446 ผลลัพธ์ สำหรับ *ห้าม*
ภาษา
หรือค้นหา: ห้าม, -ห้าม-Longdo TH - TH
คำต้องห้าม | คำด่าเหล่านี้ผู้ใช้อาจมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 393 ฐานดูุหมิ่นผู้อื่นซึ่งหน้า: อีดอก, อีเหี้ย, อีสัตว์, อีควาย, อีตอแหล, ไอ้ระยำ, ไอ้เบื๊อก, ไอ้ตัวแสบ, เฮงซวย, ผู้หญิงต่ำๆ, พระหน้าผี, พระหน้าเปรต, มารศาสนา, ไอ้หน้าโง่, อีร้อย...(ตามด้วยคำลามก), อีดอกทอง ที่มา: http://www.komchadluek.net/news/scoop/287099 |
Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Contra-indication | สิ่งขัดแย้ง, ข้อบ่งห้าม(ใช้) |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ห้าม | (v) forbid, See also: prohibit, disallow, ban, Thai Definition: ให้เว้นกระทำ, ไม่ให้ทำตามที่กำหนดไว้ |
ห้ามใจ | (v) restrain oneself, See also: suppress/control one's feeling, Syn. ระงับใจ, ข่มใจ, ยับยั้งใจ, Ant. ปล่อยใจ, ตามใจ, Example: เธอควรห้ามใจตัวเองเสียบ้าง ไม่ใช่ตามใจตัวเองแบบนี้ |
ข้อห้าม | (n) prohibition, See also: ban, taboo, forbiddance, Syn. ข้อจำกัด, ข้อละเว้น, ข้อกำหนด, ข้อบังคับ, Example: ศาสนาแต่ละศาสนาต่างก็มีข้อห้ามที่เป็นไปในทางเดียวกันคือไม่ให้ทำความชั่ว, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: สิ่งที่ให้เว้นกระทำหรือไม่ให้ทำตามที่กำหนดไว้ |
นางห้าม | (n) royal concubine, See also: prince's concubine, Syn. นางสนม, หม่อมห้าม, Example: เธอถูกเลือกเข้าไปเป็นนางห้ามอยู่ในวัง, Count Unit: คน, Thai Definition: หญิงสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้านายที่ไม่ใช่สะใภ้หลวง |
หวงห้าม | (v) forbid, See also: restrict, prohibit, Syn. ห้าม, Ant. อนุญาต, Example: ผู้ใหญ่แสนจะหวงห้ามไม่ให้ลูกหลานผู้หญิงออกจากบ้าน ยามตะวันลับดวงไปแล้ว, Thai Definition: ห้ามกันไว้ |
หวงห้าม | (adj) forbidden, See also: prohibited, restricted, Ant. อนุญาต, Example: กฎหมายห้ามทำการประมงในเขตหวงห้าม เพื่อสงวนไว้เป็นที่วางไข่และหลบซ่อนของลูกปลาวัยอ่อน, Thai Definition: เกี่ยวกับการห้ามกันไว้ |
หักห้าม | (v) restrain, See also: suppress, repress, control, check, Syn. ยับยั้งใจ, ระงับ, อดกลั้น, หักห้ามใจ, Example: ในบางครั้งเราต้องรู้จักหักห้ามใจในสิ่งที่อยากได้ |
หักห้าม | (v) restrain, See also: repress, hinder, hold, constrain, confine, Syn. ยับยั้งใจ, ระงับ, อดกลั้น, ข่มใจ, Example: การที่จะหักห้ามใจไม่ทำในสิ่งที่ตนเองปรารถนาไม่ใช่เรื่องง่าย |
ห้ามทัพ | (v) try to stop people from quarreling, Syn. ยับยั้งศึก, ห้ามศึก, Example: บ่อยๆ ครั้งที่เขาต้องคอยห้ามทัพศึกตีฝีปากระหว่างพนักงานด้วยกัน |
ห้ามล้อ | (n) brake, Syn. เบรก, Example: รถยนต์สมัยก่อนห้ามล้อไม่ค่อยจะทนทานนัก, Thai Definition: กลอุปกรณ์ชนิดหนึ่งใช้สำหรับลดความเร็วแห่งการหมุนของล้อรถ |
ห้ามล้อ | (v) brake, See also: stop, cease, Syn. เบรก, Example: คนขี่จักรยานห้ามล้อเกือบไม่ทัน |
ต้องห้าม | (adj) forbidding, See also: prohibitive, contraband, Ant. อนุญาต, Example: สินค้าต้องห้ามในการนำเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาคือยาเสพติดและงาช้าง, Thai Definition: แตะต้องไม่ได้, ยุ่งเกี่ยวไม่ได้ |
สั่งห้าม | (v) prohibit, See also: forbid, interdict, obstruct, prevent, ban, Example: นายกฯ สั่งห้ามเกษตรฯ โยกย้ายระดับ 10 ก่อนปรับโครงสร้างกระทรวงเสร็จ, Thai Definition: ชี้แจ้งไว้เพื่อห้ามปฏิบัติ |
ห้ามญาติ | (n) style of Buddha image, Syn. ปางห้ามญาติ, Example: พระปางห้ามญาติมีอยู่แทบทุกวัด, Thai Definition: พระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระกาย พระหัตถ์ขวาแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ เป็นกิริยาห้าม |
ห้ามปราม | (v) dissuade, See also: warn, discourage, deter, Syn. ห้าม, Example: ลูกชายกับลูกสะใภ้ทะเลาะตบตีแล้วร้องไห้เสียงลั่นจนผู้เป็นแม่ต้องออกมาห้ามปราม, Thai Definition: สั่งไม่ให้ทำ |
ห้ามเข้า | (v) no entry, See also: no admittance |
หม่อมห้าม | (n) king's plebeian concubine, Example: พระบรมวงศานุวงศ์ทุกพระองค์เข้าเฝ้าอาการประชวร รวมไปถึงเจ้าจอม, หม่อมห้าม, ขุนนางน้อยใหญ่, Count Unit: คน, Thai Definition: หญิงสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้านาย, ใช้คำนำหน้านามว่า หม่อม |
ห้ามสมุทร | (n) style of Buddha image, Syn. ปางห้ามสมุทร, Example: พระปางห้ามสมุทรก็พอหาดูได้, Thai Definition: พระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้ง 2 แบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ เป็นกิริยาห้าม |
ห้ามเลือด | (v) stop the bleeding, See also: stanch/staunch the bleeding, Example: เราพยายามห้ามเลือดที่ไหลออกมาจากแผลของเขาไม่หยุด, Thai Definition: ทำให้เลือดหยุดไหลด้วยวิธีการต่างๆ |
คำต้องห้าม | (n) taboo, See also: offensive word, prohibited word, lewd word, profanity, obscenity, obscene word, Thai Definition: คำที่ห้ามพูดเพราะมีความหมายส่อไปทางลบเช่น ทางเพศ ความชั่วร้าย |
เขตหวงห้าม | (n) forbidden ground, See also: out-of-bounds area, forbidden area, Syn. พื้นที่หวงห้าม |
ป้ายห้ามจอด | (n) no-parking sign, Example: ไม่ว่าจะไปที่ไหนก็เจอแต่ป้ายห้ามจอดทั้งนั้น คราวหลังฉันจะไม่ขับรถมาแถวนี้อีกแล้ว, Count Unit: ป้าย, Thai Definition: แผ่นสัญลักษณ์ที่มีเครื่องหมายสื่อความว่าห้ามจอดรถ |
สิ่งต้องห้าม | (n) prohibition, See also: ban, Syn. เรื่องต้องห้าม, ของต้องห้าม |
สินค้าต้องห้าม | (n) prohibited goods, Example: ทางศุลกากรเริ่มจริงจังกับสินค้าต้องห้ามอย่างเคร่งครัด |
ห้ามเดินลัดสนาม | (v) keep off the grass |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ชิงสุกก่อนห่าม | ก. ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน), ใช้เป็นคำสอนหรือเตือนสติว่า อย่าชิงสุกก่อนห่าม. |
ตราภูมิคุ้มห้าม | น. หนังสือราชการประจำตัวไพร่หลวงสำหรับบางหมู่บางพวก เดิมเพื่อได้รับการลดหย่อนภาษีอากรต่าง ๆ หรือได้รับยกเว้นการเกณฑ์แรงงานตามที่กำหนดให้ ต่อมาเหลือเพียงการลดหย่อนภาษีอากร. |
นางห้าม | น. สตรีผู้เนื่องในพระราชวงศ์หรือสตรีสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้านาย, เดิมเรียกว่า ห้าม ต่อมาเรียกว่า นางห้าม หม่อมห้าม และ หม่อม ตามลำดับ. |
ไม้หวงห้าม | น. ไม้ซึ่งการทำไม้และการเคลื่อนย้ายจะต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือได้รับสัมปทานตามกฎหมายป่าไม้. |
สุกก่อนห่าม | ว. ที่ทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงาน) เช่น ใครเขาจะเอาเยี่ยงอย่างอีซนซุก อีสุกก่อนห่าม มันมาอยู่สักกี่วันกี่เดือน นี่มันจะมาตั้งเตือนต่อก่อความให้ขุ่นไปทั้งบ้าน (ม. ร่ายยาว ชูชก). |
หม่อมห้าม | น. สตรีผู้ที่เนื่องในพระราชวงศ์หรือสตรีสามัญที่เป็นภรรยาของเจ้านาย, เดิมเรียกว่า ห้าม ต่อมาเรียกว่า นางห้าม หม่อมห้าม และ หม่อม ตามลำดับ. |
หวงห้าม | ก. กันไว้โดยเฉพาะ เช่น ผลไม้ในสวนนี้เจ้าของไม่หวงห้าม จะเก็บไปกินก็ได้. |
หวงห้าม | ว. ที่กันไว้โดยเฉพาะ เช่น เขตหวงห้าม เข้าได้เฉพาะผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้อง. |
หักห้าม | ก. ยับยั้งใจ. |
ห่าม | ว. จวนสุก (ใช้แก่ผลไม้) |
ห่าม | มีนิสัยมุทะลุ ห้าวหาญบ้าบิ่น ผิดปรกติวิสัย. |
ห้าม | ก. ให้เว้นกระทำ, ไม่ให้ทำตามที่กำหนดไว้. |
ห้าม | น. เรียกภรรยาของเจ้านายที่ไม่ใช่สะใภ้หลวง ว่า นางห้าม, เรียกหญิงสามัญที่เป็นเมียของเจ้านาย ว่า หม่อมห้าม. |
ห้ามเข้าเขตกำหนด | น. วิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งที่ศาลใช้ห้ามผู้ถูกลงโทษและพ้นโทษแล้วเข้าในเขตที่กำหนดได้ไม่เกิน ๕ ปี. |
ห้ามญาติ | น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระกายตามปรกติ พระหัตถ์ขวาแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระยื่นออกไปข้างหน้า เป็นกิริยาห้าม. |
ห้ามทัพ | ก. ยับยั้งศึก, โดยปริยายหมายความว่า ยับยั้งการทะเลาะวิวาทกัน. |
ห้ามปราม | ก. สั่งไม่ให้ทำ. |
ห้ามพระแก่นจันทน์ | น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ขวาห้อยลงข้างพระกาย พระหัตถ์ซ้ายแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ เป็นกิริยาห้าม. |
ห้ามไม่ให้ | ก. เป็นการย้ำไม่ให้ทำอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น ห้ามไม่ให้เขียน ห้ามไม่ให้พูด. |
ห้ามล้อ | ก. ยั้ง. น. กลอุปกรณ์ชนิดหนึ่งใช้สำหรับลดความเร็วแห่งการหมุนของล้อรถ. |
ห้ามเลือด | ก. ทำให้เลือดหยุดไหลด้วยวิธีการต่าง ๆ. |
ห้ามสมุทร | น. ชื่อพระพุทธ-รูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ทั้ง ๒ ข้างยกเสมอพระอุระ ตั้งฝ่าพระหัตถ์ยื่นออกไปข้างหน้า เป็นกิริยาห้าม ที่สร้างเป็นแบบพระทรงเครื่องก็มี. |
กรอด ๓ | (กฺรอด) ก. บรรเลงดนตรีประเภทเครื่องตีดำเนินทำนอง โดยวิธีบังคับหรือห้ามเสียงในช่วงท้ายให้สั้นลง มักใช้ในการตีระนาด ฆ้องวง และกรับเสภา. |
กระตุก | รั้งไว้, ห้ามไว้โดยเร็ว, เช่น เกือบจะมีเรื่องกับเขาแล้ว ดีว่าเพื่อนกระตุกไว้ |
กระเห่อ | ก. เห่อ เช่น คนห่ามกระเห่อทำ อวดรู้ (พระนลคำหลวง อารัมภกถา). |
กู่ไม่กลับ | ก. ไม่ฟังคำทัดทาน, ห้ามไม่อยู่. |
ขนอน ๑ | (ขะหฺนอน) น. สถานที่ซึ่งตั้งอยู่ในเส้นทางเข้าออกเมืองหรือเขตแดน เพื่อตรวจคนเข้าออก ผู้ลักลอบผ่านด่าน สิ่งของหรือสินค้าต้องห้าม และเรียกเก็บภาษีอากรสินค้า, ที่คอยเหตุและคนแปลกปลอม. |
ขยับเขยื้อน | (-ขะเยื่อน) ก. เคลื่อนที่, เลื่อนที่, ย้ายที่, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น หมอห้ามไม่ให้ขยับเขยื้อนเพราะกระดูกหัก. |
ขอที, ขอเสียที | ก. ห้ามเชิงขอร้อง, ขอให้ละเว้นการกระทำ. |
ขานนาค | ก. กล่าวตอบในเวลาที่พระคู่สวดสวดถามคุณสมบัติและโรคต้องห้ามเป็นภาษาบาลีในที่ประชุมสงฆ์ แล้วนาคผู้ขอบวชเป็นภิกษุตอบรับหรือปฏิเสธเป็นภาษาบาลีเช่นกัน. |
ขึงตา | ก. จ้องดูอย่างเขม็งด้วยอาการโกรธ หรือด้วยประสงค์จะห้าม. |
คดีอุทลุม | น. คดีที่บุคคลฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญา ซึ่งต้องห้ามตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่า ผู้ใดจะฟ้องบุพการีของตนเป็นคดีแพ่งหรือคดีอาญาไม่ได้. |
ค้นตัว | ก. ตรวจค้นตามร่างกาย เพื่อหาของกลาง ของต้องห้าม หรือของที่ผิดกฎหมาย เป็นต้น เช่น ตำรวจค้นตัวผู้ต้องสงสัย. |
คร่า | (คฺร่า) ก. ฉุดลากไปอย่างไม่ปรานี เช่น ถ้าเจรจาถึง ๒ ครั้งไซ้ให้คร่ามือออกไปจากพระโรงแลให้ห้ามเฝ้าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (สามดวง), ท่านให้มาว่ากล่าวร้องฟ้องณะโรงสานตามกระบินเมืองอย่าให้ตีด่าฉุดคร่าเอาโดยกำลังเองศักอันเลย (สามดวง) |
ค่าภาคหลวง | น. ค่าสิทธิซึ่งกฎหมายกำหนดให้ผู้ได้รับอนุญาตให้ทำการหาประโยชน์จากทรัพยากรของชาติต้องชำระให้แก่รัฐ เช่น ค่าภาคหลวงแร่ ค่าภาคหลวงไม้หวงห้าม. |
จนได้ | ว. ในที่สุดก็เป็นเช่นนั้น เช่น ห้ามแล้วยังไปทำอีกจนได้. |
จุ ๒, จุ ๆ | ว. เสียงดังเช่นนั้นอย่างเสียงดูดลมเข้าปากเพื่อดุ ห้าม หรือเตือนเป็นต้น. |
ซ้อนคัน | ก. จอดรถยนต์ขนาบข้างรถยนต์คันอื่น เป็นการกีดขวางทางจราจร เช่น ห้ามจอดรถซ้อนคัน. |
ดำนาณ | น. เครื่องห้าม, เครื่องป้องกัน, เครื่องต้านทาน, ที่พึ่ง, ที่อาศัย. |
ดำเนิน ๒ | ว. ห่าม, แก่ยังไม่จัด, (ใช้แก่ผลไม้บางชนิด), เช่น มะม่วงดำเนิน กล้วยดำเนิน ขนุนดำเนิน, ตำเนิน ก็ว่า. |
ตัดใจ | ก. ห้ามใจไม่ให้คิดในเหตุที่เกิดขึ้น. |
ตำเนิน ๑ | ว. ห่าม, แก่ยังไม่จัด, (ใช้แก่ผลไม้บางชนิด), เช่น มะม่วงตำเนิน กล้วยตำเนิน ขนุนตำเนิน, ดำเนิน ก็ว่า. |
ทรธึก | ว. ใช้เรียกวันในตำราหมอดู ว่า วันทรธึก หมายความว่า วันที่ห้ามทำการมงคลต่าง ๆ. |
ทัณฑ์บน | คำรับรองว่าจะไม่กระทำการที่ห้ามหรือกระทำความผิดอีกภายในเวลาที่กำหนด. |
ทัดทาน | ก. กล่าวหรือแสดงออกเป็นทำนองห้ามหรือท้วงเพื่อให้งดไว้. |
นาคเกี้ยวกระหวัด, นาคบริพันธ์ ๑ | (นากบอริพัน) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๒ คำต้นของวรรคต่อไปซ้ำกับ ๒ คำสุดท้ายของวรรคหน้า โดยให้สลับคำกัน เช่น พระปิตุรงค์ฟังบุตรเห็นสุดห้าม ห้ามสุดความคิดบุตรเห็นสุดหาญ หาญสุดไม่หยุดยั้งจะรั้งราญ ราญรั้งนานแน่วเนตรสังเวชบุตร (ศิริวิบุลกิตติ์). |
น้ำตาลใกล้มดใครจะอดได้ | น. ชายหญิงที่ใกล้ชิดกันมากย่อมห้ามใจไม่ให้รักกันได้ยาก. |
เนตบอล | น. กีฬาอย่างหนึ่ง คล้ายบาสเกตบอล มีผู้เล่นฝ่ายละ ๗ คน และส่งลูกบอลโดยวิธีโยนหรือขว้างเท่านั้น ห้ามเตะหรือตบลูกบอลกับพื้น. |
บวรโตฎก | (บอวอระโตดก) น. ชื่อกลอนกลบทแบบหนึ่ง กำหนดให้ ๓ พยางค์ต้นวรรคแต่ละวรรคเป็นสะคณะคือพยางค์เบา ๒ พยางค์ พยางค์หนัก ๑ พยางค์ เช่น ชลเนตรไหลนองร้องร่ำรัก ชลไนยไหลหนักอาวรณ์หวาม ชนนีห้ามบุตรสุดไม่ตาม ชลนานองน้ำพระเนตรนอง (สารานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ภาคฉันทลักษณ์). |
บังคับใจ | ก. ห้ามใจ, ข่มใจ, อดกลั้น |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
proscribed organization | องค์การที่ต้องห้าม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pre-contract | สัญญาห้ามทำสัญญาซ้อน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
permissions | กรณีที่ไม่มีกฎหมายห้ามไว้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
provisional injunction | คำสั่งห้ามชั่วคราว [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
preclude | ต้องตัดบท, ห้ามอ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prohibition | การห้าม, ข้อห้าม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
prohibition | การห้าม, ข้อห้าม, คำสั่งห้าม [ ดู inhibition ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prohibition, writ of | หมายห้ามของศาล [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
restrain | ๑. หน่วงเหนี่ยว, กักขัง, ควบคุมตัว (ก. อาญา)๒. จำกัด, ห้ามกระทำการ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
restraining order | คำสั่งให้งดเว้นกระทำการ, คำสั่งห้ามกระทำการ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
resale price maintenance | ข้อตกลงห้ามขายต่ำกว่าราคาที่กำหนด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
suppression | ๑. การห้ามไหล๒. การกด๓. การพยายามลืม (กลไกทางจิต) [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stop list, trade | รายชื่อผู้ต้องห้ามติดต่อค้าขาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
styptic | ๑. -สมาน (แผล)๒. ยาห้ามเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
anhidrotic; antihidrotic | ๑. สารห้ามเหงื่อ๒. -ห้ามเหงื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
access denied | ข้อความห้ามเข้าถึง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
absolute contraband | ยุทธปัจจัยต้องห้ามเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absolute contraband | ของต้องห้ามเด็ดขาด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
antihidrotic; anhidrotic | ๑. สารห้ามเหงื่อ๒. -ห้ามเหงื่อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
brake | เบรก, ห้ามล้อ [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mandatory injunction | คำสั่งศาลห้ามมิให้กระทำต่อไป [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
yellow dog contract | สัญญาที่ห้ามลูกจ้างเป็นสมาชิกสหภาพแรงงาน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
condemnation | ๑. การพิพากษาลงโทษทางอาญา (ป. วิ. อาญา)๒. การบังคับให้บุคคลกระทำหรืองดเว้นกระทำ การตามคำพิพากษา (ป. วิ. แพ่ง)๓. การประณาม, การพิพากษาของศาลทรัพย์เชลย (ก. ระหว่างประเทศ)๔. การเรียกเกณฑ์ทรัพย์, การเวนคืนทรัพย์, การสั่งห้ามใช้อาคาร (ที่ไม่ถูกต้องด้วยสุขลักษณ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
curfew | การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
countermand | ๑. การยกเลิกคำสั่ง (ก. ปกครอง)๒. คำบอกห้าม (การใช้เงินตามตั๋วเงิน) (ก. พาณิชย์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
continence | การหักห้าม, การกลั้น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
contraindication | ข้อห้ามใช้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
condemnation | ๑. การพิพากษา (ให้ลงโทษหรือให้ริบทรัพย์สิน)๒. การสั่งห้ามใช้ (อาคารหรือยานพาหนะที่มีสภาพไม่ปลอดภัย)๓. การประณาม (ในทางการระหว่างประเทศ)๔. การพิพากษาของศาลทรัพย์เชลย๕. การเวนคืนทรัพย์ [ ดู expropriation ประกอบ ] [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
contraband | ของต้องห้าม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contraband of war | ของต้องห้ามยามสงคราม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
contraband, absolute | ยุทธปัจจัยต้องห้ามเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dismissal with prejudice | การยกฟ้องโดยห้ามฟ้องใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dismissal without prejudice | การยกฟ้องโดยไม่ห้ามฟ้องใหม่ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disbarment | การถอนใบอนุญาตทนายความ, การห้ามว่าความ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
double jeopardy | การห้ามฟ้องซ้ำคดีอาญา (ในความผิดเดียวกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
denial of access | การห้ามเข้าใช้อาคาร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
forceps, haemostatic; forceps, hemostatic | คีมห้ามเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
forceps, hemostatic; forceps, haemostatic | คีมห้ามเลือด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
forbidden character code | รหัสอักขระต้องห้าม [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
extraconstitutional | ๑. นอกเหนือรัฐธรรมนูญ๒. ต้องห้ามตามรัฐธรรมนูญ๓. ขัดต่อรัฐธรรมนูญ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
embargo | ๑. การห้ามเรือ (เข้าหรือออก)๒. การห้ามสินค้า (นำเข้าหรือส่งออก) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
embargo | ๑. การกักเรือสินค้าที่อยู่ในท่า๒. การห้ามส่งสินค้า (ไปยังประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
electrohaemostasis; electrohemostasis | การห้ามเลือดด้วยไฟฟ้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
electrohemostasis; electrohaemostasis | การห้ามเลือดด้วยไฟฟ้า [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
illicit | ผิดกฎหมาย, ต้องห้ามตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
incompatability | ๑. ความมีลักษณะต้องห้าม (ก. ปกครอง)๒. ความมีลักษณะขัดกัน, ความเข้ากันไม่ได้ (ก. แพ่ง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interdiction | การห้าม, คำสั่งห้าม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
incompatibility | ๑. ความมีลักษณะต้องห้าม (ตามกฎหมาย)๒. ความมีลักษณะขัดกัน, ความเข้ากันไม่ได้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
incest | การร่วมประเวณีกับญาติสนิท, การร่วมเพศกับญาติสนิท (ที่กฎหมายห้ามมิให้สมรสกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interlocutory injunction | คำสั่งห้ามของศาลระหว่างพิจารณา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Banned book | หนังสือต้องห้าม [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Banned book | หนังสือต้องห้าม, Example: Banned book หมายถึง หนังสือต้องห้าม เป็นหนังสือหรือสิ่งพิมพ์ที่ถูกห้ามหรือถูกระงับโดยสถาบันทางศาสนาหรือโดยรัฐบาลด้วยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่ง เนื่องจากมีเนื้อหาที่ต้องคัดค้านหรือเป็นอันตราย โดยทั่วไปเป็นด้วยเหตุผลทางศาสนา ทางการเมือง หรือทางสังคม (เช่น The Grapes of Wrath, Leaves of Grass การปฏิวัติของจีน หลักลัทธิเลนิน) หนังสือต้องห้ามเป็นหนังสือที่ถูกห้ามนำเข้าไปไว้ในห้องสมุด ร้านหนังสือ หรือห้องเรียน เนื่องจากมีเนื้อหาที่ก่อให้เกิดการโต้แย้ง การท้าทายในทางการเมือง ทางศาสนา หรือทางสังคม ในอดีตหนังสือต้องห้ามหลาย ๆ เล่มถูกเผาหรือถูกปฏิเสธการพิมพ์ การครอบครองหนังสือต้องห้ามถูกมองว่าเป็นการกระทำที่เป็นกบฏ หรือเป็นผู้มีความคิดเห็นนอกรีต ซึ่งบางครั้งอาจมีโทษทางกฎหมายถ้าละเมิด อย่างไรก็ตาม บางครั้งการห้ามก็อาจได้รับการยกเลิกได้เมื่อมีการท้าทายกันในศาล และศาลมีคำสั่งให้ยกเลิกการห้าม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Unrestricted area | พื้นที่ไม่หวงห้าม, พื้นที่ใดๆ ของโรงงานนิวเคลียร์ที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมหรือพื้นที่หวงห้าม (ดู controlled area และ restricted area ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Restricted area | พื้นที่หวงห้าม, พื้นที่ที่มีการควบคุมการเข้าออกของบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกันการได้รับรังสี หรือสารกัมมันตรังสี [นิวเคลียร์] |
Injunction | คำสั่งห้ามของศาล หรือคำสั่งให้ดำเนินการใด ๆ จากศาล [ทรัพย์สินทางปัญญา] |
็Halt trade | หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขาย, Example: เครื่องหมายนี้ย่อมาจาก halt trade ตลาดหลักทรัพย์ติดเครื่องหมายนี้ไว้บนหลักทรัพย์เพื่อแสดงให้ผู้ลงทุนทราบว่า หลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ระหว่างถูกห้ามซื้อขายสำหรับช่วงเวลาการซื้อขายรอบนั้น ตลาดหลักทรัพย์จะขึ้นเครื่องหมาย H แก่หลักทรัพย์ที่ปรากฏว่า มีเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นกับบริษัทผู้ออกหลักทรัพย์นั้นในระหว่างเวลาซื้อขายรอบดังกล่าว และอยู่ระหว่างรอการเปิดเผยข้อมูล ซึ่งคาดว่าจะสามารถเปิดเผยได้ทันที [ตลาดทุน] |
Suspension | เครื่องหมายที่ตลาดหลักทรัพย์ติดบนหลักทรัพย์เพื่อแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่าหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างถูกห้ามซื้อขายชั่วคราว, Example: ย่อมาจาก suspension เป็นเครื่องหมายที่ตลาดหลักทรัพย์ติดบนหลักทรัพย์เพื่อแจ้งให้ผู้ลงทุนทราบว่าหลักทรัพย์ดังกล่าวอยู่ในระหว่างถูกห้ามซื้อขายชั่วคราว ตลาดหลักทรัพย์จะสั่งห้ามการซื้อขายหลักทรัพย์ของบริษัทใดเป็นการชั่วคราวเมื่อ 1. บริษัทนั้นฝ่าฝืนหรือละเลยไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับของตลาดหลักทรัพย์ 2. ปรากฏข่าวสารหรือข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินหรือผลการดำเนินงานของบริษัท ซึ่งมีผลกระทบ หรืออาจมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงราคาหลักทรัพย์ของบริษัทอย่างรุนแรง โดยที่ข่าวสารนั้นยังไม่ได้เปิดเผยต่อ สาธารณชนผ่านตลาดหลักทรัพย์ หรืออยู่ระหว่างที่ตลาดหลักทรัพย์กำลังรอการเปิดเผยข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่สอบถามไป หรือกำ ลังรอการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมเพราะรายงานที่ได้รับยังไม่ครบถ้วนชัดเจนเพียงพอ 3. บริษัทขอให้ตลาดหลักทรัพย์สั่งพักการซื้อขายหุ้นของบริษัทเนื่องจากมีข่าวหรือข้อมูลสำคัญที่อยู่ระหว่างดำเนินการ ซึ่งอาจมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาหลักทรัพย์ที่อยู่บน special board (กระดานพิเศษ) ซึ่งเป็นส่วนของระบบ ARMS ที่ใช้วิธีซื้อขายแบบ Put Through เพื่อรองรับการซื้อขายตราสารหนี้ เช่น พันธบัตรหุ้นกู้ หุ้นกู้แปลงสภาพ เป็นต้น ทั้งนี้แต่ละรายการซื้อขายจะต้องต่ำกว่า 1 ล้านหุ้น หรือมีมูลค่าต่ำกว่า 3 ล้านบาท(การซื้อขายตราสาร หนี้จำนวนมากดังกล่าวหรือมากกว่า จะต้องกระทำบน Big-Lot Board) การซื้อขายบนกระดานนี้ไม่นำเรื่อง Floor Price และ Ceiling Price มาใช้บังคับ [ตลาดทุน] |
Silent period | ช่วงเวลาห้ามขายหุ้น, Example: ช่วงระยะเวลาที่ตลาดหลักทรัพย์กำหนดห้ามผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ผู้เกี่ยวข้องกับผู้บริหารและ/หรือผู้เกี่ยวข้อง กับผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของบริษัทจดทะเบียนใหม่ ในการนำหุ้นบริษัทดังกล่าวที่ตนถือครองอยู่ออกขาย โดยทั่วไปช่วงเวลาห้ามขาย หุ้นจะประมาณ 6 เดือนนับแต่วันแรกที่ให้มีการซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ แต่ในบางกรณีอาจจะกำหนดให้นานกว่า 6 เดือนก็ได้ แต่ไม่เกิน 3 ปี [ตลาดทุน] |
Convention Concerning the Prohibition and Immediate Action for the Elimination of the Worst Forms of Child Labour (1999) | อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามและการขจัดรูปแบบที่เลวร้ายที่สุดของการใช้แรงงานเด็ก (ค.ศ. 1999) [TU Subject Heading] |
Covenants not to compete | ข้อสัญญาห้ามการแข่งขันทางธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Curfews | การห้ามออกจากบ้านเวลากลางคืน [TU Subject Heading] |
Forbidden City (Beijing, China) | พระราชวังต้องห้าม [TU Subject Heading] |
Hemostasis | การห้ามเลือด [TU Subject Heading] |
Hemostatic techniques | เทคนิคการห้ามเลือด [TU Subject Heading] |
Neurosurigical procedures | ศัลยกรรมประสาท, ศัลยกรรมประสาท ใช้กับงานที่กล่างถึงวิธีหรือขั้นตอนของการดำเนินการผ่าตัดระบบประสาท หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของระบบ เป็นหัวเรื่องทางการแพทย์ที่ใช้ได้กับหัวเรื่องย่อยเฉพาะด้านในกลุ่ม E4 ยกเว้นบางคำที่ระบุคำสั่งห้ามใช้ [TU Subject Heading] |
Prohibited books | หนังสือต้องห้าม [TU Subject Heading] |
Usury laws | กฎหมายห้ามเรียกดอกเบี้ยเกินอัตรา [TU Subject Heading] |
Non-Hunting Area | เขตห้ามล่าสัตว์ป่า, Example: พื้นที่คุ้มครองประเภทหนึ่ง ซึ่งรัฐได้ประกาศขึ้น ให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าบางชนิด หรือเป็นที่ที่สัตว์ป่าต้องการใช้สำหรับกิจกรรมบางอย่างในการดำรงชีวิต เช่น เป็นที่ผสมพันธุ์ วางไข่ เลี้ยงลูกอ่อน เป็นแหล่งอาหาร เป็นที่พักระหว่างเดินทางย้ายถิ่นฐาน เป็นต้น เพื่อคุ้มครองสัตว์ป่าบางชนิดที่กำหนด [สิ่งแวดล้อม] |
Embargo | การห้ามค้าขาย, Example: มีความหมายเป็น 2 ประการ 1) คำสั่งห้ามส่งสินค้าออกไปยังประเทศหนึ่ง หรือห้ามนำสินค้าเข้าจากประเทศหนึ่งมายังประเทศ ผู้สั่งห้ามซื้อขายกับประเทศนั้นๆ โดยปกติมักเกิดจาก เหตุผลความขัดแย้งทางการเมือง 2) คำสั่งห้ามนำเรือเข้าหรือออกจากท่าเรือ โดยปกติมักใช้ก่อนการประกาศทำสงคราม [สิ่งแวดล้อม] |
Disposal Bans | ของห้ามทิ้ง, Example: ของที่ใช้แล้วห้ามทิ้งปนกับขยะธรรมดา [สิ่งแวดล้อม] |
Restricted Plant | พืชต้องห้าม, Example: พืชที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดให้เป็นพืชต้องห้าม [สิ่งแวดล้อม] |
Convention on the Prohibition of the Development, Production and Stockpiling of Bacteriological (Biological) and Toxin Weapon an | Convention on the Prohibition of the Development, Production and Stockpiling of Bacteriological (Biological) and Toxin Weapon and on their Destruction = อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามพัฒนา ผลิต และสะสมอาวุธบักเตรี (ชีวะ) และอาวุธทอกซิน และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้ (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ) [การทูต] |
Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Inju | Convention on Prohibitions or Restrictions on the Use od Certain Conventional Weapons Which May Be Deemed to Be Excessively Injurious or to Have Indiscriminate Effects = อนุสัญญาห้ามอาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้เกิดการบาด เจ็บร้ายแรงเกินความจำเป็นหรือก่อให้เกิดลโดยไม่จำกัดเป้าหมาย มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการห้ามหรือหารจำกัดการใช้อาวุธตามแบบบางชนิดที่ก่อให้ เกิดผลกระทบร้ายแรงด้านมนุษยธรรม โดยสาระสำคัญของการ คอบคุมอาวุธตามแบบแต่ละชนิดจะถูกกำหนดไว้ในพิธีสารแต่ละฉบับต่างหาก ซึ่งในชั้นนี้ มีพิธีสาร 5 ฉบับ และรัฐต่างๆ สามารถเลือกยอมรับพิธีสารต่อท้ายอนุสัญญาฯ ฉบับใดก็ได้อย่างน้อยจำนวน 2 ฉบับ [การทูต] |
Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Consul | ข้าราชการที่ได้รับแต่งตั้งอย่างถูกต้องและได้รับ มอบหมายให้ไปประจำยังต่างประเทศ เพื่อทำหน้าที่ดูแลผลประโยชน์ของประเทศทั้งในด้าน พาณิชย์ การเดินเรือ คุ้มครองความเป็นอยู่อันดีของพลเมืองของประเทศตน พร้อมทั้งปฏิบัติหน้าที่บางอย่างด้านธุรการ หรือวางระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ ตลอดจนด้านการเป็นสักขีพยานการลงนามในเอกสาร เพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทางกฎหมาย (Notary) การให้การตรวจลงตรา รวมทั้งการรับรองเอกสารที่แท้จริง (มิใช่เอกสารปลอม) และจัดการการสัตย์สาบานตนหรืออีกนัยหนึ่ง ภาระหน้าที่ของกงสุลอาจแบ่งออกได้เป็น 5 ประการ ดังต่อไปนี้1 ทำหน้าที่ส่งเสริมผลประโยชน์ในทางพาณิชย์ของประเทศที่ตนเป็นผู้แทนอยู่2 ควบคุมดูแลผลประโยชน์ด้านการเดินเรือ3 คุ้มครองผลประโยชน์ของคนชาติของประเทศที่แต่งตั้งให้ตนไปประจำอยู่4 ทำหน้าที่สักขีพยานในการลงนามในเอกสารเพื่อให้เอกสารนั้นมีผลบังคับทาง กฎหมาย5 ทำหน้าที่ธุรการเบ็ดเตล็ดอื่นๆ หรือระเบียบแบบแผนที่ใช้เป็นประจำ เช่น การออกหนังสือเดินทาง การให้การตรวจลงตรา (Visas) การจดทะเบียนคนเกิด คนตาย ฯลฯอนุสัญญากรุงเวียนนา ภาคที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลข้อที่ 5 ได้กำหนดภาระหน้าที่ของฝ่ายกงสุลไว้ดังต่อไปนี้ ก. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่ง และของคนในชาติของรัฐผู้ส่ง ทั้งเอกชนและบรรษัทในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดที่กฎหมายระหว่างประเทศอนุญาตข. เพิ่มพูนการพัฒนาความสัมพันธ์ทางด้านการพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาการ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ รวมทั้งส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างกันในทางอื่น ตามบทแห่งอนุสัญญานี้ค. สืบเสาะให้แน่โดยวิถีทางทั้งปวงอันชอบด้วยกฎหมายถึงภาวะและความคลี่คลายใน ทางพาณิชย์ เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและวิทยาการของรัฐผู้รับ แล้วรายงานผลของการนั้นไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่ง และให้ข้อสนเทศแก่บุคคลที่สนใจง. ออกหนังสือเดินทางและเอกสารการเดินทางให้แก่คนในชาติของรัฐผู้ส่ง ตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่งจ. ช่วยเหลือคนในชาติของรัฐผู้ส่งทั้งเอกชนและบรรษัทฉ. ทำหน้าที่นิติกรและนายทะเบียนราษฎร์ และในฐานะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ปฏิบัติการหน้าที่บางประการอันมีสภาพทางธุรการ หากว่าการหน้าที่นั้นไม่ขัดกับกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับช. พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ของผู้เยาว์ และบุคคลไร้ความสามารถ ซึ่งเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง ภายในขีดจำกัดที่ได้ตั้งบังคับไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ โดยเฉพาะในกรณีที่จำเป็นต้องมีความปกครองหรือภาวะทรัสตีใดๆ ในส่วนที่เกี่ยวกับบุคคลเหล่านั้นฌ. แทนคนชาติของรัฐผู้ส่ง หรือจัดให้มีการแทนอย่างเหมาะสมในองค์กรตุลาการ และต่อเจ้าหน้าที่ที่อื่นของรัฐผู้รับ เพื่อความมุ่งประสงค์ที่จะให้ได้มา ซึ่งมาตรการชั่วคราวสำหรับการรักษาสิทธิและผลประโยชน์ของคนในชาติเหล่านี้ ไว้ตามกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ ในกรณีที่คนในชาติเหล่านี้ไม่สามารถเข้าทำการป้องกันสิทธิและผลประโยชน์ของ ตนในเวลาอันเหมาะสมได้ เพราะเหตุของการไม่อยู่หรือเหตุอื่นใด ทั้งนี้ ให้อยู่ภายในข้อบังคับแห่งทางปฏิบัติ และวิธีดำเนินการซึ่งมีอยู่ในรัฐผู้รับญ. ส่งเอกสารทางศาล หรือเอกสารที่มิใช่ทางศาล หรือปฏิบัติตาม หนังสือของศาลของรัฐผู้ส่งที่ขอให้สืบประเด็น หรือตามการมอบหมายให้สืบพยานให้แก่ศาลของรัฐผู้ส่งนั้น ตามความตกลงระหว่างประเทศที่ใช้บังคับอยู่ หรือเมื่อไม่มีความตกลงระหว่างประเทศเช่นว่านั้น โดยทำนองอื่นใดที่ต้องด้วยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับด. ใช้สิทธิควบคุมดูแลและตรวจพินิจตามที่ได้บัญญัติไว้ในกฎหมายและข้อบังคับของ รัฐผู้ส่ง ในส่วนที่เกี่ยวกับเรือที่มีสัญชาติของของรัฐผู้ส่ง หรืออากาศยานที่จดทะเบียนในรัฐนั้น รวมทั้งในส่วนที่เกี่ยวกับลูกเรือของเรือและอากาศยานดังกล่าวต. ให้ความช่วยเหลือแก่เรือและอากาศยานที่ระบุไว้ในอนุวรรค (ด) ของข้อนี้ รวมทั้งลูกเรือของเรือและอากาศยานนั้น บันทึกถ้อยคำเกี่ยวกับการเดินทางของเรือ ตรวจดูและประทับตรากระดาษเอกสารของเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใด ๆ ที่ได้เกิดขึ้นในระหว่างนายเรือ ดำเนินการสืบสวนอุบัติเหตุใดๆ ที่ได้เกิดขั้นในระหว่างนายเรือ เจ้าพนักงาน และกะลาสี ตราบเท่าที่การนี้อาจได้อนุมัติไว้โดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้ส่ง ทั้งนี้ จะต้องไม่เป็นการเสื่อมเสียแก่อำนาจของเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้รับถ. ปฏิบัติการหน้าที่อื่นใดที่รัฐผู้ส่งมอบหมายแก่สถานีทำการทางกงสุล ซึ่งมิได้ต้องห้ามโดยกฎหมายและข้อบังคับของรัฐผู้รับ หรือซึ่งไม่มีการแสดงข้อคัดค้านโดยรัฐผู้รับ หรือซึ่งมีอ้างถึงไว้ในความตกลงระหว่างประเทศ ที่ใช้บังคับอยู่ระหว่างรัฐผู้ส่งและรัฐผู้รับ [การทูต] |
Convention on Cluster Munitions | อนุสัญญาว่าด้วยระเบิดพวง มีสาระสำคัญคือ การห้ามใช้ สะสม ผลิตและโอนรวมทั้งต้องทำลายระเบิดพวง โดยมีการยกเว้นระเบิดพวงบางประเภทที่มีความแม่นยำต่อเป้าหมายและมีอัตรา ความเสี่ยงต่ำ โดยเปิดให้ลงนามอนุสัญญาฯ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ณ กรุงออสโล ประเทศนอร์เวย์เป็นต้นไป และจะมีผลบังคับใช้วันแรก ของเดือนที่หกหลังจากที่ 30 ประเทศ ได้ให้สัตยาบัน [การทูต] |
Comprehensive Nuclear ? Test ? Ban Treaty Organization | องค์การสนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามทดลองอาวุธ นิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Convention on the Prohibition of the Development, Production, Stockpiling and Use of Chemical Weapons and on Their Destruction | อนุสัญญาว่าด้วยการห้ามพัฒนา ผลิต สะสม และใช้อาวุธเคมี และว่าด้วยการทำลายอาวุธเหล่านี้ (หรือเรียกสั้น ๆ ว่า อนุสัญญาห้ามอาวุธเคมี) [การทูต] |
Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps | หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] |
Duration of Diplomatic Privileges and Immunities | ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวรในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] |
employment prohibited | ห้ามทำงาน คนต่างด้าวที่ได้รับการตรวจลงตราประเภทเดินทางผ่าน นักท่องเที่ยว และคนอยู่ชั่วคราว (บางประเภท) จะถูกห้ามทำงานขณะพำนักในราชอาณาจักร [การทูต] |
Exemption from Customs Duties and Inspection of Diplomatic Mission?s Articles | การยกเว้นจากอากรศุลกากร และการตรวจสิ่งของเครื่องใช้ของคณะผู้แทนทางการทูต การยกเว้นดังกล่าวนี้ไม่ถือว่าเป็นสิทธิ แต่เป็นเรื่องของการแสดงอัธยาศัยไมตรีระหว่งประเทศที่ให้ต่อกันมากกว่า กฎหมายระหว่างประเทศก็มิได้กำหนดพันธะที่จะต้องให้การยกเว้นจากอากรศุลกากร อย่างไรก็ดี รัฐส่วนมากได้แสดงอัธยาศัยไมตรีโดยให้ผู้แทนทางการทูตได้รับการยกเว้นอากร ศุลกากรแก่สินค้าและเครื่องใช้ที่นำเข้ามาใช้ในส่วนตัวเองอนุสัญญากรุง เวียนนาได้ระบุไว้ในมาตรที่ 36 ว่า1. รัฐผู้รับจะอนุญาตให้นำเข้าและอำนวยให้มีการยกเว้นจากอากรศุลกากร ภาษี ตลอดจนค่าภาระที่เกี่ยวข้องทั้งมวล นอกจากค่าภาระในการเก็บรักษา การขนส่งและบริการ ให้ทำนองเดียวกันตามกฎหมายหรือข้อบังคับ ซึ่งรัฐผู้รับอาจกำหนดไว้แก่ก. สิ่งของสำหรับใช้ในทางการของคณะผู้แทนข. สิ่งของสำหรับใช้ส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต หรือคนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต รวมทั้งสิ่งของที่แสดงเจตนาสำหรับการตั้งถิ่นฐานของตัวแทนทางการทูตด้วย2. หีบห่อส่วนบุคคลของตัวแทนทางการทูต ให้ได้รับยกเว้นจากการตรวจตรา นอกจากมีมูลเหตุอันร้ายแรงที่ทำให้สันนิษฐานได้ว่า หีบห่อส่วนตัวนั้นบรรจุสิ่งของซึ่งไม่อยู่ในข่ายแห่งการยกเว้นที่ได้ระบุไว้ ในวรรค 1 ของข้อนี้ หรือสิ่งของซึ่งการนำเข้าหรือส่งออกนั้นต้องห้ามทางกฎหมาย หรือถูกควบคุมตามข้อบังคับว่าด้วยการกักตรวจโรคของรัฐผู้รับ การตรวจตราเช่นว่านี้ให้กระทำต่อหน้าตัวแทนทางการทูต หรือต่อหน้าผู้แทนที่ได้รับมอบอำนาจของตัวแทนทางการทูตเท่านั้น [การทูต] |
Freedom of Movement of Diplomatic Agents | เสรีภาพในการเคลื่อนย้ายและการเดินทางของผู้แทน ทางการทูต โดยปกติ รัฐผู้รับย่อมอนุญาตโดยเสรีแก่ผู้แทนทางการทูต ที่จะเคลื่อนย้ายและเดินทางไปไหนมาไหนได้ทั่วประเทศ แต่ระหว่างสงครามเย็นที่ผ่านมา ประเทศสหรัฐอเมริกาได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการทูตของกลุ่ม ประเทศคอมมิวนิสต์บางแห่ง ได้แก่ สหภาพโซเวียต บัลแกเรีย เชคโกสโลวาเกีย ฮังการี รูเมเนีย และโปแลนด์ นัยว่าสหรัฐฯ ได้กำหนดเขตแขวงในดินแดนของตน 355 แห่ง หรือประมาณร้อยละ 11 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเขตห้ามเข้าสำหรับผู้แทนทางการทูตของประเทศเหล่านั้นในทำนองเดียวกัน กลุ่มประเทศคอมมิวนิสต์ดังกล่าวก็ได้ตั้งข้อจำกัดการเดินทางแก่ผู้แทนทางการ ทูตของสหรัฐฯ เช่นกัน สำหรับเสรีภาพการเคลื่อนย้ายนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในข้อ 26 ว่า?ภายในบังคับของกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตหวงห้ามหรือวางระเบียบไว้ โดยเหตุผลของความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันแก่สมาชิกทั้งมวลของคณะเกี่ยวกับเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน? [การทูต] |
Freedom of Movement of Member of Consular Post | เสรีภาพในการเคลื่อนไหวของบุคคลในสถานที่ทำการทาง กงสุล เรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ได้บัญญัติไว้ในข้อ 34 ว่า?ภายในบังคับแห่งกฎหมาย และข้อบังคับของรัฐผู้รับเกี่ยวกับการเข้าไปในเขตซึ่งเป็นที่หวงห้าม หรือที่ได้กำหนดระเบียบไว้ เพราะเหตุผลในทางความมั่นคงแห่งชาติ ให้รัฐผู้รับประกันเสรีภาพในการเคลื่อนไหว และการเดินทางในอาณาเขตของตน แก่บุคคลทั้งปวงในสถานที่ทำการทางกงสุล? [การทูต] |
Functions of Diplomatic Mission | ภาระหน้าที่ต่าง ๆ ของคณะผู้แทนทางการทูต หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง หน้าที่ที่ปฏิบัติเป็นประจำของผู้แทนทางการทูตนั้น ได้แก่ หน้าที่การเจรจา การสังเกต และการคุ้มครอง อย่างไรก็ดี มีบางประเทศได้มอบอำนาจให้ผู้แทนทางการทูตของตนปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล และกิจกรรมเบ็ดเตล็ดอื่น ๆ ด้วย ซึ่งไม่มีส่วนเกี่ยวข้องอย่างสำคัญใด ๆ กับการทูตเลยเกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ในมาตรา 3 ว่า1. นอกจากประการอื่นแล้ว การหน้าที่ของคณะผู้แทนทางการทูตประกอบด้วยก. ทำหน้าที่แทนรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับข. คุ้มครองผลประโยชน์ของรัฐผู้ส่งและของคนชาติของรัฐผู้ส่งในรัฐผู้รับ ภายในขีดจำกัดอันกฎหมายระหว่างประเทศได้อนุญาตให้ค. เจรจากับรัฐบาลของรัฐผู้รับง. สืบเสาะให้แน่ด้วยวิถีทางทั้งมวลอันชอบด้วยกฎหมายถึงสถาวะและพัฒนาการในรัฐ ผู้รับ แล้วรายงานไปยังรัฐบาลของรัฐผู้ส่งจ. ส่งเสริมความสัมพันธ์ฉันมิตรระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ ตลอดจนพัฒนาความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรม และวิทยาศาสตร์ ระหว่างรัฐผู้ส่งกับรัฐผู้รับ2. ไม่มีข้อความในอนุสัญญานี้ ที่จะหมายความได้ว่าเป็นการห้ามไม่ให้คณะผู้แทนทางการทูตปฏิบัติหน้าที่ทางกงสุล [การทูต] |
Geneva Conference on the Problem of Restoring Peace in Indo-China | การประชุม ณ นครเจนีวา ว่าด้วยปัญหาการนำสันติภาพกลับคืนสู่อินโดจีน ในการประชุมนี้ มีการทำความตกลงกันเกี่ยวกับการหยุดสู้รบระหว่างกำลังทหารในประเทศเวียดนาม กัมพูชา และลาว กับกำลังทหารฝรั่งเศส ความตกลงดังกล่าวได้กระทำกันในนครเจนีวา เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม ค.ศ. 1954 มีผู้แทนจากประเทศกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยเวียดนาม ฝรั่งเศส ลาว สาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐเวียดนาม (เวียดนามใต้) สหภาพโซเวียต สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา เข้าร่วมการประชุมตามข้อตกลงนี้ให้มีการยุติการสู้รบในกัมพูชา ลาว และเวียดนาม และการปฏิบัติให้เป็นไปตามบทบัญญัติในความตกลงดังกล่าว ให้อยู่ใต้ความควบคุมและดูแลระหว่างประเทศ ที่ประชุมเจนีวาได้แสดงความมั่นใจว่า ในการปฏิบัติตามข้อตกลงจะปล่อยให้กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ได้แสดงบทบาทภายใต้ความเป็นเอกราชและอำนาจอธิปไตยของตนอย่างสมบูรณ์ภายใน ประชาคมนานาชาติ สำหรับความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามใด้ห้ามมิให้นำกองทหารและเจ้าหน้าที่ฝ่าย ทหารของต่างชาติ รวมทั้งอาวุธและอุปกรณ์ทางทหารทุกชนิดเข้าไปในประเทศนั้น ที่ประชุมยังได้รับรองว่า วัตถุประสงค์สำคัญยิ่งของความตกลงเกี่ยวกับเวียดนามคือ ต้องการระงับปัญหาต่าง ๆ ทางทหาร เพื่อยุติการสู้รบ และการปักปันเส้นเขตแดนทางทหารนั้น ให้ถือเป็นการชั่วคราว มิได้หมายความว่าเป็นแนวแบ่งเขตทางการเมืองหรือทางดินแดนแต่ประการใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Mine Ban Convention | อนุสัญญาห้ามทุ่นระเบิดสังหารบุคคล [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
Nuclear Test Ban | หมายถึง สนธิสัญญาว่าด้วยการห้ามการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ ทั้งในบรรยากาศ ในอวกาศ และใต้น้ำ สนธิสัญญาฉบับนี้ได้มีผลบังคับเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม ค.ศ. 1963 ประเทศที่ลงนามเริ่มแรกในสนธิสัญญาได้แก่ อังกฤษ สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา รวมสามประเทศจุดมุ่งหมายสำคัญของสนธิสัญญาคือ รัฐบาลของประเทศทั้งสาม ต้องการให้มีการทำความตกลงกันเป็นผลสำเร็จเกี่ยวกับการลดอาวุธ หรือปลดกำลังอาวุธทั้งหมดโดยสิ้นเชิง ภายใต้การควบคุมระหว่างประเทศอย่างเคร่งครัด ตามความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ ซึ่งต้องการให้ยุติหรือเลิกการแข่งขันกันสะสมอาวุธ และกำจัดมิให้มีเหตุจูงใจที่จะผลิตและทดสอบอาวุธไม่ว่าชนิดใดทั้งหมด รวมทั้งอาวุธนิวเคลียร์ด้วย นอกจากนี้ ยังเสาะแสวงหาที่จะให้หยุดการทดสอบอาวุธนิวเคลียร์ไปตลอดชั่วกาลนานสนธิ สัญญานี้มีข้อความอยู่ 5 มาตรา และไม่จำกัดอายุเวลา ทั้งยังเปิดโอกาสให้ประเทศอื่น ๆ ทั้งหลายเข้าร่วมลงนามเป็นภาคีได้ ในทางตรงกันข้าม ประเทศภาคีก็มีสิทธิใช้อธิปไตยแห่งชาติได้เพื่อถอนตัวจากสนธิสัญญา ถ้าหากประเทศนั้น ๆ เห็นว่า ประโยชน์อันสูงสุดของประเทศตนต้องตกอยู่ในอันตราย และแจ้งล่วงหน้าสามเดือนให้ประเทศภาคีอื่น ๆ ทั้งหมดทราบการตกลงใจนั้น [การทูต] |
Organisation for the Prohibition of Chemical Weapons | องค์การห้ามอาวุธเคมี [การทูต] |
sanction | การคว่ำบาตร (ในกรอบสหประชาชาติ) " หมายถึง มาตรการลงโทษที่คณะมนตรีความมั่นคง ใช้ต่อประเทศสมาชิกที่มีการกระทำที่ละเมิดกฎบัตรสหประชาชาติ รวมทั้งเป็นภัยต่อสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศโดยการจำกัด หรือห้ามประเทศสมาชิกอื่น ๆ ติดต่อในด้านต่าง ๆ (เช่น ด้านการค้า การคมนาคมขนส่ง) อย่างเป็นทางการกับประเทศนั้น ๆ เพื่อบีบบังคับให้มีการปฏิบัติตามข้อมติของคณะมนตรีความมั่นคง มาตรการห้ามการ ติดต่อเหล่านี้ บางครั้งเรียกว่า ปิดล้อม (embargo) เช่น ปิดล้อมด้านอาวุธ ปิดล้อมด้านการค้า เป็นต้น " [การทูต] |
Visa | การตรวจลงตรา กล่าวคือ เป็นเครื่องหมายแสดงการรับรองที่ประทับอยู่ในหนังสือเดินทางว่า หนังสือเดินทางฉบับนั้นได้รับการตรวจตราแล้ว ในกรณีที่ผู้ถือหนังสือดังกล่าวยื่นขอเดินทางเข้าไปในประเทศที่ให้การตรวจลง ตรา และทุกอย่างถูกต้องจึงให้ผู้นั้นเดินทางไปยังประเทศดังกล่าวได้อนุสัญญากรุง เวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุลได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ของวรรค D ว่า หน้าที่ทางกงสุลข้อหนึ่งคือ ?ออกหนังสือเดินทางและเอกสารเดินทางให้แก่คนชาติของรัฐผู้ส่ง และตรวจลงตราหนังสือเดินทาง หรือออกเอกสารที่เหมาะสมให้แก่บุคคลที่ประสงค์จะเดินทางไปยังรัฐผู้ส่ง?พึง เข้าใจว่า แม้หนังสือเดินทางจะได้รับการตรวจลงตราแล้วก็ตาม ก็มิได้เป็นการประกันร้อยเปอร์เซ็นต์ว่า ผู้ถือหนังสือนั้นจะได้รับการยินยอมให้เดินทางเข้าไปในรัฐที่ให้การตรวจลง ตรา คือ เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองในรัฐนั้นอาจห้ามมิให้เข้าประเทศได้ ทั้ง ๆ ที่ได้รับการตรวจตราแล้วก็ตาม แต่การกระทำเช่นนี้เป็นกรณีที่เกิดขึ้นน้อยมากการตรวจลงตราหรือวีซ่านั้น แบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท คือ1) การตรวจลงตราทางการทูต ซึ่งออกให้แก่บุคคลในคณะทูตและกงสุล รวมทั้งข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ของต่างประเทศ2) การตรวจลงตราทางราชการ ออกให้แก่ข้าราชการที่ไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) ซึ่งจะเดินทางไปธุระราชการ และ3) การตรวจลงตราธรรมดา ออกให้แก่บุคคลทั่วไปที่มีคุณสมบัติเหมาะสม และไม่รวมอยู่ในประเภทที่ 1) และ 2) มีหลายประเทศได้ให้การตรวจลงตราชั่วคราว การตรวจลงตราสำหรับลูกเรือเดินทะเล การตรวจลงตราสำหรับพ่อค้าต่างประเทศ การตรวจลงตราสำหรับนักศึกษา และการตรวจลงตราสำหรับผู้อพยพลี้ภัย เป็นต้น [การทูต] |
Wives of Diplomats | ภรรยาของนักการทูต ในประเทศที่มีกษัตริย์ และเอกอัครราชทูตจัดถวายพระราชสาส์นตราตั้งต่อกษัตริย์หรือราชินีในฐานะ ประมุขของรัฐนั้น มักจะให้ภรรยาเข้าเฝ้าด้วยต่างหาก แต่การเข้าเฝ้านั้นจะมีพิธีรีตองน้อยกว่าของเอกอัครราชทูตในอดีตกาล ภรรยาของเอกอัครราชทูตมักจะไม่ได้รับการพิจารณารับรองและยกย่องเหมือนกับที่ เป็นอยู่ในปัจจุบัน อาทิเช่น ที่กรุงเวนิส ตามกฎหมายปี ค.ศ. 1268 ไม่อนุญาตให้ภรรยาของเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย ไม่ว่าจะไปประจำแห่งไหน เพราะเกรงว่าภรรยาอาจจะปากโป้งเกี่ยวกับการงานของสามี แต่กฎหมายได้กำหนดให้เอกอัครราชทูตนำพ่อครัวของตนเองติดตามไปด้วย เพื่อกันมิให้เอกอัครราชทูตต้องถูกวางยาพิษในอาหารที่รับประทานกล่าวโดยทั่ว ไปแล้ว ทุกวันนี้ภรรยาของเอกอัครราชทูตได้อุปโภคเอกสิทธิ เกียรติ ลำดับอาวุโส และความคุ้มกันต่าง ๆ เหมือนกับสามี ถึงแม้ในบางกรณีเอกอัครราชทูตกับภรรยาอาจแยกกันอยู่ก็ตาม ภรรยาของเอกอัครราชทูตที่เพิ่งยื่นสารตราตั้ง มักจะหาโอกาสไปเยี่ยมคารวะภรรยาของเอกอัครราชทูตอื่น ๆ ด้วย แม้ว่าในทุกวันนี้ธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าวอาจจะไม่เคร่งครัดเหมือนกับสมัย ก่อน อนึ่ง ในบางประเทศได้มีระเบียบข้อบังคับ ห้ามมิให้ผู้แทนทางการทูตและทางการกงสุลที่ประจำอยู่ในต่างประเทศ แต่งงานกับคนต่างชาติโดยมิได้รับอนุมัติจากรัฐบาลของตนก่อน [การทูต] |
wetlands | พื้นที่ชุ่มน้ำ หมายถึง พื้นที่ลุ่ม พื้นที่ราบลุ่ม พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ฉ่ำน้ำ มีน้ำท่วม มีน้ำขัง พื้นที่พรุ พื้นที่แหล่งน้ำ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยอาจเป็นแหล่งน้ำนิ่งและน้ำไหล ทั้งที่เป็นน้ำจืด น้ำกร่อยและน้ำเค็ม รวมไปถึงพื้นที่ชายทะเล และพื้นที่ของทะเล ในบริเวณซึ่งเมื่อน้ำลดลงต่ำสุดมีความลึกของระดับน้ำไม่เกิน 6 เมตร ซึ่งภายใต้อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ชุ่มน้ำ ประเทศต่าง ๆ สามารถที่จะกำหนดให้พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความสำคัญ ระหว่างประเทศ เช่น ประเทศไทยได้ประกาศให้บริเวณเขตพรุควนขี้เสียน และบริเวณเขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย เป็นพื้นที่ชุ่มน้ำ นอกจากนี้ พื้นที่ชุ่มน้ำบางแห่งอาจอยู่ตามพรมแดนระหว่างประเทศด้วย [การทูต] |
Abortion, Inevitable | การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้, แท้งหลีกไม่พ้น, แท้งห้ามไม่หยุด [การแพทย์] |
Abortion, Inevitable | การแท้งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้, แท้งหลีกไม่พ้น, แท้งห้ามไม่หยุด [การแพทย์] |
Anticoagulants | สิ่งกันเลือดแข็ง; การแข็งตัวของเลือด, สารป้องกัน; สารที่ป้องกันการแข็งตัวของโลหิต; ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันเลือดแข็ง; สารที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็ง; ยาพวกที่ป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว; ยากันเลือดแข็ง; สารห้ามการแข็งตัวของเลือด; สารต้านการแข็งตัวของเลือด; ยาต้านการแข็งตัวของเลือด; สารป้องกันการแข็งตัวของโลหิต; ยาละลายการแข็งตัวของเลือด; แอนตีโคแอกูแลนท์; ยากันเลือดแข็งตัวในหลอดเลือด; สารกันเลือดแข็งตัว; ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันการแข็งตัว; สารป้องกันการแข็งตัวของเลือด; สารกันเลือดแข็ง; ยาต่อต้านโลหิตแข็งตัว; สารป้องกันเลือดจับตัวเป็นลิ่ม; ระงับการแข็งของเลือด [การแพทย์] |
Antidiuretic Hormones | ฮอร์โมนที่ต้านการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนยับยั้งการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนเก็บน้ำ, ฮอร์โมนที่ห้ามปัสสาวะ, ฮอร์โมนที่กดกั้นการขับปัสสาวะ, ฮอร์โมนที่มีฤทธิ์ลดการขับถ่ายปัสสาวะ, ฮอร์โมนส์ต้านการขับปัสสาวะ [การแพทย์] |
Antiinflammatory | ห้ามการเกิดการอักเสบ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บุคคลภายนอกห้ามเข้า | [bukkhon phāinøk hām khao] (xp) EN: no unauthorized entry |
เดินล่วงเข้าไปในเขตหวงห้าม | [doēn lūang khao pai nai khēt hūanghām] (v, exp) EN: trespass |
ห้าม | [hām] (v) EN: forbid ; prohibit ; disallow ; ban ; restrain ; proscribe FR: interdire ; défendre ; bannir ; proscrire |
ห้าม... | [hām ...] (n) EN: no ... FR: interdiction de ... ; défense de ... |
ห้ามบุกรุก | [hām bukruk] (v, exp) FR: défense d'entrer ; interdiction de pénétrer dans un lieu ; interdiction de circuler |
ห้ามเด็ดขาด | [hām detkhāt] (v, exp) EN: be strictly prohibited (to) |
ห้ามเด็ดขาด | [hām detkhāt] (adj) EN: absolutely forbidden FR: strictement interdit ; formellement interdit ; rigoureusement interdit |
ห้ามใจ | [hāmjai] (v) EN: restrain oneself ; suppress one's feeling ; control one's feeling FR: se dominer ; se contenir ; se maîtriser |
ห้ามจับของ | [hām jap khøng] (v, exp) FR: ne pas toucher ; ne pas toucher à la marchandise ; défense de toucher |
ห้ามจอด | [hām jøt] (x) FR: défense de stationner ; interdiction de stationner |
ห้ามจอดรถ | [hām jøt rot] (x) FR: défense de stationner ; interdiction de stationner |
ห้ามเข้า | [hām khao] (x) EN: no entry ! ; no admittance ; Keep out ; no admittance FR: défense d'entrer ; entrée interdite ; on n'entre pas ! |
ห้ามเข้า | [hām khao] (xp) EN: no entry FR: sens interdit |
ห้ามเข้าโดยไม่ได้รับอนุญาต | [hām khao dōi mai dāirap anuyāt] (xp) EN: unauthorized entry forbidden ; no entry without authorization FR: entrée interdite sans autorisation |
ห้ามเลี้ยวขวา | [hām līo khwā] (v, exp) EN: no right turn |
ห้ามเลี้ยวซ้าย | [hām līo sāi] (v, exp) EN: no left turn |
ห้ามล้อ | [hāmlø] (v) EN: brake ; stop ; cease FR: freiner |
ห้ามปัสสาวะ | [hām patsāwa] (n, exp) FR: défense d'uriner ! |
ห้ามผ่าน | [hām phān] (n, exp) FR: passage interdit ; interdiction de passer |
ห้ามเปลี่ยนมือ | [hām plīenmeū] (adj) EN: not negotiable |
ห้ามประกันตัว | [hām prakantūa] (v, exp) EN: deny bail |
ห้ามแซงรถ | [hām saēng rot] (x) EN: no overtaking ; no passing permitted FR: interdiction de doubler |
ห้ามสูบบุหรี่ | [hām sūp burī] (x) EN: no smoking FR: défense de fumer |
ห้ามแตะต้อง | [hām taetøng] (v, exp) EN: do not touch ! ; don't touch ! FR: défense de toucher ! |
หวงห้าม | [hūanghām] (v) EN: forbid |
หวงห้าม | [hūang-hām] (adj) EN: forbidden |
การห้าม | [kān hām] (n) EN: ban FR: interdiction [ f ] |
การห้ามนำเข้า | [kān hām namkhao] (n, exp) EN: embargo ; import prohibition |
การห้ามนำสินค้าเข้า | [kān hām nam sinkhā khao] (n, exp) EN: embargo ; import prohibition |
การห้ามออกจากเคหสถานเวลาค่ำคืน | [kān hām øk jāk khēhasathān wēlā khamkheūn] (n, exp) EN: curfew FR: couvre-feu [ m ] |
คำสั่งห้าม | [khamsang hām] (n, exp) EN: injunction ; restraining order FR: injonction [ f ] |
คำสั่งห้ามชั่วคราว | [khamsang hām chūakhrāo] (n, exp) EN: temporary injunction FR: injonction temporaire [ f ] |
ข้อห้าม | [khøhām] (n) EN: prohibition ; ban ; taboo ; forbiddance FR: interdiction [ f ] |
ของต้องห้าม | [khøng tǿng hām] (n, exp) EN: prohibited goods ; prohibited articles |
เครื่องห้ามล้อ | [khreūang hāmlø] (n) EN: brake FR: frein [ m ] |
ความห้าม | [khwām hām] (n) FR: interdiction [ f ] |
หม่อมห้าม | [mǿmhām] (n) EN: king's plebeian concubine ; royal minor wife ; royal concubine |
ออกคำสั่งห้าม | [øk khamsang hām] (v, exp) EN: impose a ban |
ป้ายห้ามบุกรุก | [pāi hām buk ruk] (n, exp) FR: panneau d'interdiction d'entrer [ m ] ; panneau d'interdiction de circuler [ m ] |
ป้ายห้ามเลี้ยวขวา | [pāi hām līo khwā] (n, exp) EN: no-right-turn sign FR: signal d'interdiction de tourner à droite [ m ] ; panneau d'interdiction de tourner à droite [ m ] |
ป้ายห้ามเลี้ยวซ้าย | [pāi hām līo sāi] (n, exp) EN: no-left-turn sign FR: signal d'interdiction de tourner à gauche [ m ] ; panneau d'interdiction de tourner à gauche [ m ] |
พื้นที่หวงห้าม | [pheūnthī hūanghām] (n, exp) EN: restricted area |
พระราชบัญญัติห้าม... | [phrarātchabanyat hām …] (n, exp) EN: law prohibiting … FR: loi d'interdiction de … |
ผู้ไม่เกี่ยวข้องห้ามเข้า | [phū mai kīokhøng hām khao] (n, exp) EN: no admittance to unauthorized persons |
สิ่งของต้องห้าม | [singkhøng tǿng hām] (n, exp) EN: prohibited goods |
สินค้าต้องห้าม | [sinkhā tǿng hām] (n, exp) EN: prohibited goods |
ถูกห้าม | [thūk hām] (v, exp) EN: be banned FR: être interdit |
ต้องห้าม | [tǿng hām] (v, exp) EN: be forbidden ; be prohibited |
ต้องห้าม | [tǿng hām] (adj) EN: forbidden ; prohibited ; taboo ; untouchable |
Longdo Approved EN-TH
CITES | (abbrev) CITES (อ่านว่า ไซเตส) ย่อมาจาก The Convention of International Trade in endangered spicies of Wild Fauna and Flora หมายถึง อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศ ซึ่งห้ามการค้าชนิดสัตว์และพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์ |
curfew | (n) ในยุโรปสมัยกลางบ้านเรือนทำมาจากท่อนซุง ตรงพื้นกลางบ้านมักจะขุดเป็นหลุมเพื่อเอาไว้ใช้เป็นเตา เพราะกลัวไฟไหม้ ตอนดึกๆ จึงต้องมียามเดินไปให้สัญญาว่าได้เวลานอนแล้ว ขอให้กลบไฟซะให้เรียบร้อยด้วย ซึ่งภาษาฝรั่งเศสว่า cuevre-feu แปลเป็นอังกฤษว่า to cover the fire เมื่อพระเจ้าวิลเลี่ยมแห่งฝรั่งเศสตีอังกฤษได้ ก็เอามาใช้ในอังกฤษ ให้ทุกบ้านดับไฟและห้ามออกจากบ้าน Curfew ก็จึงพัฒนามาเป็นคำที่หมายถึง มาตรการห้ามออกนอกเคหสถานในเวลากำหนด |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
arse about | (phrv) ทำตัวงี่เง่า (คำต้องห้าม), See also: ทำตัวน่ารำคาญ, Syn. mess about |
arse around | (phrv) ทำตัวงี่เง่า (คำต้องห้าม), See also: ทำตัวน่ารำคาญ, Syn. mess about |
ban | (vt) ห้าม, See also: สั่งห้าม, Syn. veto, bar |
ban | (n) คำสั่งห้าม, See also: การห้าม, Syn. taboo, prohibition |
banning | (n) การสั่งห้าม, Syn. prohibition |
block | (vt) หยุด, See also: ห้าม, ขวาง, Syn. prevent, stop |
brake | (vt) ห้ามล้อ, See also: เบรค, หยุด, Syn. retard |
brake | (n) เครื่องห้ามล้อ, See also: เบรก, สิ่งที่มีผลยับยั้งทำให้ช้า |
ball up | (phrv) ทำให้เสีย (คำสแลงต้องห้าม), See also: ทำลาย, Syn. mess up |
bar from | (phrv) ห้าม, See also: ขัดขวาง, ห้ามเข้า |
be off the limits to | (idm) มีคำสั่งห้ามเข้า (สถานที่) (ทางทหาร) |
bugger about | (phrv) ปล่อยเวลาให้เสียไปอย่างไร้ประโยชน์ (คำสแลงและคำต้องห้าม), Syn. mess about |
bugger about | (phrv0) ทำให้ยุ่งยาก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, Syn. mess about |
bugger about | (phrv) ทำให้รก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ไม่เป็นระเบียบ, Syn. mess about |
bugger about with | (phrv) ทำให้รก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ไม่เป็นระเบียบ, Syn. mess about with |
bugger around | (phrv) ปล่อยเวลาให้เสียไปอย่างไร้ประโยชน์ (คำสแลงและคำต้องห้าม), Syn. mess about |
bugger around | (phrv) ทำให้ยุ่งยาก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, Syn. mess about |
bugger around | (phrv) ทำให้รก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ไม่เป็นระเบียบ, Syn. mess about |
bugger around with | (phrv) ทำให้รก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ไม่เป็นระเบียบ, Syn. mess about with |
censor | (vt) ตัดออกด้วยอำนาจของผู้ตรวจสอบ, See also: ห้ามออกอากาศ, Syn. ban, forbid |
clearway | (n) ทางด่วน (ถนนที่ห้ามจอด ยกเว้นกรณีที่รถเสียเท่านั้น) |
cock | (n) อวัยวะเพศชาย (คำสแลงและคำต้องห้าม), Syn. penis |
curfew | (n) การห้ามออกนอกบ้านยามวิกาล, See also: เคอร์ฟิว |
curfew | (n) เวลาห้ามออกนอกบ้านยามวิกาล, See also: เวลาเคอร์ฟิว |
contradiction in terms | (idm) คำพูดต้องห้าม |
cool out | (phrv) ห้าม, See also: ทำให้ท้อแท้, หยุดยั้ง |
debar from | (phrv) ห้ามเข้า, See also: ห้าม, กั้นไว้, ขวางไว้, Syn. disbar from |
dirty word | (idm) คำสบถ, See also: คำหยาบ, คำสี่ตัวอักษร ต้องห้าม |
do out of | (phrv) ป้องกันไม่ให้กระทำ, See also: ห้ามไม่ให้ทำ |
fuck about | (phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม), Syn. fuck off, mess about |
fuck about | (phrv) ทำระยำกับคนอื่น (คำต้องห้าม), See also: ทำหยาบคายกับคนอื่น, Syn. mess about |
fuck about with | (phrv) ทำให้เสีย (คำสแลงต้องห้าม), See also: ทำให้ใช้ไม่ได้, Syn. mess about with |
fuck around | (phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม), Syn. fuck off, mess about |
fuck off | (phrv) ใช้เวลาหมดไปโดยเปล่าประโยชน์ (คำต้องห้าม) |
fuck up | (phrv) ทำให้ยุ่งเหยิง (คำต้องห้าม), Syn. mess up |
darkroom | (n) ห้องมืดสำหรับล้างรูปถ่าย, See also: ไอ้มืด เป็นคำต้องห้าม |
dickhead | (n) คนโง่ (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ไอ้โง่, Syn. idiot |
dissuade | (vt) ห้ามปราม, See also: เตือน, แนะนำ, Syn. againt, deter |
dissuasion | (n) การห้ามปราม, See also: การตักเตือน, การแนะนำ |
dissuasive | (adj) ซึ่งห้ามปราม, See also: ที่ตักเตือน |
dissuasive | (adj) ที่ห้ามปราม, See also: ที่ไม่แนะนำ, Syn. discourageable |
dry | (adj) ไม่ดื่มเหล้า, See also: ห้ามขายเหล้า, ห้ามจำหน่ายสุรา, Syn. abstinent, moderate |
embargo | (n) การสั่งห้าม (เรือ) เข้าออกท่าเรือ, Syn. prohibition, restriction |
embargo | (vt) สั่งห้าม (เรือ) เข้าออกท่าเรือ |
enjoin | (vt) ไม่อนุญาต, See also: ห้าม, Syn. forbid, prohibit |
forbear | (vi) อดกลั้น, See also: อดทน, ข่มใจ, หักห้าม, บังคับใจ, Syn. tolerate, abstain, restrain, Ant. continue, proceed |
forbid | (vt) ห้าม, See also: ห้ามปราม, ไม่อนุญาต, Syn. prohibit, ban, disallow, Ant. allow, permit |
forbidden | (adj) ที่ไม่ได้รับอนุญาต, See also: ต้องห้าม, Syn. prohibited, banned, Ant. allowed |
frig | (vi) ร่วมสังวาส (คำต้องห้าม), See also: เสพสังวาส |
frig | (vt) ร่วมสังวาส (คำต้องห้าม), See also: เสพสังวาส |
Hope Dictionary
admonish | (แอดมอน' นิช) vt. ตักเตือน, ให้สติ, ว่ากล่าว, ห้าม. -admonishment n. |
astringent | (แอสทริน'เจินทฺ) adj. หดตัว, รัดแน่น, สมาน, เฉียบขาด, เข้มงวด, รุนแรง -n. ยาฝาดสมาน, ยาสมานแผล, ยาห้ามเลือด. -astringency n., Syn. contractile, constrictive |
ban | (แบน) { banned, banning, bans } vt., n. ห้าม, ประกาศห้าม, สั่งห้าม, ขับออกนอกศาสนา, ประณาม, สาปแช่ง |
brake | (เบรค) { braked, braking, brakes } n. เครื่องห้ามล้อ, เบรก, สิ่งที่ยับยั้งหรือทำให้ช้า, เครื่องทรมาน -v. ห้ามล้อ, ทำให้ช้า, หยุด, ใส่เบรก, อดีตกาลของ break |
brake pedal | (เบรคเพล'เดิล) n. คันห้ามล้อ |
choke | (โชค) vt. ทำให้หายใจขัด, ทำให้สำลัก, สกัด, กลั้น, จุกแน่น, ดับ, ห้าม, ยับยั้ง vi. สำลัก, ถูกอุด, ถูกสกัด, ตัน -n. การสำลัก, การอุดตัน, See also: choker n., Syn. garrotte |
close | (โคลส) { closed, closing, closes } adj. ใกล้, สนิทสนม, รอบคอบ, แน่นหนา, แคบ, คับ, อึดอัด, ไม่มีลมเข้า, มิดชิด, เป็นความลับ, ทัดเทียมกัน, พอ ๆ กัน, ขี้เหนียว, หวงแหน, หวงห้าม -adv. ใกล้ชิด, ใกล้ v., n. (การ) ปิด, ลงเอย, สิ้น, ตกลง, ปิดบัญชี, ทำให้ติดกับ, ทำให้ประชิดกับ, สรุป, สถานที่ปิด |
closed | (โคซดฺ) adj. ปิด, สรุป, ห้ามเข้า, สงวน (เขต) , ลับ |
contraband | (คอน'ทระแบนดฺ) n. ของต้องห้ามตามกฎหมาย, ของเถื่อน, การค้าเถื่อน, การลักลอบขนสินค้า adj. เป็นสินค้าเถื่อน, ซึ่งห้ามไม่ให้ส่งออกหรือสั่งเข้าประเทศ, Syn. excluded |
control card | บัตรควบคุมหมายถึง บัตรซึ่งบรรจุข้อความที่เป็นภาษาควบคุมงานซึ่งได้มีการกำหนดไว้เป็นรหัสเป็นการเฉพาะ เพื่อใช้ในโอกาสต่าง ๆ กัน หรือใช้กับงานชนิดต่าง ๆ เช่น บัตรควบคุม อาจจะเป็นตัวบอกว่า โปรแกรมหรือชุดคำสั่งชุดต่อไปจะเป็นภาษาฟอร์แทรน ภาษาโคบอล หรือภาษาอื่น ๅ บัตรควบคุมอาจทำให้รู้ได้ว่างานนี้เป็นงานของนิสิต หรือเป็นงานของนักวิจัยทั่วไป เพราะบางทีอาจมีการกำหนดข้อห้ามบางอย่างสำหรับงานของนิสิตไว้ในระบบ ปัจจุบัน ไม่ค่อยมีการใช้บัตรแล้ว คำนี้จึงไม่มีที่ใช้ไปด้วยดู card (บัตร) |
curfew | (เคอ'ฟิว) n. การห้ามประชาชนออกนอกบ้านในระยะเวลาที่กำหนด (มักเป็นเวลากลางคืน) , เวลาห้ามออกนอกบ้านดังกล่าว, ระฆังบอกเวลากลางคืน, เสียงระฆังกลางคืน |
deadline | n. กำหนดเวลา, เส้นห้ามผ่าน, เส้นตาย |
debar | (ดิบาร'์) { debarred, debarring, debars } vt. ห้ามเข้า, ยับยั้ง, ป้องกัน, See also: debarment n. |
dehort | (ดิฮอร์ท') vt. ห้ามปราม, ยับยั้ง., See also: dehortation n. ดูdehort dehortative, adj. ดูdehort |
disc brake | n. จานห้ามล้อ |
disk brake | n. จานห้ามล้อ |
dissuade | (ดิสเวด') vt. ชักชวนไม่ให้ทำ, หน่วงเหนี่ยว, ห้ามปราม, ยับยั้ง., See also: dissuadable adj. ดูdissuade dissuader n. ดูdissuade, Syn. discourage, avert, warn, Ant. encourage |
dissuasion | (ดิสเว'เชิน) n. การชักชวนไม่ให้ทำ, การหน่วงเหนี่ยว, การห้ามปราม, การยับยั้ง |
dissuasive | (ดิสเว'ซิฟว) adj. ซึ่งหน่วงเหนี่ยว, ซึ่งห้ามปราม, ซึ่งยับยั้ง., See also: dissuasiveness n. ดูdissuasive |
don't | (โดนทฺ) do not, See also: don'ts n., pl. ข้อห้าม, เรื่องต้องห้าม |
embargo | (เอมบาร์'โก) { embargoed, embargoing, embargos } n. การห้ามเรือเข้าหรือออกจากท่า, การห้ามค้าขายระหว่างประเทศ, การห้ามส่งสินค้าไปยังประเทศหนึ่ง, การห้าม, คำสั่งห้ามค้าขาย vi. สั่งห้ามเรือสินค้าเข้าหรือออกจากท่า, สั่งห้ามค้าขายกับประเทศหนึ่ง คำที่มีความหมายเหมือ |
enjoin | vt. สั่งการ, บัญชา, สั่ง, กำชับ, กำหนด, สั่งห้าม, ห้าม., See also: enjoiner n. ดูenjoin enjoinment n. ดูenjoin |
forbear | (ฟอแบร์') v. อดีตกาลของforbid, อดทน, อดกลั้น, หักห้าม, บังคับจิตใจ, ข่มใจ, ละเว้น. -forbearer n. |
forbid | (ฟอร์บิด') vt. ห้าม, ยับยั้ง, ไม่อนุญาต, ป้องกัน, ขัดขวาง, ทำให้เป็นไปไม่ได้., See also: forbiddance n. -forbidder n. |
forbidden | (ฟอร์บิด'เดิน) v. กริยาช่อง 3 ของ forbid adj. ต้องห้าม, ซึ่งไม่ได้รับอนุญาต |
haemostat | n. เครื่องมือหรือยาห้ามโลหิต. |
hemostat | n. เครื่องมือหรือยาห้ามโลหิต. |
hemostatic | (ฮีมะสแทท'ทิค) adj. ห้ามเลือด. n. ยาห้ามเลือด., Syn. haemostatic |
impassable | (อิมพาส'ซะเบิล) adj. ห้ามผ่าน, ผ่านไม่ได้, เอาชนะไม่ได้, หมุนเวียนไม่ได้., See also: impassability n. impassably adv. |
index | (อิน' เดคซฺ) n. ดรรชนี, เครื่องชี้, เข็มชี้, นิ้วชี้, เลขกำลังในเครื่องหมายพีชคณิต, สารบัญสิ่งตีพิมพ์ที่ต้องห้ามในศาสนาโรมันคาทอลิก (Index Librorum Prohibitorum) , หนังสือหรือวัตถุที่ต้องห้าม, สารบัญ, คำนำ. -vt. จัดให้มีสารบัญ, จัดให้มีดรรชนี, ใส่ดรรชนี, เ |
inhibit | (อินฮิบ'บิท) vt. ขัดขวาง, ยับยั้ง, สกัดกั้น, ห้าม., See also: inhibiter n. inhibitory, inhibitive adj., Syn. hinder, restrain |
inhibiter | (อินฮิบ'บิเทอะ) n. ตัวขัดขวาง, ตัวยับยั้ง, ตัวสกัดกั้น, ผู้ห้าม |
inhibitor | (อินฮิบ'บิเทอะ) n. ตัวขัดขวาง, ตัวยับยั้ง, ตัวสกัดกั้น, ผู้ห้าม |
interdict | (อินเทอไดทฺ') n. คำสั่งห้าม, กฎหมายที่เป็นคำสั่งห้าม, ข้อห้าม, การห้าม. vt. ห้ามขัดขวางโดยการทิ้งระเบิดติดต่อกัน., See also: interdictor n., Syn. prohibit |
interdiction | n. การห้าม, ภาวะที่ถูกห้าม, คำสั่งห้าม., See also: interdictory adj. |
interlope | (อินเทอโลพ') vi. ดำเนินกิจการโดยไม่มีใบอนุญาต, รุกล้ำไปในบริเวณที่หวงห้ามโดยไม่มีใบอนุญาต, พูดสอดขึ้น, ยุ่งเรื่องของคนอื่น., See also: interloper n., Syn. trespass |
muzzle | (มัช'เซิล) n. ที่ครอบหรือสวมปากสุนัขหรือม้า, ปากปืน, ส่วนยื่นของศีรษะสัตว์ที่ได้แก่ ขากรรไกร ปากและจมูก. vt. ใส่ที่สวมปาก, จำกัด, หักห้าม, Syn. suppress |
nix | (นิคซฺ) n. ความไม่มีอะไร. -adv. ไม่. interj. คำอุทานแสดงความไม่เห็น vt. คัดค้าน, ไม่เห็นด้วย, ห้าม |
off-limits | (ออฟ'ลิม'มิทซฺ) adj. ห้ามเข้า |
outlaw | (เอาทฺ'ลอ) n. คนนอกกฎหมาย, คนร้าย, ผู้ร้าย, อาชญากร vt. ทำให้เป็นสิ่งผิดกฎหมาย, คว่ำบาตร, ประณาม, ห้าม, Syn. law-breaker |
packaged program | โปรแกรมสำเร็จในทางคอมพิวเตอร์ใช้หมายถึง application package ซึ่งก็คือ โปรแกรมสำเร็จที่มีผู้เขียนไว้จำหน่าย มีการจดลิขสิทธิ์ (ห้ามการคัดลอก) ปัจจุบันได้รับความนิยมมาก ราคาถูกกว่าการจ้างเขียน การใช้ก็ไม่ยาก ผู้ที่ซื้อไปใช้เพียงแต่อ่านคู่มือเอาเอง หรือเรียนรู้วิธีใช้คำสั่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ผู้ผลิตจะแข่งขันกันในการทำให้โปรแกรมเหล่านี้ใช้ง่าย มีทั้งโปรแกรมระบบ เช่น MS DOS และ Windows โปรแกรมตารางจัดการเช่น Excel, Lotus โปรแกรมประมวลผลคำ เช่น Word Perfect, MS Word, CU Writer ฯลฯ |
power brake | (เพา'เออะเบร็ค) n. ห้ามล้อพลังเครื่องยนต์ |
prohibit | (โพรฮิบ'บิท) vt. ห้าม, ป้องกัน, ขัดขวาง., See also: prohibiter, prohibitor n. |
prohibition | (โพรฮิบิช'เชิน) n. การห้าม, ข้อห้าม, คำสั่งห้าม, ข้อละเว้น, การห้ามผลิตและขายสุรา, See also: prohibitionary adj. |
prohibitive | (โพรฮิบ'บิทิฟว) adj. ซึ่งห้าม, ซึ่งขัดขวาง, ซึ่งป้องกัน, ซึ่งยับยั้ง., See also: prohibitiveness n. |
proscribe | (โพรสไครบ') vt. ประณาม, ห้าม, เนรเทศ, ไล่ออกไป, เพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง., See also: proscriber n. denounce, condemn |
proscription | (โพรสคริพ'เชิน) n. การประณาม, การห้าม, การเนรเทศ, การไล่ออกไป, การเพิกถอนสิทธิการเป็นพลเมือง., See also: proscriptive adj. |
reserved word | คำสงวนหมายถึง คำหรือรหัสหนึ่งรหัสใดที่กำหนดให้ใช้เพื่อการใดโดยเฉพาะแล้ว ห้ามนำไปใช้เพื่อการอื่นอีกได้ เช่น คำ copy del หรือ ren ล้วนแต่เป็นคำสั่งที่ใช้ในระบบปฏิบัติการดอสแล้ว คำเหล่านี้เป็นคำสงวนทั้งหมด จะนำไปตั้งเป็นชื่อตัวแปร หรือชื่อแฟ้มข้อมูลไม่ได้ |
restrain | (รีสเทรน') vt. ยับยั้ง, หยุดยั้ง, หักห้าม, อดกลั้น, กลั้น, ดึงบังเหียน, รั้ง, จำกัด, คุม, ควบคุม, ข่มใจ, See also: restrainability n. restrainable adj. restrainedly adv. restrainingly adv., Syn. repress, hinder |
restraint | (รีสเทรนทฺ') n. การยับยั้ง, การหยุดยั้ง, การหักห้าม, การอดกลั้น, การกลั้น, การห้ามปราม, การดึงบังเหียน, การหน่วงเหนี่ยว, วิธีการยังยั้งดังกล่าว, การข่มใจ, Syn. constraint, rein |
Nontri Dictionary
admonish | (vt) ห้าม, ตักเตือน, ว่ากล่าว, ให้สติ |
admonition | (n) การว่ากล่าว, การห้าม, การตักเตือน |
AIR air brake | (n) ระบบห้ามล้อโดยการอัดลม |
astringent | (n) ยาสมานแผล, ยาห้ามเลือด |
ban | (n) การห้าม, การประกาศห้าม, การสั่งห้าม |
ban | (vt) ห้าม, สั่งห้าม, ประกาศห้าม |
bar | (vt) สกัดกั้น, กีดกั้น, ขวาง, ห้าม |
boycott | (n) การคว่ำบาตร, การห้ามติดต่อ |
boycott | (vt) คว่ำบาตร, ไม่ติดต่อด้วย, ห้ามติดต่อ |
brake | (n) ห้ามล้อรถ, พุ่มไม้, ป่าละเมาะ |
brake | (vt) หยุด, เบรค, ห้ามล้อ |
contraband | (adj) ต้องห้าม, ทึ่ห้ามนำเข้ามา, เป็นของเถื่อน |
contraband | (n) ของต้องห้าม, สินค้าต้องห้าม, ของเถื่อน, สินค้าเถื่อน |
curfew | (n) การตีระฆัง, การห้ามออกนอกบ้านในยามวิกาล |
deadline | (n) เส้นตาย, ขีดจำกัดเวลา, กำหนดเวลา, เส้นห้ามผ่าน |
debar | (vt) กั้น, กีดกั้น, ขัดขวาง, ห้าม, ยับยั้ง |
disqualify | (vt) ทำให้เสียสิทธ์, ตัดสิทธิ์, ห้าม, ทำให้ขาดคุณสมบัติ |
dissuade | (vt) ยังยั้ง, หน่วงเหนี่ยว, ห้ามปราม, ปราม |
dissuasion | (n) การหน่วงเหนี่ยว, การยับยั้ง, การห้ามปราม, การปราม |
embargo | (n) การห้ามเรือเข้าออกเมืองท่า, การห้ามส่งสินค้า |
enjoin | (vt) บัญชา, บังคับ, สั่งการ, กำชับ, ห้าม |
forbear | (vi, vt) อดกลั้น, หักห้าม, ระงับ, ละเว้น, อดทน, ข่มใจ |
forbearance | (n) การข่มใจ, การหักห้าม, การระงับ, ความอดทน, การละเว้น |
forbid | (vt) ขัดขวาง, ไม่อนุญาต, ห้าม, ปราม, ยับยั้ง |
forbidden | (adj) ซึ่งต้องห้าม, ซึ่งถูกห้าม, ซึ่งไม่ได้รับอนุญาต |
illicit | (adj) ต้องห้าม, ผิดกฎหมาย, เถื่อน |
inadmissible | (adj) ต้องห้าม, ไม่สามารถจะรับได้ |
inhibit | (vt) กีดกั้น, ขัดขวาง, ยับยั้ง, สกัดกั้น, ห้าม |
interdict | (n) ข้อห้าม, คำสั่งห้าม |
interdict | (vt) ห้าม, ขัดขวาง |
interdiction | (n) การห้าม, คำสั่งห้าม |
interpose | (vi, vt) สอดแทรก, พูดสอด, ขวาง, ก้าวก่าย, แทรกแซง, กั้นกลาง, ห้ามปราม |
outlaw | (vt) หนีกฎหมาย, ผิดกฎหมาย, นอกกฎหมาย, ห้าม, ประกาศ |
prohibit | (vt) ห้าม, ปราม, สั่งห้าม, ขัดขวาง, ยับยั้ง |
prohibition | (n) การห้าม, ข้อห้าม, ข้อละเว้น, การปราม, คำสั่งห้าม |
prohibitive | (adj) ซึ่งห้าม, ซึ่งห้ามปราม, ซึ่งขัดขวาง, ซึ่งยับยั้ง |
proscribe | (vt) เนรเทศ, ไล่ออก, ห้าม, ประณาม, เพิกถอนสิทธิ์ |
proscription | (n) การเนรเทศ, การไล่ออก, การห้าม, การเพิกถอนสิทธิ์ |
restraint | (n) การยับยั้ง, การงดเว้น, ข้อผูกมัด, การหักห้ามใจ |
restrict | (vt) ควบคุม, จำกัด, หักห้าม, ยับยั้ง |
SELF-self-denial | (n) การหักห้ามใจ, การเสียสละประโยชน์ส่วนตน |
stanch | (n) คัดเลือด, ห้ามเลือด |
staunch | (n) คัดเลือด, ห้ามเลือด |
stoppage | (n) เครื่องกีดขวาง, การหยุด, การยุติ, การห้าม, การเลิก, การอุด |
stopper | (n) สิ่งกีดขวาง, จุก, ผู้หยุด, ผู้ห้าม |
styptic | (adj) ซึ่งห้ามเลือด |
styptic | (n) สิ่งที่ใช้ห้ามเลือด |
suppress | (vt) ปราบปราม, เลิก, กดขี่, กลั้น, ห้าม, ทำลาย, บดขยี้ |
taboo | (adj) ต้องห้าม, เป็นข้อห้าม |
taboo | (n) ข้อห้าม, สิ่งต้องห้าม, ศีลห้าม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
double park | (vi) จอดรถซ้อนคัน เช่น ป้ายเขียว่า "No double parking" ห้ามจอดรถซ้อนคัน |
gag order | (n) คำสั่งห้ามแพร่งพราย, คำสั่งปกปิด |
self-restrained | (adj) ผู้ห้ามใจตนเอง |
teetotaler | (n) ผู้ที่ถูกห้ามไม่้ให้ดื่มเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอลฺ์ |
undeductible expense | (n) ค่าใช้จ่ายต้องห้าม |
Longdo Approved JP-TH
我慢 | [がまん, gaman] (n, vi) อดทนอดกลั้น, หักห้ามใจ |
禁煙 | [きんえん, kin'en] (n, phrase) ห้ามสูบบุหรี่ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
駐車禁止 | [ちゅうしゃきんし, chuushakinshi] ห้ามจอดรถ |
駄目 | [だめ, dame] (n, adj) แย่ ไม่ดี ไม่มีผล ไม่ได้ ไม่มีหวัง อย่้า ห้าม |
禁忌 | [きんき, kinki] ต้องห้าม, เป็นข้อห้าม |
外出禁止令 | [かいしゅつきんしれい, kaishutsukinshirei] (n) Curfew หรือ กฏอัยการศึก - ห้ามออกจากบ้านหลังเวลาที่กำหนด |
火気厳禁 | [かきげんきん, kakigenkin] (n, phrase) ห้ามจุดไฟ ห้ามทำให้เกิดประกายไฟ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
禁じる | [きんじる, kinjiru] TH: ห้าม EN: to prohibit |
Longdo Approved DE-TH
abraten von | (vi) |riet ab, hat abgeraten| แนะนำไม่ให้ทำ, ห้ามปราม เช่น Experten raten davon ab, Weissmacherzahnpasta täglich einzusetzen. |
verbieten | (vt) |verbot, hat verboten| ห้ามไม่ให้ทำ เช่น Rauchen verboten! ห้ามสูบบุหรี่, Betreten verboten! ห้ามเข้า, See also: A. erlauben, Syn. untersagen |
verraten | (vi, vt) |verrät, verriet, hat verraten| เผยความลับ, บอกความจริง, ช่วยแนะ อธิบาย ตัวอย่างการใช้ คำ 1° Yujin, ich will dir verraten, dass Junsang dich sehr mag! = นี่ ยูจิน, เธอนะ ไม่รู้รู้เลยใช่มั้ย ว่าจุนซางเค้าชอบเธอมากเลยน้า (จาก winter love song แฮะๆ ) 2° Unser Geheimnis darfst du keinem verraten! = ความลับระหว่างเรานะ เธอ ห้ามไปบอก ใครเชียวนะ! ( กรรมตรง คือ unser Geheimnis, กรรมรอง คือ keinem, Dativ! ) 3° Können Sie mir bitte verraten, wie ich am schnellsten zum Bahnhof komme? = เอ่อ คุณครับ กรุณาเถอะครับ ช่วยบอกทางผมไปสถานีรถไฟให้ด่วนที่สุดจะได้มั้ยครับ? ( คำว่า bitte จะช่วยให้คุณไปถึงสถานีรถไฟได้เร็ว จริงๆน้า..), See also: die Sache aufklären, A. verheimlichen, still sein, Syn. das Geheimnis sagen |
Longdo Approved FR-TH
défense de fumer! | (phrase) ห้ามสูบบุหรี่! |
zone d'arrêt interdit | (n) |f| เขตห้ามจอด |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.5481 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม