425 ผลลัพธ์ สำหรับ *สังคม*
ภาษา
หรือค้นหา: สังคม, -สังคม-Longdo MED - TH
selfie | [เซลฟฺ-ฟี] (n) การถ่ายภาพตนเองในอิริยาบทต่างๆด้วยโทรศัพทมือถือหรืออุปกรณ์อิเล็คทรอนิกส์ แล้วมีการเผยแพร่ภาพไปยังสื่อสังคมออนไลน์ |
Longdo TH - TH
มนุษย์ป้า | คำที่ใช้เรียกผู้ที่มีพฤติกรรมที่มีลักษณะที่เห็นแก่ตัว ทำสิ่งต่างๆ โดยไม่สนใจว่าจะทำให้ผู้อื่นหรือสังคมเดือดร้อน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจำวัน เช่น การแย่งที่นั่งว่างในรถโดยสาธารณะ, การแซงคิวไม่ยอมต่อแถวคอยเวลาขึ้นรถไฟฟ้า, โดยส่วนมากจะเป็นสุภาพสตรีในวัยกลางคนจนถึงสูงอายุ จึงเป็นที่มาถึงคำว่า "ป้า" เริ่มเป็นที่ใช้กันแพร่หลายในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในช่วงปี 2557 โดยล่าสุดมีลือกันถึงกรณีมีผู้เปิดประตูรถแท็กซี่มีผู้โดยสารอยู่ขณะที่กำลังจอดติดไฟแดง ขอขึ้นไปนั่งด้วยหน้าตาเฉยโดยอ้างว่าขอติดรถไปด้วยตามเส้นทางที่ผ่าน |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ | (org) Ministry of Social Development and Human Security |
คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา | Faculty of Sociology and Anthropology |
ภูมิสังคม | (n) geosocial |
สัตว์สังคม | (n) social animal |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ยิ้ม ตุ๋ย | [ยิ้ม-ตุ๋ย] บุคคลหรือมนุษย์ต่างดาวที่มาจากนอกโลก มีลักษณะนิสัยที่หื่นมาก หากพบบุคคลลักษณะเช่นดังกล่าว ให้พึงระวังไว้เป็นดีที่สุดเพราะเป็นภัยใกล้ตัวทางสังคม |
Longdo Unapproved CN - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
社会 | [社 会] (n) สังคม |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
สังคม | (n) social, Syn. แวดวง, วงการ |
สังคม | (n) society, Example: มนุษย์เท่านั้นเป็นผู้ที่ทำให้เกิดมีสังคมขึ้นมา, Count Unit: สังคม, Thai Definition: คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบกฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน, Notes: (บาลี) |
สังคม | (n) association, See also: club, community, organization, union, Example: ประเทศกำลังพัฒนาพากันยึดรูปแบบของสังคมอเมริกันเป็นต้นแบบแห่งความเจริญ, Thai Definition: วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง, Notes: (สำนวน) |
สังคม | (adj) social, Example: ตั้งแต่เขาได้รับเลือกเป็นส.ส. เขาต้องออกงานสังคมทุกวัน ไม่มีวันหยุด, Thai Definition: ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน, Notes: (บาลี) |
วงสังคม | (n) society, See also: social circle, Syn. แวดวงสังคม, Example: นับวันไป คนผิวดำในสหรัฐอเมริกาก็ดูจะมีบทบาทในวงสังคมของประเทศชาติมากเข้าไปทุกที, Thai Definition: กลุ่มสังคมที่สังกัดอยู่ |
ขยะสังคม | (n) dregs of society, Syn. เดนสังคม, มารสังคม, Example: เมื่อตำรวจได้ฟังเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นก็เริ่มวางแผนจับขยะสังคมทันที, Count Unit: คน, กลุ่ม, พวก, Thai Definition: คนที่ไม่มีคุณค่าต่อสังคม, Notes: (สำนวน) |
งานสังคม | (n) social contact, See also: social intercourse |
ทางสังคม | (adj) social, Syn. ด้านสังคม, Example: คนที่มีความเครียดมักจะอ้างว่า สภาพแวดล้อมทางสังคมไม่ดี |
ภัยสังคม | (n) social danger, See also: social harm, Example: เกิดเป็นผู้หญิงต้องระวังภัยสังคมที่มีอยู่รอบตัวตลอดเวลา, Thai Definition: สิ่งที่อันตรายที่เกิดขึ้นจากจิตใจหรือการกระทำที่มุ่งร้ายของผู้คนในสังคมด้วยกันเอง |
ภัยสังคม | (n) social danger, See also: social harm, Example: เกิดเป็นผู้หญิงต้องระวังภัยสังคมที่มีอยู่รอบตัวตลอดเวลา, Thai Definition: สิ่งที่อันตรายที่เกิดขึ้นจากจิตใจหรือการกระทำที่มุ่งร้ายของผู้คนในสังคมด้วยกันเอง |
มารสังคม | (n) social evil doer, Syn. คนจัญไร, คนอัปรีย์, คนพาล, คนทุจริต, คนเลว, อันธพาล, Example: เขาเป็นมารสังคมโดยแท้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่เป็นภัยต่อสังคม |
มารสังคม | (n) social evil doer, Syn. คนจัญไร, คนอัปรีย์, คนพาล, คนทุจริต, คนเลว, อันธพาล, Example: เขาเป็นมารสังคมโดยแท้, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ที่เป็นภัยต่อสังคม |
ข่าวสังคม | (n) social news, Example: เขาเขียนข่าวสังคมให้กับหนังสือพิมพ์เชียงใหม่นิวส์, Count Unit: ข่าว, Thai Definition: ข่าวที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับบุคคลสำคัญในวงสังคม |
สภาพสังคม | (n) state of society |
สังคมชนบท | (n) local society |
สังคมนิยม | (n) socialism, Example: รัสเซียพยายามอย่างเต็มที่ในการใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดผสมผสานกับสังคมนิยม, Thai Definition: ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต |
สังคมนิยม | (adj) socialist, Example: แนวคิดของพรรคสังคมนิยมมุ่งหมายจะทำลายล้างระบบชนชั้นศักดินา, Thai Definition: ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต |
สังคมเปิด | (n) open society |
เข้าสังคม | (v) socialize, Example: เด็กที่ได้รับความอบอุ่นจากพ่อแม่จะเป็นเด็กที่พร้อมจะเรียนรู้อารมณ์ดีสามารถปรับตัวได้เมื่อเข้าสังคม |
ปัญหาสังคม | (n) social problem, Example: ปัญหาสังคมที่เรากำลังเผชิญอยู่ได้แก่ปัญหาอาชญากรรม ปัญหายาเสพติด และปัญหาการทุจริตในวงราชการ, Count Unit: เรื่อง, Thai Definition: ภาวะใดๆ ในสังคมที่คนจำนวนมากถือว่าเป็นสิ่งผิดปกติ ไม่พึงปรารถนา ต้องการแก้ไขให้มีการกลับคืนสู่สภาวะปกติ |
ระดับสังคม | (n) social level, See also: social scale, Example: ปัจจุบันสถานภาพของผู้หญิงสูงขึ้นทั้งในระดับครอบครัว และระดับสังคม |
สังคมวิทยา | (n) sociology |
สังคมวิทยา | (n) sociology, See also: social sciences, Example: สังคมวิทยาการเมืองเป็นตัวอย่างของวิชาสังคมวิทยาที่มุ่งศึกษาด้านใดด้านหนึ่งของสังคมอย่างลึกซึ้งเฉพาะด้าน, Thai Definition: วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม |
สังคมศึกษา | (n) social studies, Example: เด็กๆ ส่วนใหญ่มักจะละทิ้งภาษาไทยและสังคมศึกษา จะไปเน้นที่ภาษาอังกฤษและเลขมากกว่า, Count Unit: วิชา, Thai Definition: หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม |
สังคมเมือง | (n) urban society |
สังคมเมือง | (n) urban society, Ant. สังคมชนบท, Example: สภาพของสังคมเมืองในปัจจุบันของประเทศอุตสาหกรรมมีการแข่งขันมาก |
ประกันสังคม | (n) social security, Example: รัฐต้องจัดให้มีการประกันสังคมให้เหมาะสมกับความเป็นอยู่ของประชาชน |
สถาบันสังคม | (n) social institute, Example: การจัดระเบียบของสถาบันสังคมมีความจำเป็นอย่างยิ่ง, Count Unit: สถาบัน, Thai Definition: กลุ่มคนในสังคมที่มีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันตามระเบียบกฎเกณฑ์ |
สถาบันสังคม | (n) social institution |
สังคมศาสตร์ | (n) social science |
นักสังคมนิยม | (n) socialist, Example: นอกจากเขาจะเป็นนักวิทยาศาสตร์ระดับโลกแล้วยังเป็นนักสังคมนิยมตัวยง, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้ใฝ่ใจในทฤษฎีทางสังคมนิยม |
ระเบียบสังคม | (n) social rules, See also: common law, tradition, Example: ละครแห่งชีวิตของ ม.จ. อากาศ ดำเกิง สะท้อนถึงความเสื่อม และการพังทลายของวิมานในระเบียบสังคมแบบเก่า |
สังคมข่าวสาร | (n) information society, Example: สังคมปัจจุบันกำลังเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมข่าวสาร |
สังคมชาวบ้าน | (n) folk society, Example: ครูต้องเข้ากับสังคมชาวบ้านได้ดีถึงจะเป็นประโยชน์กับตัวครูเอง |
จิตวิทยาสังคม | (n) social psychology, See also: behavior of groups, Thai Definition: สาขาของจิตวิทยาที่ศึกษาถึงพฤติกรรมของกลุ่มคนชนที่มีต่อปรากฏการณ์ต่างๆ ทางสังคม เพื่อสรุปเป็นกฎเกณฑ์สำหรับใช้พยากรณ์และควบคุมพฤติกรรมของกลุ่มชนนั้นๆ |
ทางสังคมวิทยา | (adj) sociological, Example: การตีความทางสังคมวิทยา คือการวิเคราะห ์และอธิบายเหตุการณ์สังคมด้วยระเบียบวิธีทางสังคมวิทยา |
นักสังคมวิทยา | (n) sociologist, Example: นักสังคมวิทยาคือบุคคลที่เชื่อมั่นในลัทธิสังคมนิยม, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เชี่ยวชาญในวิชาสังคมวิทยา |
พรรคสังคมนิยม | (n) socialist party, Example: ลักษณะเด่นของระบบพรรคการเมืองในประเทศญี่ปุ่นคือการแข่งขันระหว่างพรรคเสรีประชาธิปไตยกับพรรคสังคมนิยม, Count Unit: พรรค, Thai Definition: พรรคการเมืองที่มีนโยบายว่าทรัพย์ทั้งหลายควรเป็นของรัฐ |
มรดกแห่งสังคม | (n) social heritage, See also: society's inheritance, Example: ประเพณีและวัฒนธรรมของไทยเป็นมรดกแห่งสังคม ซึ่งสังคมจะต้องรับและรักษาไว้ให้เจริญงอกงาม |
สังคมเศรษฐกิจ | (n) economic society, Example: ข้าพเจ้ามีความรู้สึกว่า ข้าพเจ้าอยู่ในสังคมเศรษฐกิจอย่างปัจจุบันนี้แบบไม่มีความสุขเอาเสียเลย, Thai Definition: สังคมที่มีการจัดระเบียบทรัพยากรธรรมชาติ ความสัมฤทธิ์ทางวัฒนธรรม และแรงงานของตน เพื่อธำรงรักษาและส่งเสริมสวัสดิภาพทางวัตถุของมนุษย์ |
คณะสังคมศาสตร์ | (n) Faculty of Social Sciences, Count Unit: คณะ |
นักสังคมศาสตร์ | (n) social worker, See also: welfare worker, Example: นักสังคมศาสตร์ได้วิเคราะห์ถึงแนวโน้มที่จะเกิดเหตุนองเลือดในอนาคต, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีความรู้ความชำนาญในวิชาสังคมศาสตร์ |
ลัทธิสังคมนิยม | (n) socialism |
สวัสดิการสังคม | (n) social welfare, Example: รัฐบาลจัดให้มีสวัสดิการสังคมที่ดีขึ้นกับประชาชน, Thai Definition: สิ่งที่เอื้ออำนวยให้ผู้ทำงานมีชีวิต สภาพความเป็นอยู่ที่ดีและสะดวกสบาย |
สวัสดิภาพสังคม | (n) public welfare, Example: นักการเมืองพวกนี้ทำได้แค่เล่นลิ้นว่าเป็นห่วงสวัสดิภาพสังคมของประชาชนแล้วก็ไม่ทำอะไรเลย |
สังคมสงเคราะห์ | (n) social work, See also: social welfare, Example: ชุมชนควรจัดการบริการสังคมสงเคราะห์เพื่อช่วยเหลือบิดามารดาที่ไม่มีเวลาเลี้ยงดูบุตรเพราะต้องออกทำหากิน, Thai Definition: การดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้ |
โครงสร้างสังคม | (n) social structure, See also: social organization, Syn. รูปแบบทางสังคม, Example: ในโครงสร้างสังคมปัจจุบันบุคคลมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคประสาทได้ง่าย, Count Unit: โครงสร้าง |
ค่านิยมทางสังคม | (n) social value, Example: ชื่อเสียง ความก้าวหน้า เกียรติ อำนาจ ความมั่งคั่ง ความดีอื่นๆ และสิ่งที่เป็นค่านิยมทางสังคมทั้งหลายเหล่านี้มีรากฐานมาจากจิตวิทยาทั้งสิ้น |
การกระทำทางสังคม | (n) social action, Example: ความสัมพันธ์ทางสังคมเริ่มด้วยการกระทำทางสังคม |
การควบคุมทางสังคม | (n) social control, Example: ในสังคมต้องมีกลไกการควบคุมทางสังคม |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระแสสังคม | น. ความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ในสังคมที่มีอิทธิพลต่อการดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น กระแสสังคมกดดันให้ตำรวจไม่ดำเนินคดีกับเด็กที่ผิดกฎหมาย. |
กองทุนประกันสังคม | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสำนักงานประกันสังคม เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายให้ผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทน กองทุนนี้มีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสมทบจากรัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตน. |
มารสังคม | (มาน-) น. ผู้ที่เป็นภัยต่อสังคม. |
แรงงานและสวัสดิการสังคม | น. ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารแรงงาน การจัดหางาน การประชาสงเคราะห์ การพัฒนาฝีมือแรงงาน การสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน และการประกันสังคม. |
สังคม, สังคม- | (-คมมะ-) น. คนจำนวนหนึ่งที่มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันตามระเบียบ กฎเกณฑ์ โดยมีวัตถุประสงค์สำคัญร่วมกัน เช่น สังคมชนบท |
สังคม, สังคม- | วงการหรือสมาคมของคนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น สังคมชาวบ้าน. |
สังคม, สังคม- | (-คมมะ-) ว. ที่เกี่ยวกับการพบปะสังสรรค์หรือชุมนุมชน เช่น วงสังคม งานสังคม. |
สังคมนิยม | (สังคมมะ-, สังคม-) น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต. |
สังคมวิทยา | (สังคมมะ-, สังคม-) น. วิชาว่าด้วยเรื่องสังคม. |
สังคมศาสตร์ | (สังคมมะ-, สังคม-) น. ศาสตร์ว่าด้วยความรู้เกี่ยวกับสังคม มีหมวดใหญ่ ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ (เกี่ยวกับสังคม) มานุษยวิทยา สังคมวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ จิตวิทยาสังคม. |
สังคมศึกษา | (สังคมมะ-, สังคม-) น. หมวดวิชาที่ประกอบด้วยวิชาภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และศีลธรรม. |
สังคมสงเคราะห์ | (สังคมสงเคฺราะ) น. การดำเนินงานเพื่อช่วยเหลือบุคคลให้สามารถช่วยตนเองได้. |
กฎธรรมดา | น. ความเป็นไปตามปรกติวิสัยของมนุษย์และสังคม. |
กว้างขวาง | เผื่อแผ่ เช่น มีนํ้าใจกว้างขวาง, รู้จักคนมากและมีคนรู้จักมาก เช่น กว้างขวางในสังคม. |
กษัตริย-, กษัตริย์ | คนในวรรณะที่ ๒ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี ๔ วรรณะ ได้แก่ วรรณะพราหมณ์ วรรณะกษัตริย์ วรรณะแพศย์ และวรรณะศูทร. |
การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. |
เก็บตัว ๒, เก็บเนื้อเก็บตัว | ก. สงวนตัวไม่ไปงานสังคม, ไม่ออกสังคม, ไม่คบหาสมาคมกับใคร. |
เกี่ยวเนื่อง | ก. เกี่ยวพันติดต่อกัน เช่น โครงการนี้เกี่ยวเนื่องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. |
แก่ ๑ | โดยปริยายหมายความว่า จัดเจน หนัก หรือ ยิ่งไปในทางนั้น เช่น แก่สังคม แก่วิชา แก่เหล้า แก่เล่น แก่ไฟ. |
คณาธิปไตย | (คะนาทิปะไต, คะนาทิบปะไต) น. ระบอบการปกครองแบบหนึ่ง ซึ่งปกครองโดยคณะบุคคลจำนวนน้อยของสังคม มักได้แก่ กลุ่มผู้อาวุโส กลุ่มทหาร หรือ กลุ่มปฏิวัติ. |
ครอบครัว | (คฺรอบคฺรัว) น. สถาบันพื้นฐานของสังคมที่ประกอบด้วยสามีภรรยาและหมายความรวมถึงลูกด้วย. |
คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. |
คอมมิวนิสต์ | น. ระบบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมแบบหนึ่งของลัทธิสังคมนิยมที่มีอุดมการณ์ให้รวมทรัพย์สินทั้งปวงเป็นสมบัติส่วนกลางของชุมชน ไม่ให้มีกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล และให้จัดสรรรายได้แก่บุคคลอย่างเสมอภาคกัน ทั้งนี้เพื่อแก้ปัญหาความทุกข์ยากของคนในสังคมอันเป็นผลจากความไม่เสมอภาคในทรัพย์สิน, ผู้ที่นิยมระบบคอมมิวนิสต์. |
ค่านิยม | น. สิ่งที่บุคคลหรือสังคมยึดถือเป็นเครื่องช่วยตัดสินใจ และกำหนดการกระทำของตนเอง. |
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ. |
จระเข้คับคลอง | น. ผู้ที่ชอบวางตัวใหญ่โตเกินไปย่อมมีอุปสรรคในการดำรงตนในสังคม. |
ชั้น | สถานภาพทางสังคมที่ไม่เสมอกัน เช่น ชนชั้นกลาง ชนชั้นกรรมาชีพ |
ชุมชน | น. หมู่ชน, กลุ่มคนที่อยู่รวมกันเป็นสังคมขนาดเล็ก อาศัยอยู่ในอาณาบริเวณเดียวกันและมีผลประโยชน์ร่วมกัน, ที่ที่มีคนอาศัยอยู่มาก เช่น ขับรถเข้าเขตชุมชนต้องชะลอความเร็ว. |
ซ้าย | เรียกกลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมือง เป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว ว่า ฝ่ายซ้าย, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. |
ฐาน ๒, ฐาน-, ฐานะ | หลักฐาน, ลำดับความเป็นอยู่ในสังคม เช่น ทุกคนยอมรับรู้ฐานะในสังคมของเขา. |
ตัวใครตัวมัน | ว. ต่างคนต่างเอาตัวรอดหรือรับผิดชอบตัวเอง เช่น นักพนันพอเห็นตำรวจมาก็วิ่งตัวใครตัวมัน อาหารมื้อเย็นวันนี้ตัวใครตัวมันนะ, ไม่เกี่ยวข้องหรือช่วยเหลือกัน เช่น สังคมเมืองหลวงอยู่กันอย่างตัวใครตัวมัน. |
ทรัพยากรบุคคล | น. บุคคลผู้มีคุณค่าที่เป็นทรัพย์ขององค์กร สังคม หรือประเทศ. |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม |
นิคมที่ดิน | น. ที่ดินที่รัฐจัดสรรให้ประชากรอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานเพื่อประกอบอาชีพและอยู่อาศัยอย่างเป็นระเบียบ โดยมีการวางแผนเพื่อพัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาชีพ รวมทั้งบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า. |
นิยม | ก. ชมชอบ, ยอมรับนับถือ, ชื่นชมยินดี, ใช้ประกอบท้ายคำสมาสบางคำใช้เป็นชื่อลัทธิ เช่น ลัทธิชาตินิยม ลัทธิสังคมนิยม. |
บอล ๒ | น. เรียกงานชุมนุมทางสังคมที่มีลีลาศ รำวง เป็นหลักสำคัญ ว่า งานบอล. |
ประชากรศาสตร์ | น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ. |
ประเพณีนิยม | น. ประเพณีของสังคมที่ถือปฏิบัติสืบทอดกันมา. |
ผึ้ง ๑ | น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Apidae มีปีกบางใส ๒ คู่ ปีกคู่หลังเล็กกว่าปีกคู่หน้า ปากใช้ทั้งกัดอาหารและดูดกินของเหลวได้ ปล้องท้องที่อยู่ติดกับส่วนอกเล็กมาก มีขนปกคลุมตามลำตัว เป็นแมลงสังคม อยู่รวมกันเป็นฝูง แบ่งชั้นวรรณะเป็นผึ้งนางพญา ผึ้งผู้ และผึ้งงาน ผึ้งงานมีถุงสำหรับเก็บเกสรดอกไม้ที่ขาหลัง และมีเหล็กในสำหรับต่อยปล่อยน้ำพิษ ทำให้เจ็บปวด ชนิดที่รู้จักกันแพร่หลายในประเทศไทย มี ๕ ชนิด เป็นผึ้งพื้นเมืองของประเทศไทย ๔ ชนิด คือ ผึ้งหลวง ( Apis dorsataFabricius) ผึ้งโพรง ( A. cerana Fabricius) ผึ้งมิ้ม ( A. florea Fabricius) และผึ้งม้าน ( A. andrenitormis Smith) ส่วนผึ้งที่เลี้ยงกันทั่วไปนำมาจากต่างประเทศ คือผึ้งพันธุ์ (A. mellifera Linn. ), เผิ้ง ก็เรียก. |
ผู้ประกันตน | น.ผู้ซึ่งจ่ายเงินสมทบอันก่อให้เกิดสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนตามกฎหมายประกันสังคม. |
ฝ่ายซ้าย | น. กลุ่มที่มีอุดมคติเพื่อลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในด้านเศรษฐกิจและการเมืองเป็นต้น มักใช้วิธีการที่รุนแรงและรวดเร็ว, โดยทั่วไปใช้หมายถึงกลุ่มที่นิยมลัทธิสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์. |
พราหมณ-, พราหมณ์ ๑ | (พฺรามมะนะ-, พฺราม) น. คนในวรรณะที่ ๑ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร, ผู้ที่ถือเพศไว้ผม นุ่งขาวห่มขาว เช่น พราหมณ์ปุโรหิต พราหมณ์พฤฒิบาศ. |
พ่อเลี้ยง | ชายผู้มีฐานะดีและได้รับความนับถือในสังคม, ผัวของแม่เลี้ยง. |
แพศย์ | (แพด) น. คนในวรรณะที่ ๓ แห่งสังคมฮินดู ซึ่งมี ๔ วรรณะ ได้แก่ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ และศูทร. |
ฟอนเฟะ | ว. เละเทะ, เป็นที่น่ารังเกียจ, เช่น มีความประพฤติฟอนเฟะ สังคมฟอนเฟะ. |
ฟาสซิสต์ | น. ลัทธิการเมืองที่ผู้นำรวบอำนาจทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมไว้หมด และมีนโยบายชาตินิยมอย่างรุนแรง แต่เคารพในกรรมสิทธิ์ของเอกชน, ผู้ที่นิยมลัทธินั้น. |
ภูมิรัฐศาสตร์ | (พูมิ-) น. วิชาในหมวดสังคมศาสตร์สาขาหนึ่ง มีลักษณะคล้ายวิชาภูมิศาสตร์การเมือง แต่เน้นหนักไปทางการเมือง. |
ภูมิศาสตร์ | (พูมิ-) น. วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับสังคมที่ปรากฏในดินแดนต่าง ๆ ของโลก. |
มด ๑ | น. ชื่อแมลงหลายชนิดในวงศ์ Formicidae ส่วนท้องปล้องที่ ๑ หรือปล้องที่ ๑ และปล้องที่ ๒ ที่ติดกับอกคอดกิ่ว ด้านหลังส่วนที่คอดมีโหนกนูน ลักษณะนี้ทำให้มดแตกต่างไปจากต่อ แตน และปลวก มีรูปร่าง ลักษณะ สี และกลิ่นแตกต่างกันตามชนิด เดินกันเป็นทางเพื่อขนอาหาร หรือย้ายรัง เป็นแมลงสังคม ทำรังอยู่เป็นกลุ่ม แบ่งชั้นวรรณะเป็นมดนางพญา มดผู้ และมดงาน มดงานเป็นมดเพศเมียที่เป็นหมันทำหน้าที่สร้างรัง เลี้ยงดูตัวอ่อน และหาอาหาร บางชนิดเมื่อถูกรบกวนจะป้องกันตัวโดยใช้อวัยวะต่อยปล่อยกรดหรือกัดให้เกิดแผลและปล่อยกรดออกมาทำให้เกิดอาการระคายเคืองหรือทำให้เจ็บปวดได้. |
มนุษยสัมพันธ์ | (มะนุดสะยะ-, มะนุดสำพัน) น. ความสัมพันธ์ในทางสังคมระหว่างมนุษย์ ซึ่งจะก่อให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
patriarchal society | สังคมอำนาจฝ่ายบิดา, สังคมแบบพ่อบ้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
policy, social | นโยบายทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
political socialization | การกล่อมเกลาทางการเมือง, การปลูกฝังให้เข้าร่วมสังคมการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
political sociology | สังคมวิทยาการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
psychopathic personality; personality, antisocial | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pressure, social | แรงกดดันทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, antisocial; personality, psychopathic | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
personality, psychopathic; personality, antisocial | บุคลิกภาพต่อต้านสังคม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
philosophy, social | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
power, social | อำนาจทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
problem, social | ปัญหาสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
law, social | กฎสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
law of social defence | กฎหมายป้องกันทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
law of social defence | กฎหมายป้องกันทางสังคม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
legislation, social | กฎหมายทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
responsibility, social | ความรับผิดชอบทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
revolution, social | การปฏิวัติสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reform, social | การปฏิรูปสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
scientific socialism | สังคมนิยมเชิงวิทยาศาสตร์ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
security, social; social security | ความมั่นคงทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stratification, class | ๑. การจัดช่วงชั้นในสังคม๒. การจัดกลุ่ม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social optimum | ความเหมาะสมที่สุดทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social optimum | ความเหมาะสมทางสังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
social order | ระเบียบสังคม, ความสงบเรียบร้อยทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social organization | ๑. การจัดระเบียบสังคม๒. องค์การสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social orientation | ๑. การปรับแนวคิดทางสังคม๒. แนวคิดทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social overheads | ค่าใช้จ่ายประจำทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social philosophy | ปรัชญาสังคม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
social policy | นโยบายทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social power | อำนาจทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social pressure | แรงกดดันทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stateless society | สังคมที่ไม่เป็นรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social demography | ประชากรศาสตร์สังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
social engineering | การวิศวกรรมทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social ethics | จริยธรรมสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social framework | กรอบสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social insurance | การประกันสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social insurance | การประกันสังคม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
social insurance | การประกันสังคม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
social integration | บูรณาการทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social justice | ความยุติธรรมทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socialist realism | สัจนิยมแนวสังคมนิยม [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sociality | สังคมภาพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socialization | การขัดเกลาทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socialization, political | การกล่อมเกลาทางการเมือง, การปลูกฝังให้เข้าร่วมสังคมการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socialized medicine | การแพทย์ที่จัดโดยสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
society | สังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
society, matriarchal | สังคมอำนาจฝ่ายมารดา [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
society, patriarchal | สังคมอำนาจฝ่ายบิดา, สังคมแบบพ่อบ้าน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socioeconomic group | กลุ่มทางเศรษฐกิจสังคม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Affirmative action programme | แผนงานช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสทางสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Agricultural society | สังคมเกษตรกรรม [เศรษฐศาสตร์] |
Rural sociology | สังคมวิทยาชนบท [เศรษฐศาสตร์] |
Social account | บัญชีสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Social accounting matrix | เมทริกซ์การบัญชีสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Social property | ทรัพย์สินส่วนรวมของสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Social price | ราคาทางสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Social security | การประกันสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Socioeconomic condition | ภาวะเศรษฐกิจสังคม [เศรษฐศาสตร์] |
Urban sociology | สังคมวิทยาเมือง [เศรษฐศาสตร์] |
cyber | ไซเบอร์, ไซเบอร์ คำที่กร่อนมาจากคำว่าไซเบอร์เนติกส์ และมีความหมายว่าเกี่ยวข้องกับระบบเครือข่ายและสังคมเครือข่ายสากลทั่วโลก เช่น ระบบอินเทอร์เน็ต (Internet) และยังมีการให้ความหมาย "สารสนเทศเสมือนจริงที่ถูกสร้างขึ้นหรือเกิดขึ้นเอง" <p>คำเหล่านี้มีใช้มากขึ้นทุกที อาทิ <p>cyberspace</p> <p>cyberporn</p> <p>cybersex</p> [คอมพิวเตอร์] |
Independent Living | การดำรงชีวิตอิสระ, การดำรงชีวิตอิสระเป็นแนวคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ที่เชื่อว่าคนพิการควรได้รับสิทธิความเป็นพลเมืองและสิทธิการตัดสินใจเช่นเดียวกับผู้ที่ไม่พิการ นั่นหมายถึงเป็นการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ของคนพิการให้มีความเป็นอิสระมากที่สุด โดยให้คนพิการได้เลือกตัดสินใจด้วยตนเอง เพื่อใช้ชีวิตอยู่ในชุมชน [Assistive Technology] |
Visual Strategies | กลวิธีผ่านการมอง, วิธีการที่ช่วยพัฒนาการสื่อสารของบุคคลออธิซึมหรือผู้ที่มีปัญหาการรับรู้ภาษาพูด โดยช่วยให้เด็กเข้าใจการสื่อสารจากภาษาพูดเป็นสื่อการรับรู้ด้วยภาพ เพื่อให้สามารถมีปฏิสัมพันธ์ในสังคมได้ [Assistive Technology] |
Women social workers | นักสังคมสงเคราะห์สตรี [TU Subject Heading] |
Women social reformers | นักปฏิรูปสังคมสตรี [TU Subject Heading] |
Action research | วิจัยปฏิบัติการ (สังคมศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Alienation (Social psychology) | ความผิดแปลกสภาวะ (จิตวิทยาสังคม) [TU Subject Heading] |
Architecture and society | สถาปัตยกรรมกับสังคม [TU Subject Heading] |
Art and society | ศิลปะกับสังคม [TU Subject Heading] |
Arts and society | ศิลปกรรมกับสังคม [TU Subject Heading] |
Assimilation (Sociology) | การผสมกลมกลืน (สังคมวิทยา) [TU Subject Heading] |
Buddhism and social problems | พุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม [TU Subject Heading] |
Charities | สังคมสงเคราะห์โดยเอกชน [TU Subject Heading] |
Child welfare workers | นักสังคมสงเคราะห์เด็ก [TU Subject Heading] |
Children with social disabelities | เด็กพิการทางสังคม [TU Subject Heading] |
Church and the world | คริสตศาสนากับสังคม [TU Subject Heading] |
Civil society | ประชาสังคม [TU Subject Heading] |
Communication in human services | การสื่อสารทางงานบริการสังคม [TU Subject Heading] |
Communication in social action | การสื่อสารในการกระทำทางสังคม [TU Subject Heading] |
Communication in social work | การสื่อสารในงานสังคมสงเคราะห์ [TU Subject Heading] |
Communication in the social sciences | การสื่อสารทางสังคมศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Communism and society | ลัทธิคอมมิวนิสต์กับสังคม [TU Subject Heading] |
Cooperation and socialism | สหกรณ์กับสังคมนิยม [TU Subject Heading] |
Cross-cultural studies | การศึกษาวัฒนธรรมต่างสังคม [TU Subject Heading] |
Educational sociology | สังคมวิทยาการศึกษา [TU Subject Heading] |
Elite (Social sciences) | ชนชั้นนำ (สังคมศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Elite (Social sciences) in literature | ชนชั้นนำ (สังคมศาสตร์) ในวรรณกรรม [TU Subject Heading] |
Evaluation research (Social action programs) | วิจัยประเมินผล (โปรแกรมกิจกรรมทางสังคม) [TU Subject Heading] |
Exchange theory (Sociology) | ทฤษฎีการแลกเปลี่ยน (สังคมวิทยา) [TU Subject Heading] |
Family social work | สังคมสงเคราะห์สำหรับครอบครัว [TU Subject Heading] |
Human service | งานบริการสังคม [TU Subject Heading] |
Industrial sociology | สังคมวิทยาแรงงาน [TU Subject Heading] |
Information society | สังคมสารสนเทศ [TU Subject Heading] |
Insurance, Unemployment | ประกันสังคมการว่างงาน [TU Subject Heading] |
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights (1966) | กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ค.ศ. 1966) [TU Subject Heading] |
Interviewing in social service | การสัมภาษณ์ในงานสังคมสงเคราะห์ [TU Subject Heading] |
Islam and social problem | ศาสนาอิสลามกับปัญหาสังคม [TU Subject Heading] |
Islamic sociology | สังคมวิทยาเชิงอิสลาม [TU Subject Heading] |
Knowledge, Sociology of | สังคมวิทยาความรู้ [TU Subject Heading] |
Literature and society | วรรณกรรมกับสังคม [TU Subject Heading] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บรรทัดฐานทางสังคม | [banthatthān thāng sangkhom] (n, exp) EN: social norm FR: norme sociale [ f ] |
บัตรประกันสังคม | [bat prakan sangkhom] (n, exp) EN: social security card FR: carte de sécurité sociale [ f ] |
บริบททางสังคม | [børibot thāng sangkhom] (n, exp) EN: social context FR: contexte social [ m ] |
บริบททางสังคมและวัฒนธรรม | [børibot thāng sangkhom lae watthanatham] (n, exp) EN: socio-cultural context FR: contexte socio-culturel [ m ] |
ชนชั้นทางสังคม | [chonchan thāng sangkhom] (n, exp) EN: social class FR: classe sociale [ f ] |
จัดระเบียบสังคม | [jat rabīep sangkhom] (v, exp) EN: reform society ; put order into society |
จิตวิทยาสังคม | [jittawitthayā sangkhom] (n, exp) EN: social psychology FR: psychologie sociale [ f ] |
การควบคุมทางสังคม | [kān khūapkhum thāng sangkhom] (n, exp) EN: social control |
การกระทำทางสังคม | [kān kratham thāng sangkhom] (n, exp) EN: social action FR: action sociale [ f ] |
การพัฒนาสังคม | [kān phatthanā sangkhom] (n, exp) EN: social development FR: développement social [ m ] |
การประกันสังคม | [kān prakan sangkhom] (n, exp) EN: social security ; social security insurance FR: sécurité sociale [ f ] ; couverture sociale [ f ] |
การสังคม | [kān sang khom] (n) EN: society FR: société [ f ] |
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ | [kān wijai thāng sangkhomsāt] (n, exp) EN: social science research |
คณะสังคมศาสตร์ | [Khana Sangkhomsāt] (n, prop) EN: Faculty of Social Sciences FR: Faculté des Sciences sociales [ f ] |
ค่านิยมทางสังคม | [khāniyom thāng sangkhom] (n, exp) EN: social value |
ข่าวสังคม | [khāo sangkhom] (n, exp) EN: social news FR: information sociale [ f ] |
ขยะสังคม | [khaya sangkhom] (n, exp) EN: dregs of society FR: lie de la société [ f ] ; rebut de la société [ m ] |
เครือข่ายสังคม | [khreūakhāi sangkhom] (n, exp) EN: social network FR: réseau social [ m ] |
โครงสร้างสังคม | [khrōngsāng sangkhom] (n, exp) EN: social structure ; social organization FR: structure sociale [ f ] ; organisation [ f ] |
ความรับผิดชอบต่อสังคม | [khwām rapphitchøp tø sangkhom] (n, exp) EN: social responsibility ; Corporate Social Responsibility (CSR) FR: responsabilité sociale des entreprises (RSE) [ f ] |
ความยุติธรรมทางสังคม | [khwām yuttitham thāng sangkhom] (n, exp) EN: social justice FR: justice sociale [ f ] |
กฎหมายประกันสังคม | [kotmāi prakan sangkhom] (n, exp) EN: social security law |
กระแสสังคม | [krasaē sangkhom] (n, exp) FR: courant social [ m ] |
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ | [Krasūang Kān Phatthanā Sangkhom lae Khwām Mankhong khøng Manut] (org) EN: Ministry of Social Development and Human Security |
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม | [Krasūang Raēng-ngān lae Sawatdikān Sangkhom] (org) EN: Ministry of Labour and Social Welfare |
ลัทธิสังคมนิยม | [latthi sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialism FR: socialisme [ m ] |
นโยบายสังคม | [nayōbāi sangkhom] (n, exp) FR: politique sociale [ f ] |
เงินสมทบประกันสังคม | [ngoen somthop prakan sangkhom] (n, exp) EN: social security contributions |
องค์กรของสังคม | [ongkøn khøng sangkhom] (n, exp) EN: social organization FR: organisation sociale [ f ] |
ปัญหาสังคม | [panhā sangkhom] (n, exp) EN: social problem ; social question FR: problème social [ m ] ; question sociale [ f ] |
พรรคสังคมนิยม | [phak sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialist party FR: parti socialiste [ m ] |
ภาษาศาสตร์เชิงสังคม | [phāsāsāt choēng sangkhom] (n, exp) EN: sociolinguistics FR: sociolinguistique [ f ] |
ภาษาศาสตร์สังคม | [phāsāsāt sangkhom] (n, exp) EN: sociolinguistics FR: siociolinguistique [ f ] |
พลวัตทางสังคม | [phonlawat thāng sangkhom] (n, exp) EN: social dynamics FR: dynamique sociale [ f ] |
ผู้เสียเปรียบในสังคม | [phū sīaprīep nai sangkhom] (n, exp) EN: the socially disadvantaged FR: personnes socialement défavorisées [ fpl ] |
ประกันสังคม | [prakan sangkhom] (n, exp) EN: social security FR: sécurité sociale [ f ] |
ประเพณีสังคม | [praphēnī sangkhom] (n, exp) EN: social customs FR: pratique sociale [ f ] |
ระเบียบสังคม | [rabīep sangkhom] (n, exp) EN: social rules ; common law ; tradition |
ระบบสังคม | [rabop sangkhom] (n, exp) EN: social system FR: système social [ m ] |
ระบบสังคมนิยม | [rabop sangkhomniyom] (n, exp) EN: socialism |
ระดับสังคม | [radap sangkhom] (n, exp) EN: social level ; social scale FR: niveau social [ m ] |
สัมพันธภาพทางสังคม | [samphanthaphāp thānng sangkhom] (n, exp) EN: social relationship FR: relation sociale [ f ] |
สังคม | [sangkhom] (n) EN: society FR: société [ f ] ; communauté [ f ] |
สังคม | [sangkhom] (adj) EN: social FR: social |
สังคมอาชีพ | [sangkhom āchīp] (n, exp) FR: syndicat [ m ] |
สังคมชั้นสูง | [sangkhom chan sūng] (n, exp) EN: high society ; upper class ; high class society FR: haute société [ f ] ; gotha [ m ] ; gratin (fam.) [ m ] |
สังคมชาวบ้าน | [sangkhom chāobān] (n, exp) EN: folk society |
สังคมชนบท | [sangkhom chonnabot] (n, exp) EN: local society |
สังคมเกษตร | [sangkhom kasēt] (n, exp) EN: agricultural society |
สังคมข่าวสาร | [sangkhom khāosān] (n, exp) EN: information society FR: société de l'information [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
nerdy | (adj, slang) (คน) ที่ฉลาดแต่เรื่องเรียนหรือทางวิชาการ แต่มักไม่ค่อยเก่งในการเข้าสังคม, See also: nerd, geek |
nerd | (n, jargon) nerd เป็นคำเรียกบุคคลที่มีระดับสติปัญญาสูงซึ่งมีความสนใจในการเรียนหรือ การศึกษาเรื่องบางเรื่องที่เขาสนใจ คนภายนอกจะมองว่าพวกนี้เป็นพวกที่ไม่เข้าสังคม แต่จริงๆแล้วเป็นเพราะว่าพวกนี้ไม่สนใจและไม่เห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้าต่างหาก (ความหมายโดยชาว Nerd) |
good mixer | (n) คนที่เข้าสังคมได้ดี, คนที่เข้ากับคนอื่นง่าย, Syn. sociable |
civil society | (n) ประชาสังคม เป็นการรวมกลุ่มของประชาชนโดยมีจิตสำนึกร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาของสังคม เช่น Civil society is much talked about, but rarely understood. John Edwards explores the practical and theoretical significance of civil society. |
action news | (n) ข่าวสังคม, ข่าวกิจกรรม เช่น Now, you can get the latest information from Channel 2 Action News along with weather warnings and forecast delivered directly to your desktop. |
payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น |
big data | (n) ข้อมูลขนาดใหญ่, ข้อมูลหลากหลายปริมาณมหาศาลที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลดัชนีการค้นคืนของเว็บ ข้อมูลการสื่อสารทางโทรศัพท์เคลื่อนที่ ข้อมูลในเครือข่ายสังคม ข้อมูลการพยากรณ์อากาศ ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียม ฯลฯ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
cyber bully | (n) การระรานทางไซเบอร์, การกลั่นแกล้ง การให้ร้าย การด่าว่า การข่มเหง หรือการรังแกผู้อื่นทางสื่อสังคมต่าง ๆ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
condescend (to do something) | (vt) ยอมทำ ในลักษณะที่ผู้ทำคิดว่าตนเองอยู่ในระดับทางสังคมหรือตำแหน่งหน้าที่ที่สูงกว่า แต่ยอมลดตัวลงมาทำสิ่งที่อยู่ในระดับที่ต่ำกว่า เช่น I had to wait almost two hours before he condescended to see us. ฉันต้องรอเกือบสองชั่วโมง กว่าเขาจะยอมออกมาพบฉัน, Syn. deign |
rizz | (n, colloq) ความมีสไตล์ เสน่ห์ หรือสิ่งดึงดูด, ความสามารถในการดึงดูดเพศตรงข้าม, มักใช้กันในสื่อสังคมออนไลน์ โดยแผลงมาจากพยางค์กลางของคำว่า charisma ตัวอย่างการใช้ เช่น Taylor has rizz. เทเลอร์เป็นคนมีเสน่ด์ดึงดูด คำว่า rizz เป็นคำศัพท์แห่งปี 2023 ของ Oxford University Press (Oxford Word of the Year 2023) |
woke | (adj, slang) ตื่นตัวกับเรื่องข้อมูลหรือประเด็นปัญหาทางสังคม เช่น การเหยียดผิว, ความไม่เท่าเทียมกันทางสังคม โดยอาจจะมีหรือไม่มีข้อมูลหลักฐานที่ชัดเจน |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
almoner | (n) นักสังคมสงเคราะห์ |
anomie | (n) ภาวะผิดปกติของบุคคลหรือสังคม, Syn. anomy |
anomy | (n) ภาวะผิดปกติของบุคคลหรือสังคม, Syn. anomie |
antisocial | (adj) ซึ่งไม่เข้าสังคม, See also: ซึ่งไม่สังคมกับใคร, ที่หลีกเลี่ยงการมีความสัมพันธ์กับผู้อื่น, Syn. unsociable, retiring, misanthropic |
antisocial | (adj) ที่ต่อต้านสังคม, Syn. asocial, hostile, alienated |
above one's station | (idm) มีฐานะหรือตำแหน่งทางสังคมสูงกว่า (บางคน) |
all walks of life | (idm) ทุกชนชั้นทางสังคม เศรษฐกิจ และเชื้อชาติ, See also: ทุกประเภท |
backlash | (n) ปฏิกิริยาที่รุนแรงและไม่เอื้อประโยชน์ (ทางด้านการพัฒนาของสังคมและการเมือง), Syn. revolt |
beatnik | (n) คนหนุ่มสาวยุค1950-1960ที่ทำตัวต่างจากคนส่วนมากในสังคม |
beau monde | (n) สังคมชั้นสูง, See also: สังคมคนร่ำรวย, Syn. high society, Ant. lower class |
beautiful people | (n) คนสังคมชั้นสูง, See also: พวกคนร่ำรวย, พวกไฮโซ, Syn. beau monde |
bohemian | (n) ผู้ดำรงชีวิตแตกต่างจากคนอื่น (แบบไม่ทำตามกฎทางสังคม) |
bourgeoisie | (n) ชนชั้นกลางของสังคม |
back in circulation | (idm) เข้าสู่สังคมอีกครั้ง |
case history | (n) ประวัติบันทึก (ของผู้ป่วยหรือผู้ที่ได้รับความลำบากในสังคม), Syn. record |
caseload | (n) จำนวนงานที่รับผิดชอบอยู่ (เช่น ของหมอหรือนักสังคมสงเคราะห์) |
casework | (n) งานที่ช่วยเกี่ยวกับปัญหาสังคม |
caste | (n) ชนชั้นหรือกลุ่มในสังคม, Syn. class, rank, level, social stratum |
cataclysm | (n) การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางสังคมหรือการเมือง) |
climber | (n) คนที่ต้องการก้าวหน้าในธุรกิจหรือในสังคม |
commerce | (n) การติดต่อสัมพันธ์ในสังคม |
commune | (n) คนที่อยู่ร่วมกันเป็นสังคมเดียวกัน |
community | (n) สังคม, Syn. society, the public |
condition | (n) สถานะภาพทางสังคม |
convent | (n) สังคมของหญิงผู้ที่อุทิศตนให้ศาสนา |
convivial | (adj) ที่ชอบสังสรรค์, See also: ที่ชอบออกสังคม, Syn. jovial, sociable |
counterculture | (n) วัฒนธรรมที่แปลกต่างจากที่มีอยู่ในสังคม |
cast out | (phrv) ทำให้ละทิ้งสังคม, See also: ทำให้ออกจากสังคม, Syn. throw out |
demean oneself | (phrv) ทำให้ด้อยค่าลง (ทางสังคมหรือทางจิตใจ), Syn. descend to |
drag down | (phrv) ทำให้ตกต่ำ (ทางสังคมหรือจิตใจ), Syn. pull down |
drop in | (phrv) ไม่เข้าร่วม (ระบบสังคมหรือการศึกษา) |
de riqueur | (adj) จำเป็นต้องใช้ในวงสังคม |
deb | (n) หญิงสาวที่ออกงานสังคมเป็นครั้งแรก (คำย่อของ debutante), Syn. debutante |
debut | (n) การปรากฏตัวเป็นครั้งแรกต่อสาธารณะชนหรือวงสังคม, See also: การปรากฏต่อสาธารณะชนเป็นครั้งแรกของนักแสดงหรือนักกีฬา, Syn. entrance into society, first public appearance |
debut | (n) หญิงสาวที่ออกงานสังคมครั้งแรก (เช่น ออกงานลีลาศหรือราตรีสโมสรประจำปี) |
debutant | (n) หญิงสาวที่เริ่มออกงานสังคมครั้งแรก (อาทิ ออกงานลีลาศหรือราตรีสโมสร) |
disease | (n) ปัญหา, See also: ภัยสังคม, Syn. trouble |
doings | (n) กิจกรรมทางสังคม, Syn. activities, conduct, dealings |
ecology | (n) นิเวศวิทยา, See also: การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความ, Syn. bionomics |
economic society | (n) สังคมเศรษฐกิจ |
ethos | (n) ลักษณะพื้นฐานทางด้านสังคมที่มีร่วมกันของกลุ่มคน |
evildoer | (n) คนที่ทำสิ่งที่ชั่วร้าย, See also: ทุรชน, ผู้ที่ทำสิ่งเลวทราม, มารสังคม, Syn. malefactor, villain, wrongdoer |
fabric | (n) โครงสร้าง, See also: โครงสร้างของสิ่งที่เป็นรูปธรรม เช่น โครงสร้างของสังคม |
feminism | (n) หลักความเสมอภาคทางสังคมและการเมืองของสตรี, See also: สิทธิสตรี, Syn. woman's rights, womanism |
feudalism | (n) ระบบศักดินา, See also: ระบบเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที่ 5 ถึง ศตวรรษที่ 15 |
finishing school | (n) โรงเรียนสอนการเรือนและการเข้าสังคมให้กับสตรี |
go down | (phrv) ตกต่ำลง (ระดับสังคม, มาตรฐานการดำรงชีวิต), Syn. come down: come up |
hobnob with | (phrv) ผูกมิตรกับ (เพื่อมีหน้ามีตามในสังคมเช่น ผูกมิตรกับพวกชนชั้นสูง), See also: คบกับ |
gaffe | (n) การประพฤติผิดมารยาทสังคม, See also: การเสียมารยาท, คำพูดเสียมารยาท, Syn. blunder, faux |
gender gap | (n) ช่องว่างระหว่างเพศหญิงและเพศชาย (ทางด้านสังคม), See also: ความแตกต่างระหว่างหญิงและชายในด้านความคิดเห็น วัฒนธรรม ค่านิยม คุณค่าสังคมและอุปนิสัย, Syn. gender-gap |
Hope Dictionary
almoner | (แอล' มะเนอะ, อา' เมินเนอะ) n. เจ้าหน้าที่แจกของสงเคราะห์, นักสังคมสงเคราะห์ในโรงพยาบาล |
ancien regime | (อานุเซียน' เรจึม) fr. ระบบการเมืองและสังคมของฝรั่งเศสก่อนการปฏิวัติปี ค.ศ.1789 ระบอบเก่า |
anomie | (แอน' นะมี) n. ภาวะผิดหลักหรือผิดปกติของบุคคลหรือสังคม. -anomic adj. |
anomy | (แอน' นะมี) n. ภาวะผิดหลักหรือผิดปกติของบุคคลหรือสังคม. -anomic adj. |
antisocial | (แอนทีโซ' เชียล) adj. ต่อต้านสังคม, เบื่อหน่ายสังคม, เป็นปฏิปักษ์ หรือไม่เป็นมิตรกับผู้อื่น. -antisocialistic adj. |
asocial | (เอโซ'เชิล) adj. สันโดษ, ไม่สังคม, เก็บตัว, เห็นแก่ตัว, Syn. selfish, egocentric |
assimilation | (อะซิมมิเล'เชิน) n. กระบวนการนำเข้าและทำให้เหมือนหรือคล้ายกัน, การย่อยและดูดซึม, การปรับเข้ากันของลักษณะของสังคม |
bolshevik | (บอล'ชะ วิค) n. พวกสังคมนิยมที่เข้าปกครองรัสเซียตั้งแต่ปี ค.ศ.1917, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์ของรัสเซีย, สมาชิกพรรคคอมมิวนิสต์, ผู้ที่มีหัวรุนแรง, See also: bolshevism n. ดูBolshevik Bolshevism n. ดูBolshevik Boshevist n. ดูBolshevik bolshevistic |
bonton | (บอน'ทอน) n. รูปแบบ ที่ดี, สังคมผู้ดี, มารยาทที่ดี |
canaille | (คะแนล') n. คนชั้นต่ำ, คนไร้ค่าของสังคม, Syn. riffraff |
caste | (คาสทฺ) n. วรรณะ, ชั้น, วงศ์ตระกูล, กลุ่มของสังคม, ฐานะในสังคม adj. เกี่ยวกับชั้นวรรณะ, Syn. class, status |
cataclysm | (แคท'ทะคลิซ'ซึม) n. การเปลี่ยนแปลงที่รุนแรง (โดยเฉพาะทางการเมืองและสังคม) , ความเกลียด, ความหายนะ., See also: cataclysmic adj, ดูcataclysm cataclysmal adj. ดูcataclysm, Syn. disaster |
chaperon | (แ?พ'พะโรน) n. หญิง (มีอายุหรือแต่งงานแล้ว) ที่คอยไปเป็นเพื่อนของชายหนุ่มหรือหญิงสาวที่ยังไม่แต่งงานในงานสังคม -vt. ติดตาม, เป็นเพื่อน, See also: chaperonage n. |
chaperone | (แ?พ'พะโรน) n. หญิง (มีอายุหรือแต่งงานแล้ว) ที่คอยไปเป็นเพื่อนของชายหนุ่มหรือหญิงสาวที่ยังไม่แต่งงานในงานสังคม -vt. ติดตาม, เป็นเพื่อน, See also: chaperonage n. |
climate | (ไคล'เมท) n. อากาศตามฤดูกาล, แนวโน้มทั่วไปของสังคม, ประเพณีนิยมที่เป็นอยู่, See also: climatic adj. ดูclimate climatical adj. ดูclimate climatal adj. ดูclimate, Syn. trend -Conf. weather |
clubby | adj. มีลักษณะเป็นกระบอง, ชอบสังคม |
community | (คะมิว'นิที) n. ชุมชน, สังคม, กลุ่ม, คณะ, สหคาม, สิ่งมีชีวิตที่เป็นพืช และสัตว์ของเขตหนึ่ง, ลักษณะร่วม, ลักษณะที่เหมือนกัน, See also: Phr. the community ชุมชน, สังคม, ประชาคม, Syn. society, public, Ant. polarity, duality |
company | (คัม'พะนี) n. หมู่เพื่อนฝูง, วงสมาคม, การสังคม, การคบค้า, บริษัท, คณะ, หมู่, แขก, กองร้อย, Syn. association, body |
conversation | (คอนเวอเซ'เชิน) n. การสนทนา การคุยกัน, การคบค้าสมาคม, ความสามารถในการสังคมกับคนอื่น, ลักษณะการครองชีพ, Syn. talk |
cynicism | (ซิน'นิซิสซึม) ลัทธิเกลียดชังสังคมมนุษย์, See also: Cynicism ลัทธิของ Cynic, Syn. pessimism |
debutante | (เดบ'ยุทานทฺ) n. ผู้ออกโรงครั้งแรกที่เป็นหญิง, หญิงที่เข้าสู่วงสังคมเป็นครั้งแรก, Syn. debutante |
democracy | (ดิมอค'ระซี) n. ประชาธิปไตย, ความเสมอภาคของสังคม |
democratic | (เดมมะแครท'ทิค, เคิล) adj. เกี่ยวกับประชาธิปไตย, เกี่ยวกับความเสมอภาคของสังคม |
democratical | (เดมมะแครท'ทิค, เคิล) adj. เกี่ยวกับประชาธิปไตย, เกี่ยวกับความเสมอภาคของสังคม |
derelict | (เดอ'ระลิคทฺ) adj. ซึ่งถูกทอดทิ้ง, ซึ่งละทิ้งหน้าที่. n. ทรัพย์สิ่งของที่ถูกทอดทิ้ง, เรือที่ถูกทิ้งลอยลำอยู่, บุคคลที่ถูกสังคมทอดทิ้ง, คนจรจัด, คนที่ทิ้งหน้าที่, See also: dereliction n., Syn. left, Ant. dutiful คำศัพท์ย่อย: |
dissociable | (ดิไซ'ชีอะเบิล) adj. ซึ่งแยกออกจากกันได้, ไม่ชอบการสังคม, ซึ่งประนีประนอมกันไม่ได้., See also: dissociability n. ดูdissociable, Syn. separable, Ant. join, compromise |
dissocial | (ดิไซ'เชิล) adj. ไม่ชอบการสังคม, แยกตัวออกจากสังคม., See also: dissociality n. |
dissociate | (ดิโซ'ชีเอท) vt. ทำให้แยกออก, ทำให้สลายตัว. vi. แยกตัวออกจากการสังคม, แตกแยก, See also: dissociative adj. ดูdissociate, Syn. separate |
ecology | (อีคอล'โลจี) n. นิเวศวิทยา, สาขาสังคมวิทยาที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อม, See also: ecologic, ecological adj. ecologist n., Syn. oecology |
estate | (อีสเทท') n. หลักทรัพย์ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ติดดินผืนใหญ่, ที่ดิน, ทรัพย์สิน, ฐานันดร, กลุ่มการเมือง, กลุ่มสังคม, -Phr. (the fourth estate ฐานันดรที่4 (นักหนังสือพิมพ์)) -Phr. (the Three Estates ฐานันดรทั้ง 3 ในยุคศักดินายุโรปได้แก่พระ ขุนนางและสามัญชน) |
formal | (ฟอร์'เมิล) adj. เป็นพิธีการ, ตามรูปแบบ, พิธีรีตองมาก, เจ้าระเบียบ, เหมาะสม, สอดคล้อง n. งานสังคมที่ต้องใส่ชุดราตรี. adv. ในชุดทางการ, ในชุดเครื่องแบบ., See also: formalness n., Syn. ceremonious |
gaffe | (แกฟ) n. การผิดมารยาทสังคม, การเสียมารยาท |
genteel | (เจนทีล') adj. เกี่ยวกับสังคมผู้ดี, งดงาม, สละสลวย, สุภาพ, Syn. refomed, elegant |
grand monde | (กรานมอนด') fr. โลกแห่งแฟชั่น, สังคมที่ดีที่สุด, สัมคมชั้นสูง |
gregarious | (กริแก'เรียส) adj. ชอบสังคม, จับกันเป็นกลุ่ม., See also: gregariousness n., Syn. convivial, social |
guild socialism | n. ระบบสังคมที่นิยมสมาคมอาชีพ, See also: guild socialist n. |
guttersnipe | (กัท'เทอะสไนพฺ) n. คนชั้นต่ำสุดของสังคม |
haut monde | (โอมอนดฺ) fr. สังคมชั้นสูง |
high society | สังคมชั้นสูง |
lefitst | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
left | (เลฟทฺ) adj. ซ้าย, ข้างซ้าย, ด้านซ้าย, มือซ้าย, ทางซ้าย, ปีกซ้าย, ฝ่ายซ้าย (นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์) n. ด้านซ้าย, สิ่งที่อยู่ทางซ้ายมือ, การหันซ้าย, การเลี้ยวซ้าย adv. ไปทางซ้าย v. กริยาช่อง 2 และช่อง 3 ของ leave (จากไป, ลาจาก) -Phr. (the Left ผู้นิยมการปฏิรูประบบการเมืองสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ, หมัดซ้าย |
leftist | (เลฟ'ทิสทฺ) n. ผู้นิยมฝ่ายซ้าย, สมาชิกฝ่ายซ้าย (ผู้นิยมลัทธิสังคมนิยมหรือการปฏิรูประบบสังคม การเมืองหรือเศรษฐกิจ) ., See also: leftism n. |
man about town | คนสังคมจัด, ผู้มีบทบาทมากในสังคม, ชาวกรุง |
marx | (มาร์คซฺ) n. Karl (Heinrich) (ค.ศ.1819-1883) นักสังคมนิยมผู้ก่อตั้งระบบคอมมิวนิสต์ |
marxism | (มาร์ค'ซิสซึม) n. ลัทธิของคาร์ลมาคซ์ที่เกี่ยวกับการเมือง สังคมและเศรษฐกิจ เป็นลัทธิเจ้าตำรับของระบบคอมมิวนิสต์, See also: Marxist n., adj. |
matey | (เม'ที) adj. มีมิตรจิต, มีไมตรี, ฉันไมตรี, ฉันกันเอง, เข้าสังคมได้, รู้จักมักคุ้นได้ |
matriarchy | (เม'ทริอาร์คี) n. ระบบสังคมที่มีแม่เป็นหัวหน้าครอบครัว |
matron | (เม'เทริน) n. หญิงมีสามีแล้ว (โดยเฉพาะที่มีลูกหรือที่มีลูกหรือที่มีฐานะดีในสังคม) หญิงผู้ดูแลเรื่องภายในหน่วยงาน, ผู้คุมที่เป็นจริง, See also: matronal adj. matronhood n. matronship n. |
medicare | (เมด'ดะแคร์) n. โครงการสวัสดิการสังคม |
ostracise | (ออส'ทระไซซ) vt. เอาออกไปจากสังคม, เนรเทศ, เอาออก, ตัดสิทธิ์ |
Nontri Dictionary
almoner | (n) ผู้บริจาคทาน, นักสังคมสงเคราะห์ |
antisocial | (adj) ต่อต้านสังคม, เป็นปรปักษ์ต่อสังคม |
BEAU beau monde | (n) สังคมชั้นสูง |
caste | (n) ตระกูล, ชั้น, วรรณะ, ฐานะทางสังคม |
communal | (adj) เกี่ยวกับชุมชน, เกี่ยวกับสังคม |
community | (n) ประชาคม, สังคม, ชุมชน, คณะ, กลุ่ม |
company | (n) บริษัท, ห้างร้าน, การสังคม, วงสมาคม, การคบค้า, หมู่คณะ |
debutante | (n) หญิงที่เข้าสังคมครั้งแรก, การเปิดตัวหญิงสาว |
dissociate | (vt) แยกตัวออก, ไม่ชอบสังคม, แยกจากกัน, ไม่ชอบสังสรรค์ |
gregarious | (adj) ซึ่งอยู่เป็นพวกเป็นฝูง, ชอบอยู่เป็นกลุ่ม, ชอบสังคม |
outgoing | (adj) จากไป, ออกสังคม, นอกบ้าน |
recluse | (adj) สันโดษ, โดดเดี่ยว, ปลีกตัวจากสังคม |
recluse | (n) คนสันโดษ, ฤาษี, ผู้ปลีกตัวจากสังคม |
sociability | (n) การเข้าสังคม, การสมาคม, ความรู้จักมักคุ้น, ความเป็นกันเอง |
social | (adj) ชอบสมาคม, ในวงสังคม, เป็นกันเอง, ฉันมิตร |
socialism | (n) ลัทธิสังคมนิยม |
socialistic | (adj) ในทางสังคมนิยม |
socialize | (vt) ทำให้เป็นสังคมนิยม |
socially | (adv) ในทางสมาคม, ในวงสังคม |
society | (n) การสมาคม, สังคม, วงสังคม, การชุมนุม |
sociological | (adj) เกี่ยวกับปัญหาสังคม, ทางสังคมวิทยา |
sociology | (n) สังคมวิทยา |
stratification | (n) ชนชั้นสังคม, การแบ่งชั้น, กลุ่มสังคม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
conversative | (adj) เกี่ยวกับการติดต่อพูดคุยกันระหว่างผู้คนในสังคม |
eusociality | (n) ระบบสังคมแบบพึ่งพาอาศัย |
Extraverts | คนชอบเข้าสังคม |
Faculty of Sociology and Anthropology | (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
Faculty of Sociology and Anthropology | (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
geosocial | (n) ภูมิสังคม หมายถึง ความแตกต่างของแต่ละพื้นที่ ทั้งทางด้านภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ชีวภาพ วีถีชีวิต ประเพณี ขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม |
global town square | (n) เครือข่ายสังคมออนไลน์ (social media) นำมาเปรียบเทียบเป็นเสมือนจัตุรัสแห่งการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และแบ่งปันข้อมูลข่าวสารที่สามารถเข้าถึงได้จากทั่วโลก แทนที่จะจำกัดแค่คนในพื้นที่ตามความหมายของคำว่า town square เดิม |
hypergamy | การคบหาหรือแต่งงานกับคนที่มีวรรณะหรือฐานะทางสังคมสูงกว่า |
neandethal | [ni:'ændə:, θɔ:l] (adj) ADJ.เกี่ยวกับมนุษย์ยุคหิน syn:(neanderthal) ADJ. ล้าสมัยมาก relate:{ ซึ่งไม่ต้องการความเปลี่ยนแปลง } syn:(neanderthal) ADJ. หยาบคาย relate:{ ซึ่งทำสิ่งที่สังคมไม่ยอมรับ } syn:(neanderthal) N. มนุษย์ยุคหิน |
social commerce | (n) รูปแบบธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบหนึ่งที่ใช้ประโยชน์จากการปฏิสัมพันธ์ในเครือข่ายสังคม (Social Media) มาช่วยให้เกิดการซื้อขายผลิตภัณฑ์หรือบริการ หรือ อีกแง่หนึ่งก็คือการนำเครือข่ายสังคมมาใช้ให้เกิดเป็นธุรกรรมการซื้อขายสินค้า |
social distancing | (n) การแยกตัวออกห่างจากสังคม ไม่อยู่ใกล้ชิดกับมนุษย์ผู้อื่น โดยอาจมีสาเหตุ เช่น เพื่อลดอัตราการแพร่ระบาดของโรคระบาด |
social security office | กองทุนประกันสังคม |
socioeconomic | [โซชิโอเอโคโนมิค] (adj) ทางสังคมและเศรษฐกิจ |
socioeconomic | [โซชิโอเอโคโนมิค] (adj) ที่เกี่ยวกับสังคมและเศรษฐกิจ |
Sulaltern Agency | (n) การถูกกดทับทางสังคม การตกเป็นเบี้ยล่างทางสังคม การปฏิบัติทางสังคมของกลุ่มที่ต้องการต่อรองกับอำนาจที่กดทับพวกเขาอยู่ |
the rich and famous | (n) บุคคลที่ร่ำรวยและโด่งดังในวงสังคม; กลุ่มคนดังกล่าว |
thqn | [ที-เอช-คิว-เอ็น] (abbrev, name, org, u) เครือข่ายความหลากหลายทางเพศ, Thailand Queer Network, เป็นเครือข่ายความร่วมมือกันขององค์กรอิสระต่างๆ ในประเทศไทย ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อทำงานด้านสาธารณะประโยชน์ สิทธิและเสรีภาพตามระบอบประชาธิปไตย ให้แก่คนไทยที่รักเพศเดียวกัน และคนไทยในชุมชนอื่นที่ไม่อยู่ในการดูแลจากสังคมไทย ดูเวปไซต์ทางการที่ http://www.thqn.net/, Syn. เครือข่ายคนรักเพศเดียวกัน |
Longdo Approved JP-TH
おたく | [おたく, otaku] (slang) คนที่หลงไหลหรือหมกมุ่นในอะไรบางอย่างมากเป็นพิเศษ เช่น การ์ตูน, Anime มักจะชอบอยู่บ้านทำในสิ่งที่ตนชอบ (หมายเหตุ: お宅 (otaku) แปลว่าบ้าน) และไม่ค่อยชอบเข้าสังคม |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
引き篭り | [ひきこもり, hikikomori] (n) คนที่แปลกแยกตัวเองออกจากสังคม, คนไม่สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมได้, ปิดกั้นตัวเองออกจากสังคม |
社会学 | [しゃかいがく, shakaigaku] (n) สังคมศาสตร์ |
chocobo | [โจโคโบะ] (n) นกพันธุ์ขนาดใหญ่ในเทพนิยายกรีก โบร๊านโบราณ ! ลักษณะคล้ายกับนกกระจอกเทศแต่คอสั้นและหัวใหญ่ทั่วไปมักมีสีเหลือง นิสัยขี้กลัว ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง นกชนิดนี้เป็นสัตว์สังคม |
国家経済・社会開発計画 | [こっかけいざい・しゃかいかいはつけいかく, kokkakeizai . shakaikaihatsukeikaku] แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ |
社会学と人類学の教員 | [ชะไคกาคุโตะจินรุยกะคุโนะเคียวอิน] (n) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
行事 | [ぎょうじ, gyouji] TH: งานหรือพิธีการที่จัดขึ้นเป็นประจำเป็นประเพณีหรือธรรมเนียมของสังคม |
Longdo Approved DE-TH
Gesellschaft | (n) |die, pl. Gesellschaften| สังคม, ชุมชน |
Soziologie | (n) |die, nur Sg.| วิชาสังคมศาสตร์ |
soziologisch | (adj) ที่เกี่ยวกับทางสังคม |
Soziologe | (n) |der, pl. Soziologen| นักสังคมศาสตร์, Syn. die Soziologin/-nen |
Sozialamt | (n) |das, pl. Sozialämter| กรมสังคมสงเคราะห์ |
Horde | (n) |die, pl. Horden| กลุ่มสังคมเล็กๆ ประมาณ15-20 คน ฝูงชนหรือชนเผ่าเลี้ยงสัตว์ เช่น เผ่ามองโกล อนารยชน |
Magister | (n) วุฒิปริญญาโททางด้านสังคมศาสตร์และศิลปศาสตร์ เช่น Magister der Rechtswissenschaft |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
entitlement | (n) สิทธิหรือสิทธิประโยชน์ตามกฎหมายหรือสัญญา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโครงการสวัสดิการสังคม (welfare) จากรัฐ, See also: right, Syn. claim |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.638 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม