พูดคุยกันนานในเรื่องที่เป็นปัญหา (คำไม่เป็นทางการ), See also: ใช้เวลามากในการแก้ปัญหา, Syn. thrash out |
hawk | (n) ผู้สนับสนุนนโยบายทางการทหารเพื่อแก้ปัญหาระหว่างประเทศมากกว่านโยบายทางการทูต, See also: ผู้ใฝ่สงคราม |
hawkish | (adj) ซึ่งชอบที่จะใช้นโยบายทางการทหารเข้าแก้ปัญหาระหว่างประเทศมากกว่านโยบายทางการทูต, See also: ซึ่งกระหายสงคราม, Ant. dovish |
heuristic | (adj) ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนค้นหาวิธีแก้ปัญหาต่างๆ ด้วยตัวเอง |
heuristic | (adv) ที่ช่วยค้นหา, See also: ที่ช่วยให้เรียนรู้, ที่ช่วยแก้ปัญหา, คอมพิวเตอร์ ที่ค้นหาหลายคำตอบและเลือกคำตอบที่ดีที |
hit on | (vt) นึกออก, See also: คิดถึงวิธีแก้ปัญหาออก, Syn. hit upon |
not able to see the wood for the trees | (idm) เห็นหนทางแก้ปัญหา |
impassable | (adj) ซึ่งไม่สามารถเอาชนะได้, See also: ซึ่งไม่อาจแก้ปัญหาได้ |
oversimplify | (vt) อธิบายหรือแก้ปัญหาง่ายเกินไป (โดยไม่สนใจความจริง), Syn. over reduce, make too simple |
problematic | (adj) ที่ยากจะแก้ปัญหาได้, See also: ที่เป็นปริศนา, Syn. doubtful, problematical, debatable |
problematical | (adj) ที่ยากจะแก้ปัญหาได้, See also: ที่เป็นปริศนา, Syn. problematic |
problem-solving | (n) การแก้ปัญหา |
pour oil on troubled waters | (idm) พยายามแก้ปัญหา, See also: พยายามยุติความรุนแรง |
remedial | (adj) ซึ่งช่วยปรับปรุง, See also: ซึ่งช่วยแก้ไข; ซึ่งช่วยแก้ปัญหา, Syn. improving, reformative |
resolution | (n) การแก้ปัญหา, Syn. resolving |
resolve | (vt) แก้ปัญหา, See also: ตอบข้อข้องใจ, ขจัดข้อสงสัย, Syn. answer, clean up |
resolvent | (adj) ซึ่งช่วยแก้ปัญหา |
resourceful | (adj) เต็มไปด้วยความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดี, See also: อุดมสมบูรณ์, มีหัวดี, Syn. ingenious, inventive, capable, creative, Ant. uncreative, unimaginative |
resourcefully | (adv) อย่างมีความคิดริเริ่มและสามารถแก้ปัญหาได้ดี |
resourcefulness | (n) การแก้ปัญหาได้ดี, See also: การมีสติปัญญาดี |
cushy number | (sl) ของกล้วยๆ, See also: ของง่ายๆ, สิ่งที่สามารถแก้ปัญหาได้ง่าย |
self-help | (n) การรวมกลุ่มเพื่อช่วยเหลือตนเอง, See also: การพึ่งพาตนเอง, การกระอิสระ, การแก้ปัญหาด้วยตนเอง, Syn. independence |
settle | (vt) ตัดสินใจ, See also: แก้ปัญหา, Syn. decide, resolve |
settle | (vi) ตัดสิน, See also: แก้ปัญหา, Syn. decide, resolve |
settlement | (n) การจัดการ, See also: การแก้ปัญหา } การทำข้อตกลง, ข้อตกลง, Syn. arrangement, contract, covenant |
settler | (n) ผู้จัดการ, See also: ผู้แก้ปัญหา, ผู้ตั้งรกราก, ผู้ตั้งถิ่นฐาน, ผู้ชำระหนี้, Syn. planter, homesteader, immigrant |
soluble | (adj) ที่แก้ปัญหาได้, See also: ซึ่งคลี่คลายได้, Syn. resolvable |
solution | (n) วิธีแก้ปัญหา, See also: คำตอบ, คำอธิบาย, Syn. explication, resolution, clarification |
solvable | (adj) ซึ่งแก้ปัญหาได้ |
solve | (vt) แก้ปัญหา, Syn. resolve, untangle |
solver | (n) ผู้ที่สามารถแก้ปัญหาได้ |
smooth out | (phrv) ทำให้หลุดพ้นปัญหา, See also: แก้ปัญหา |
tackle | (vt) จัดการแก้ปัญหา, See also: จัดการ, รับมือ, ควบคุม, Syn. deal with, undertake |
troubleshooter | (n) ผู้แก้ปัญหา |
vicious circle | (n) สถานการณ์หมุนเวียนที่ใช้แก้ปัญหาแต่ยิ่งทำให้เลวร้ายมากขึ้น |
Hope Dictionary
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
bionics | (ไบออน'นิคซฺ) n. การศึกษาเกี่ยวกับการปฎิบัติงานและการแก้ปัญหาของมนุษย์และสัตว์เพื่อนำไปใช้ผลิตคอมพิวเตอร์และเครื่องมืออิเล็กทรอนิกอื่น ๆ |
brainstorming | n. การถกเถียงอย่างเปิดเผยเพื่อแก้ปัญหา |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ |
eliza | (เอลิซา) เป็นชื่อโปรแกรมประเภทปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligence) ที่มีชื่อเสียงมากโปรแกรมหนึ่ง กล่าวคือ เป็นโปรแกรมที่เขียนขึ้นให้ทำหน้าที่แทนจิตแพทย์ วิธีการก็คือ เราจะต้องพิมพ์ปัญหาของตัวเองใส่ลงในคอมพิวเตอร์ โปรแกรมนี้จะช่วยวิเคราะห์ปัญหา และแนะนำวิธีการแก้ปัญหาให้ |
expert system | ระบบผู้เชี่ยวชาญหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ ระบบนี้จะรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ซึ่งพวกมืออาชีพหรือผู้ชำนาญการได้รวบรวมไว้ กับต้องมีวิธีการที่จะใช้ในการประมวลผล โดยการตั้งคำถามให้ตอบ โปรแกรมประเภทนี้ จะต้องนำคำตอบเหล่านั้นมาประมวลผล เปรียบเทียบกับข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว หาข้อสรุปให้ หรือช่วยแก้ปัญหาให้ คำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบนี้ ถือว่าเป็นคำตอบที่เหมือนกับที่ผู้เชี่ยวชาญจะตอบ |
fragmentation | การแยกส่วนหมายถึง อาการอย่างหนึ่งที่มักจะเกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ที่ ใช้มาเป็นเวลานานแล้ว ในฮาร์ดดิสก์นั้น เมื่อมีการสั่งบันทึก ข้อมูลลงไป แล้วมาสั่งลบภายหลัง ก็จะทำให้มีที่ว่างเกิดขึ้นเป็นหย่อม ๆ ฉะนั้น เมื่อมีการนำแฟ้มข้อมูลใหม่ บันทึกลงไป คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการ แบ่งแฟ้มใหม่นี้ให้ได้ สัดส่วนพอดีกับช่องที่ว่างอยู่ก่อน บางที แฟ้มเดียวกันจึงต้อง ถูกเก็บเป็นหย่อม ๆ การเก็บแฟ้มข้อมูลในลักษณะนี้ เรียกว่า เป็นการเก็บแยกส่วน ในโปรแกรมระบบดอสรุ่น 6.0 จะมีคำสั่ง "DE FRAG" ซึ่งจะช่วยแก้ปัญหา ในเรื่องนี้ได้ |
heuristics | วิทยาการศึกษาสำนึกหมายถึง วิธีการแก้ปัญหาที่ดูเหมือนว่าจะไม่มีแนวทางหรือกฎเกณฑ์ที่ชัดเจนตายตัว เช่น ในเกมหมากรุก คงมีแต่การทดลองหรือคาดเดาหลาย ๆ ทางให้ตัดสินเลือกทางที่คิดว่าจะได้ผลดีที่สุด ซึ่งมักจะใช้ผลจากประสบการณ์ที่ผ่านมา ตรงข้ามกับกับ "สามัญสำนึก" หรือ common sense |
input | (อิน'พุท) n. สิ่งที่ใส่เข้า, สิ่งที่ป้อนเข้า, การป้อนเข้า, การนำเข้า, ด้านเข้า, ทางเข้า, กำลังกระแสไฟฟ้า, กำลังโวลท์, ข้อมูลสำหรับแก้ปัญหา, ข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่องคำนวณเครื่องคอมพิวตอร์, เงินบริจาค. adj. เกี่ยวกับข้อมูลที่ป้อนเข้า |
knowlelge-based | ฐานความรู้เป็นส่วนที่สำคัญที่สุดในระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) หมายถึง ข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อใช้เป็นฐานในการตัดสินใจของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในระบบผู้เชี่ยวชาญนี้ ฐานข้อมูลส่วนมากจะประกอบไปด้วยคำสั่งประเภท ถ้า...... (IF) มากทีเดียว ดู expert system และ artificial intelligence ประกอบ |
linear programming | กำหนดการเชิงเส้นเป็นเทคนิคในการคำนวณเพื่อหาผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ในการแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะ การแก้ปัญหาชนิดนี้เป็นการแก้ปัญหาด้วยการหาค่าที่ดีที่สุดขึ้นมาชุดหนึ่ง เช่น การหาสัดส่วนของผสมเพื่อให้ได้ส่วนผสมที่ดีที่สุด มีค่ามากที่สุด และใช้ต้นทุนน้อยที่สุดเป็นต้น |
programmer | นักเขียนโปรแกรมนักเขียนชุดคำสั่งหมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
programming | การเขียนโปรแกรมการสร้างโปรแกรมหมายถึง การเขียนหรือสร้างคำสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้ตามที่ต้องการ ด้วยภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ (สามารถแปลได้) ในการเขียนโปรแกรมนี้ ผู้เขียนจะต้องเข้าใจถึงขั้นตอนการแก้ปัญหา วิธีการแก้ รวมทั้ง ศัพท์และไวยากรณ์ ตลอดจนกฎเกณฑ์ของภาษาที่เลือกใช้ ดู programming language ประกอบ |
puzzle | (พัส'เซิล) n. ปัญหา, ปัญหายุ่งยาก, ปริศนา, เรื่องฉงนสนเท่ห์, สภาวะที่ซับซ้อน vt. ทำให้ฉงนสนเท่ห์, ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่ง. vi. ครุ่นคิดหนัก, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, See also: puzzle out แก้ปัญหาโดยความพยายามหรือไตร่ตรอง puzzledly adv. puzzlingly adv. |
resolution | (เรซซะลู'เชิน) n. ความแน่วแน่, ความเด็ดเดี่ยว, การยืนหยัด, การตัดสินใจแล้ว, มิติ, การลงมติ, การแก้ปัญหา, การยุบลงของส่วนที่บวมหรืออักเสบ , ความคมชัดหมายถึง ความละเอียดของภาพ โดยจะนับจุดเล็ก ๆ ในภาพนั้น ยิ่งมีมากจุดต่อนิ้วก็ยิ่งแสดงว่าภาพนั้นมีความคมชัด เช่น อาจใช้วัดประสิทธิภาพของเครื่องพิมพ์เลเซอร์ (laser printer) ว่า สามารถพิมพ์ได้ 300 - 600 จุดต่อนิ้ว เป็นต้น ถ้าเป็นชนิดดีมากควรจะพิมพ์ได้ถึง 2, 400 จุดต่อนิ้ว ส่วนความละเอียดของจอภาพ มักจะวัดทั้งความกว้างและยาว เช่น 320 X 200 แสดงว่าจุดมีขนาดใหญ่ แต่ถ้าเป็น 1240 X 800 แสดงว่าจุดมีขนาดเล็ก หมายความว่า ภาพคมชัดกว่า เมื่อใช้อธิบายถึงภาพสี คำ resolution ใช้บอกจำนวนสีที่สามารถแสดงได้ในแต่ละครั้ง ถ้าความคมชัดต่ำ จะแสดงสีได้ครั้งละมาก ๆ ซึ่งทำให้มีความรู้สึกเหมือนกับว่า ภาพนั้นมีความคมชัดมาก ภาพที่มีความคมชัดมากจริง ๆ จะแสดงสีได้น้อยสีในคราวเดียวกัน โดยปกติ มักใช้คำ high res และ low res เป็นคำย่อว่า ความคมชัดมากหรือน้อยดู high resolutution และ low resolution ประกอบ, Syn. resolve, determination |
resolvable | (รีซอล'วะเบิล) adj. แก้ไขได้, แก้ปัญหาได้, ละลายได้, See also: resolvability n. resolvableness n. |
resolvent | (รีซอล'เวินทฺ) adj. เกี่ยวกับการละลายหรือการแตกแยก n. ยาที่ทำให้การบวมหรือการอักเสบหายไป, วิธีแก้ปัญหา |
satisfy | (แซท'ทิสไฟ) vt., vi. ทำให้พอใจ, สนองความพอใจ, ทำให้จุใจ, ทำให้แน่ใจ, แก้ปัญหา, ขจัด, ชำระหนี้, ชดเชย, ทดแทน, See also: satisfiable adj. satisfier n. satisfyingly adv., Syn. repay, pay, disburse |
settlement | (เซท'เทิลเมินทฺ) n. การจัดการ, การแก้ปัญหา, การชำระหนี้, การชำระบัญชี, การตั้งถิ่นฐาน, การตั้งรกราก, การตั้งหลักฐาน, การตั้งกิจการ, นิคม, อาณานิคม, ชุมชน, การมอบทรัพย์สิน, ทรัพย์สิน, กองทุน, ถิ่นที่อยู่ตามกฎหมาย, การค่อย ๆ จมลง |
settler | (เซท'เลอะ) n. ผู้จัดการ, ผู้แก้ปัญหา, ผู้ตั้งรกราก, ผู้ตั้งถิ่นฐาน, ผู้ชำระหนี้, เครื่องกรอง, ลักษณะเด็ดขาด, ลักษณะชี้ขาด |
solution | (ซอลลิว'เชิน) n. ทางออก, วิธีแก้, การแก้ปัญหา, การอธิบาย, คำตอบ, วิธีการ, สารละลาย, การละลาย, ส่วนผสมเป็นเนื้อเดียวกันของสารตั้งแต่สองอย่างขึ้นไป., Syn. mix, mixture, compound, explanation |
solve | (ซอลว) vt. แก้ปัญหา, แก้ไข, แก้, อธิบาย, หาคำตอบ., See also: solver n., Syn. unravel |
solvent | (ซอล'เวินทฺ) adj. สามารถละลาย, ทำให้ละลาย, สามารถชำระหนี้. n. ตัวละลาย, ตัวแก้ปัญหา, สิ่งที่อธิบาย. |
tackle | (แทค'เคิล) n. กว้าน, การจับคนที่พาลูกวิ่งในกีฬารักบี้. vt. จัดการ แก้ปัญหา, รับมือ, เล่นงาน, จับคนที่พาลูกมือวิ่งในกีฬารักบี้., See also: tackler n., Syn. try, undertake |
trouble shooter | ผู้แก้ปัญหาตัวแก้ปัญหาหมายถึงผู้ที่จะทำการแก้ปัญหาในขณะที่มีปัญหาเกี่ยวกับฮาร์ดแวร์ โดยจะค่อย ๆ หาจุดบกพร่องไปทีละเรื่อง มีความหมายคล้าย ๆ debug ในเรื่องของซอฟต์แวร์ |
troubleshooter | (ทรับ'เบิลชุทเทอะ) n. ผู้เชี่ยวชาญในการแก้ปัญหา, ช่างซ่อม, ช่างซ่อมเครื่องจักร, มือแก้ปัญหา., Syn. mischief-shooter |
turing machine | หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ง่าย ๆ แบบหนึ่ง A.M.Turing เป็นผู้ออกแบบสร้างขึ้นในราวทศวรรษ 1930 ว่ากันว่า เครื่องนี้สามารถแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ ถ้าส่งปัญหา เข้าไปโดยมีขั้นตอนวิธี (algorithm) |
Nontri Dictionary
resolution | (n) การแก้ปัญหา, มติ, ความเด็ดเดี่ยว, ความแน่วแน่ |
resolve | (vi, vt) แก้ปัญหา, ตกลงกัน, ตัดสินใจ, ลงมติ, กระจาย |
solubility | (n) ความสามารถในการแก้ปัญหา, ความสามารถในการละลาย |
soluble | (adj) แก้ปัญหาได้, ละลายน้ำได้ |
solution | (n) การละลายน้ำ, การแก้ปัญหา, ทางออก, คำตอบ, วิธีแก้ |
solve | (vt) แก้ไข, แก้ปัญหา, หาคำตอบ |
solvent | (n) ตัวแก้ปัญหา, ตัวทำละลาย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
crowdsource | (vt, uniq) เป็นการรวมกันของคำว่า Crowd + Outsourcing คือการกระจายปัญหาไปยังกลุ่มค้นเพื่อค้นหาคำตอบ และวิธีการในการแก้ปัญหาทางธุรกิจนั้นๆ บริษัทสามารถ broadcast คำถามหรือปัญหาที่ต้องการคำตอบไปยังกลุ่มคนขนาดใหญ่เพื่อให้ได้มาซึ่งวิธีการใหม่ ๆ Crowd หรือ User ส่วนมากในการทำ Crowdsourcing เราจะหมายถึงกลุ่มชุมชน Online |
Crowdsourcing | การร่วมสร้างสรรค์ของกลุ่มคน (Crowd) เพื่อร่วมกันทำ หรือสร้างสิ่งต่างๆ รวมถึงแก้ไขปัญหาร่วมกัน จนกลายเป็นเทรนด์ฮิต ของการทำกิจกรรมในการตลาดออนไลน์ผ่าน Digital Campaign และการโฆษณาออนไลน์ Crowdsourcing ถอดออกมาเป็นคำว่า Crowd และ Outsourcing เป็นการกระจายปัญหาหรือวัตถุประสงค์บางอย่างเพื่อให้กลุ่มคนหรือชุมชนออนไลน์ มาร่วมกันแก้ปัญหาหรือทำอะไรตามวัตถุประสงค์นั้นๆ |
figuring out | (n) การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา |
spectrum | (n) ความคิด วิธีการซึ่งมีหลากหลายและสัมพันธ์หรือมีผลกระทบต่อกัน (ที่จะทำอะไรสักอย่างหนึ่ง เช่นวิธีแก้ปัญหาคนไร้ที่อยู่อาศัย) |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
Longdo Approved JP-TH
解決 | [かいけつ, kaiketsu] (vt) การแก้ปัญหา / การจัดการกับ ปัญหาหรือความลำบากหรือความยุ่งยาก ให้ดีขึ้นหรือหมดไป / ทางออกของปัญหา |
Longdo Approved DE-TH
Lösung | (n) |die, pl. Lösungen| เฉลย, ทางแก้ปัญหา |
beheben | (vi) |behob, hat behoben| แก้ไข เช่น ein Problem beheben แก้ปัญหา |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.9721 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม