198 ผลลัพธ์ สำหรับ *ยุ่งยาก*
ภาษา
หรือค้นหา: ยุ่งยาก, -ยุ่งยาก-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ยุ่งยาก | (adj) complicated, See also: complex, involved, convoluted, labyrinthine, Ant. ง่ายดาย, สะดวกสบาย, Example: ระบบนี้ยังมีข้อยุ่งยากทางด้านทฤษฎี, Thai Definition: เกี่ยวกับความสลับซับซ้อน |
ยุ่งยาก | (v) be complicated, See also: be complex, Ant. ง่ายดาย, สะดวกสบาย, Example: การเปลี่ยนแปลงการทำงานของหุ่นยนต์ค่อนข้างจำกัดและยุ่งยาก, Thai Definition: สลับซับซ้อน |
ความยุ่งยาก | (n) trouble, See also: difficulty, Syn. ความยุ่งเหยิง, Ant. ความเรียบร้อย, ความสงบ, Example: ปัจจุบันเศรษฐกิจของประเทศกำลังประสบกับความยุ่งยากและตกต่ำ, Thai Definition: สภาพที่สับสนและมีปัญหา |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ยุ่งยาก | ว. สลับซับซ้อนสางออกยาก เช่น ปัญหาการเงินยุ่งยาก. |
กลุ้มอกกลุ้มใจ | ก. รู้สึกกังวลเป็นทุกข์หรือยุ่งยากใจ. |
งง | ก. ฉงน, คิดไม่ออกเพราะยุ่งยากซับซ้อน, ทำอะไรไม่ถูกเพราะยังตั้งสติไม่อยู่ |
ง่าย ๆ | ว. ธรรมดา ๆ, ไม่ยุ่งยาก. |
ซับซ้อน | ก. ปะปนทับกันอยู่หลายชั้น เช่น เอกสารกองซับซ้อนอยู่บนโต๊ะ, ยุ่งยากสับสนสะสางยาก เช่น คดีซับซ้อน. |
ดินพอกหางหมู | น. งานหรือหนี้สินเป็นต้นที่คั่งค้างพอกพูนขึ้นเรื่อย ๆ จนทำให้ต้องลำบากหรือยุ่งยากเดือดร้อน. |
ทุลักทุเล | ว. อาการที่เป็นไปอย่างขลุกขลัก ยุ่งยาก วุ่นวาย ไม่เป็นระเบียบ. |
ประดักประเดิด | ว. รี ๆ รอ ๆ, ที่ทำให้รู้สึกลำบากยุ่งยากกายหรือใจ. |
ปวดเศียรเวียนเกล้า | ก. เดือดร้อนรำคาญใจเพราะมีเรื่องยุ่งยากมากจนแก้ไม่ทัน. |
มรสุม | ชื่อพายุใหญ่ที่มีลมแรงและมีฝนตกหนัก, โดยปริยายหมายถึงความยุ่งยากเดือดร้อนที่เกิดในบางช่วงชีวิต เช่น มรสุมชีวิต. |
ยอกย้อน | ก. ซับซ้อนซ่อนเงื่อน เช่น ทำกลอุบายยอกย้อน, กลับไปกลับมาอย่างมีเงื่อนงำ เช่น พยานให้การยอกย้อน, ยุ่งยากซับซ้อนสะสางยาก เช่น คดียอกย้อน. |
รู้มากยากนาน | ก. รู้มากเกินไปจนทำให้ยุ่งยากใจ, มักพูดเข้าคู่กับ รู้น้อยพลอยรำคาญ เป็น รู้มากยากนาน รู้น้อยพลอยรำคาญ. |
ลอยตัว | ก. หมดภาระ, หมดปัญหายุ่งยาก, เช่น เมื่อปลดเปลื้องหนี้สินได้หมดแล้ว เขาก็ลอยตัว |
หญ้าปากคอก ๑ | ว. สะดวก, ง่าย, ไม่มีอะไรยุ่งยาก, เช่น นี่เป็นเรื่องหญ้าปากคอก. |
หน้ายุ่ง | ว. มีสีหน้าว่ามีความยุ่งยากลำบากใจเพราะมีงานมากเสียจนไม่รู้จะทำอะไรก่อนอะไรหลังเป็นต้น. |
เอาตัวรอด | ก. รักษาตัวให้พ้นจากความยากลำบาก, หลบหลีกปัญหายุ่งยากไปได้. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
dilemma | ภาวะกลืนไม่เข้าคายไม่ออก, ภาวะยุ่งยากใจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Organization of American States | คือองค์การของรัฐในสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1947 สหรัฐอเมริกา และประเทศต่าง ๆ ในละตินอเมริกา ยกเว้นประเทศนิคารากัวและอีเควดอร์ ได้ตกลงทำสนธิสัญญาระหว่างรัฐในอเมริกาด้วยกัน ณ กรุงริโอเดจาเนโร เพื่อให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ซึ่งเรียกกันทั่วไปว่า สนธิสัญญาริโอ ประเทศเหล่านั้นต่างมุ่งมั่นที่จะให้ความช่วยเหลือกันอย่างมีประสิทธิผล ถ้าหากรัฐในอเมริกาหนึ่งใดถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธหรือถูกคุกคามจาการรุกราน ต่อมาในเดือนเมษายน ค.ศ. 1948 ได้มีการจัดตั้งองค์การของรัฐอเมริกัน (Organization of American States) ขึ้น ณ กรุงโบโกตา ประเทศโบลิเวีย ประกอบด้วยรัฐต่าง ๆ ในอเมริการวม 21 ประเทศ ยกเว้นประเทศแคนาดา เพื่อดำเนินการให้เป็นผลตามสนธิสัญญาริโอ และจัดวางระบบการรักษาความมั่นคงร่วมกันขึ้น กฎบัตร (Charter) ขององค์การได้มีผลบังคับให้เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค.ศ. 1951องค์การโอเอเอสนี้ เป็นองค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่ง ภายในกรอบของสหประชาชาติ ประเทศสมาชิกต่างปฏิญาณร่วมกันที่จะทำการธำรงรักษากระชับสันติภาพ ตลอดจนความมั่นคงในทวีปอเมริกา เพื่อป้องกันมิให้เกิดเหตุแห่งความยุ่งยากใด ๆ และต้องการระงับกรณีพิพาทที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิกด้วยกันโดย สันติวิธี อนึ่ง ถ้าหากมีการรุกรานเกิดขึ้นก็จะมีการปฏิบัติการร่วมกัน นอกจากนี้ ยังจะหาทางระงับปัญญาหาทางการเมือง ทางการศาล และทางเศรษฐกิจ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างประเทศสมาชิก พร้อมทั้งจะพยายามร่วมกัน ในการหาหนทางส่งเสริมพัฒนาการทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม สำนักงานใหญ่ขององค์การโอเอเอสตั้งอยู่ ณ กรุงวอชิงตันดีซี นครหลวงของสหรัฐอเมริกา [การทูต] |
The Foreign Office | ในสมัยก่อน เมื่อสังคมนานาชาติมีสมาชิกประเทศอยู่เพียงไม่กี่แห่ง และการเจริญความสัมพันธ์ระหว่างประเทศก็ไม่มีอะไรที่ยุ่งยากซับซ้อน ดังนั้น ประมุขของรัฐหรือหัวหน้าของรัฐบาลจะเป็นผู้บริหารกิจการต่างประเทศด้วยตนเอง แต่มาในปัจจุบันเป็นไปไม่ได้ที่จะกระทำเช่นนี้ ดังนั้นทุกวันนี้ รัฐบาลของประเทศเกือบจะทุกแห่งจะมีสำนักงานในระดับกระทรวงแยกออกต่างหาก เพื่อดำเนินกิจการต่างประเทศโดยเฉพาะสำนักงานนี้จะมีชื่อเรียกแตกต่างกันใน แต่ละประเทศ เช่นเรียกว่า The Ministry of (หรือ for) Foreign Affairs, The Ministry of External Affairs, The Department of State หรือ The Department of Foreign Affairs หรือ Gaimusho เป็นต้น ส่วนหัวหน้าสำนักงานหรือเจ้ากระทรวงนั้น จะเป็นบุคคลในคณะรัฐมนตรี และเรียกชื่อตำแหน่งต่างๆ กัน เช่น The Secretary of Foreign Affairs, The Minister of External Affairs, The Secretary of State หรือ Foreign Minister หรือ Foreign Secretary ตัวรัฐมนตรีนี้จะมีผู้ช่วย ซึ่งบางตำแหน่งเรียกว่า ปลัดกระทรวง (Under-Secretaries), ผู้ช่วยปลัดกระทรวง (Assistant Under-Secretaries) พร้อมด้วยคณะเจ้าหน้าที่หรือข้าราชการที่ได้ผ่านการฝึกอบรมมาแล้วงาน ของกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปมักจะแบ่งออกเป็นสองฝ่าย ฝ่ายแรกเรียกว่าฝ่ายธุรการ (Home Service) ทำหน้าที่บริหารกิจการต่าง ๆ ภายในประเทศ ซึ่งเกี่ยวกันกับกิจการต่างประเทศ รวมทั้งการติดต่อเกี่ยวข้องกับคณะทูตานุทูต และฝ่ายที่สองเรียกว่า Foreign Service เป็นฝ่ายดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการต่างประเทศ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในต่างแดน อันมีสถานทูต สถานกงสุล และสำนักงานอื่น ๆ เป็นตัวแทน ประกอบด้วยข้าราชการฝ่ายการทูตและฝ่ายวิชาการ ซึ่งประจำทำงานในสถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุลและสำนักงานระหว่างประเทศอื่น ๆ แต่ประเทศไทยเรายังมิได้แบ่งออกเป็นสองฝ่ายดังกล่าวตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงการต่างประเทศเป็นตัวกลาง ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างประเทศ ส่วนหัวหน้าคณะทูตภายในนครหลวงของแต่ละประเทศจะทำการติดต่อใด ๆ ทั้งหมดกับกระทวงการต่างประเทศของรัฐผู้รับงานภายในกระทรวงการต่างประเทศ โดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็นกรม กอง โดยถือตามเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ เช่น กรมหรือกองการเอเชีย กรมการแอฟริกา กรมการอเมริกัน กรมการยุโรป และอื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีกรมกองอื่น ๆ ที่ทำหน้าที่ด้านธุรการ และด้านการสื่อสารติดต่อ การประชุม การประสานงานความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การคลัง การบริการในต่างประเทศ การสารนิเทศ การกฎหมาย การห้องสมุด การหนังสือเดินทาง การบุคลากร การพิธีการทูต การวิจัย การสนธิสัญญา การตรวจลงตรา (Visa) และการสหประชาชาติในปัจจุบันในหลาย ๆ ประเทศ ผู้ที่สมัครขอรับราชการในกระทรวงการต่างประเทศจะต้องมีคุณวุฒิตามที่กระทรวง กำหนด เช่น จะต้องผ่านการสอบไล่ ทั้งในภาคปากเปล่า และข้อเขียน ตลอดจนจะต้องปรากฏตัวต่อหน้าคณะกรรมการสอบไล่ (Board) ซึ่งจะเป็นฝ่ายให้คะแนนบุคลิกและคุณภาพส่วนตัว แล้วนำคะแนนไปบวกกับคะแนนสอบข้อเขียน ในบางแห่งต้องการให้ผู้สมัครสอบเข้ารับการฝึกอบรม และให้อยู่ในระหว่างการทดลองดูความประพฤติ (Probationary period) อีกด้วย [การทูต] |
Complexity | การจับตัวกันเป็นกลุ่มก้อนซับซ้อน, ความยุ่งยากและซับซ้อน, ความซับซ้อน [การแพทย์] |
Distress | คับขัน, ความทรมาน, ความรู้สึกเป็นทุกข์, ความยุ่งยากใจ, สภาวะคับขัน [การแพทย์] |
bus topology | เครือข่ายแบบบัส, รูปแบบเครือข่ายที่มีโครงสร้างไม่ยุ่งยาก สถานีทุกสถานีในเครือข่ายจะเชื่อมต่อเข้ากับสายสื่อสารหลักเพียงสายเดียว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Learning Difficulties | ความยุ่งยากเกี่ยวกับการเรียน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การยุ่งยาก | [kān yungyāk] (n) FR: agitation [ f ] |
ข้อยุ่งยาก | [khøyungyāk] (n) EN: difficulty ; crux |
ความยุ่งยาก | [khwām yungyāk] (n) EN: trouble ; difficulty ; hassle FR: complication [ f ] |
ผู้ก่อการยุ่งยาก | [phū kø kān yungyāk] (n, exp) FR: agitateur [ m ] ; agitatrice [ f ] |
ทำให้ยุ่งยาก | [thamhai yungyāk] (v, exp) EN: complicate FR: compliquer |
ยุ่งยาก | [yungyāk] (adj) EN: complicated ; complex ; involved ; convoluted ; labyrinthine FR: compliqué ; complexe ; inextricable ; labyrinthique |
ยุ่งยากใจ | [yungyākjai] (adv) EN: awkwardly |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
ado | (n) ความวุ่นวาย, See also: อุปสรรค, ความยุ่งยาก, Syn. fuss, trouble |
beleaguered | (adj) ซึ่งเต็มไปด้วยความยุ่งยากลำบาก |
bother | (vt) ทำให้ตัวเองยุ่งยาก |
bother | (vt) ทำให้เกิดปัญหา, See also: ทำให้ยุ่งยาก, Syn. annoy |
be hard pressed | (idm) ประสบความยุ่งยาก (เกี่ยวกับเวลา, เงิน, งาน ฯลฯ), See also: ไม่มีเวลา, ยุ่งมาก, Syn. press for, push for |
be in deep water over | (idm) ยุ่งยากกับ, See also: วุ่นวายอยู่กับ |
be in hot water | (idm) มีปัญหา (คำไม่เป็นทางการ), See also: ยุ่งยากอยู่กับ, Syn. get into |
be in the soup | (idm) มีปัญหา (คำไม่เป็นทางการ), See also: ยุ่งยากอยู่กับ, Syn. get into |
bog down | (phrv) พบกับความยุ่งยาก |
bring down | (phrv) ทำให้ยุ่งยาก, See also: ทำให้ทุกข์ทรมาน |
bring someone to grips with something | (idm) จัดการกับสิ่งที่ยุ่งยาก, Syn. come to, get to |
bring up against | (phrv) ทำให้ประสบกับ (ความยุ่งยาก), Syn. be up against, come up against |
brush up against | (phrv) พบโดยบังเอิญ (มักเป็นการพบกับความยุ่งยาก), See also: พบโดยไม่คาดคิด, Syn. rub against, rub up against |
bugger about | (phrv0) ทำให้ยุ่งยาก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, Syn. mess about |
bugger around | (phrv) ทำให้ยุ่งยาก (คำสแลงและคำต้องห้าม), See also: ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, Syn. mess about |
coil | (n) ความลำบาก, See also: ความยุ่งยาก, Syn. trouble, bustle, ado, turmoil |
complicacy | (n) ความยุ่งยากซับซ้อน, Syn. complication, complexity |
convoluted | (adj) ที่ซับซ้อนมาก, See also: ที่สับสน, ที่ยุ่งยาก, Syn. intricate, involved, knotty |
crux | (n) ปัญหายุ่งยาก, Syn. difficult problem, puzzling thing |
cumbersome | (adj) ยุ่งยาก, See also: ซึ่งทำให้ลำบาก |
cut corners | (idm) ทำสิ่งที่ง่ายที่สุด ถูกที่สุดหรือเร็วที่สุด, See also: ทุ่นค่าใช้จ่าย, ลดความยุ่งยาก |
do something the hard way | (idm) ทำสำเร็จอย่างเหนื่อยยากหรือยุ่งยาก |
face with | (phrv) ทำให้พบกับ (สิ่งเลวร้าย, สิ่งยุ่งยาก), See also: เผชิญกับ สิ่งเลวร้าย, สิ่งยุ่งยาก |
fish in troubled waters | (idm) ตกอยู่ในอันตราย, See also: ตกอยู่ในสถานการณ์ลำบาก / ยุ่งยาก |
delicate | (adj) ยุ่งยาก, See also: ลำบาก, ซับซ้อน |
difficult | (adj) ยาก, See also: ลำบาก, ยุ่งยาก, ลำเค็ญ, ทุกข์ยาก, Syn. arduous, hard, heavy, laborious, Ant. easy, simple |
difficulty | (n) ความยากลำบาก, See also: ความยุ่งยาก, ความเดือดร้อน, อุปสรรค, Syn. annoyance, disavantage, problem, trouble |
disrupt | (vt) ทำให้ยุ่งเหยิง, See also: ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้แตกแยก, ทำให้เสียกระบวน, ทำให้เสียระบบ, Syn. disturb, confuse, disorder, interrupt, Ant. order, organize |
distress | (n) ความยุ่งยาก, See also: ปัญหา, ความลำบาก, Syn. hardship |
footwork | (n) ความสามารถในการจัดการกับสถานการณ์ที่ยุ่งยาก |
get into a fix | (idm) พบความยุ่งยาก (ที่เลี่ยงได้) |
get of | (phrv) พ่ายแพ้, See also: จัดการ กับความยุ่งยาก |
get on | (phrv) เข้าใจและจัดการเก็บ (สิ่งยุ่งยาก) |
get over | (phrv) ควบคุม (อารมณ์, ความยุ่งยาก ฯลฯ) |
hassle | (n) ความยุ่งยาก, See also: ปัญหา, Syn. aggravation, annoyance, irritation, Ant. pacifier |
hot water | (n) ความยุ่งยาก, See also: ความลำบาก |
have hell to pay | (idm) ประสบปัญหามาก, See also: มีความยุ่งยากมาก, Syn. have the devil to pay, Ant. have the devil to pay |
heads will roll | (idm) บางคนต้องยุ่งยากหรือพบปัญหา (คำไม่เป็นทางการ) |
in a hole | (idm) มีปัญหา, See also: ยุ่งยาก |
in a jam | (idm) ในสถานการณ์ยุ่งยาก |
in deep water | (idm) ประสบปัญหา, See also: มีความยุ่งยาก |
in hot water | (idm) ยุ่งยาก, See also: มีปัญหา |
in Queer Street | (idm) ในสถานการณ์ที่ลำบาก, See also: ในสถานการณ์ทยุ่งยาก |
in the doghouse | (idm) ยุ่งยาก, See also: มีปัญหา |
in the same boat | (idm) อยู่ในสถานการณ์เดียวกัน, See also: มีปัญหาเหมือนกัน, ประสบความยุ่งยากเหมือนกัน |
make mischief | (idm) ทำให้ยุ่งยาก |
make waves | (idm) สร้างปัญหา, See also: ก่อปัญหา, ทำให้ยุ่งยาก |
open a can of worms | (idm) สร้างความยุ่งยาก, See also: ก่อปัญหา |
over the hump | (idm) พ้นส่วนที่ยุ่งยาก |
ill | (n) สิ่งที่เป็นอันตราย, See also: ความยุ่งยาก, ปัญหา |
Hope Dictionary
burden | (เบอร์'เดิน) n. ภาระ, น้ำหนักที่แบก vt. บรรจุอย่างหนัก, ทำให้ยุ่งยาก |
burdensome | (เบอ'เดินเซิม) adj. ยากลำบาก, ยุ่งยาก, เป็นภาระ, Syn. arduous |
chinese puzzle | n. สิ่งที่สลับซับซ้อน, ปัญหาที่ยุ่งยาก, ปัญหาที่น่าเวียนหัว |
complicate | (คอม'พลิเคท) { complicated, complicating, complicates } vt. ทำให้ซับซ้อน, ทำให้ลำบาก, ทำให้ยุ่งเหยิง adj. ยุ่งเหยิง, ยุ่งยาก, ซับซ้อน, พับหรือซ้อนตัวเอง, พับหรือซ้อนตัวเองตามยาว, Syn. confuse, confound |
complicated | (คอม'พละเคทิด) adj. ซับซ้อน, ยุ่งเหยิง, ยุ่งยาก, ยากที่จะวิเคราะห์ เข้าใจหรืออธิบาย, See also: complicatedness n. ดูcomplicated, Syn. complex |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
cross | (ครอส) { crossed, crossing, crosses } n. กากบาท, ไม้กางเขน, -Phr. (the Crossไม้กางเขนที่พระเยซูถูกตรึงตนตาย) , สัญลักษณ์ศาสนาคริสต์, ศาสนาคริสต์, แกงไต, รูปไขว้, ตรา, การตัดสลับกัน, การประสบอุปสรรค, ความลำบาก, ความยุ่งยากใจ, การผสมข้ามพันธ์ (สัตว์หรือพืช) , พันธุ์ผสม, หมัดเหว |
crux | (ครัคซฺ) n. จุดสำคัญ, ประเด็นสำคัญ, กากบาท, กางเขน, จุดยุ่งยาก, ปัญหายุ่งยาก, ความลำบากของปัญหา, Syn. body, heart, essence, root, key -pl. cruxes, cruces |
cumbersome | (คัม'เบอเซิม) adj. ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก, เป็นภาระ, อุ้ยอ้าย, หนัก, ไม่สะดวก, Syn. clumsy |
cumbrance | (คัม'บรันซ) n. ความลำบาก, ความยุ่งยาก, การรบกวน, ภาระ |
difficulty | (ดิฟ'ฟะคัลที) n. ความยากลำบาก, ความยุ่งยาก, อุปสรรค, ความดื้อรั้น, ความขัดสน -make difficulties ทำให้ยุ่งยาก, คัดค้าน, Syn. quarrel |
fluster | (ฟลัส'เทอะ) { flustered, flustering, flusters } vt. ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่งใจ, ทำให้มึนเมา, ทำให้สลึมสลือ. vi. งงงวย, สลึมสลือ. n. ความตื่นเต้น, ความยุ่งยากใจ, ความเกรียวกราว |
goddamned | (กอด'แดมดฺ) adj. ยุ่งยาก, ซับซ้อนมาก, ยาก. adv. ดูdamned., Syn. goddamn, goddam |
hot water | ความยุ่งยาก, ความลำบาก |
hung-up | (ฮัง'อัพ) adj. เต็มไปด้วยปัญหาที่ยุ่งยาก, เป็นห่วง, กังวลใจ, Syn. detained |
ill | (อิล) adj., adv. ไม่สบาย, ป่วย, เป็นโรค, เลว, ชั่ว, น่ารังเกียจ, ไม่เหมาะสม, ยุ่งยาก, ไม่ชำนาญ, มุ่งร้าย. n. ความเลว, ผลร้าย, อันตราย, โชคร้าย, บาดเจ็บ, โรคบาป., See also: illilly adv., Syn. sick, evil, harm |
intricacy | (อิน'ทระคะซี) n. ลักษณะที่ยุ่งยาก, ความสลับซับซ้อน, การกระทำที่ยุ่งยากหรือสลับซับซ้อน, Syn. complexity |
labyrinth | (แลบ'บะรินธฺ) n. ห้องหูชั้นใน, ทางวกวน, เขาวงกต, สิ่งที่วกเวียน, ความยุ่งยากสับสน, Syn. intricacy, maze, coil |
messy | (เมส'ซี) adj. สกปรก, ไม่เป็นระเบียบหรือยุ่งเหยิง, ยุ่งยากใจ, ลำบากใจ., See also: messily adv. messiness n., Syn. untidy |
mire | (ไม'เออะ) n. บึง, หนอง, ตม, โคลน, เลน, หล่ม, ปลัก, ห้วงแห่งความยุ่งยาก. vt. ทำให้ติดหล่มพัวพันกับสิ่งยุ่งยาก, ทำให้เปื้อนเปราะ vi. ติดหล่ม, Syn. mud |
pester | (เพส'เทอะ) vt. รบกวน, ก่อกวน, รังควาน, ตื้อ, ตอม, ทำให้ยุ่งยากใจ., See also: pesterer n. |
pickle | (พิค'เคิล) n.ของดอง, ความยุ่งยาก, ความลำบาก vi. ดอง, แช่เกลือ แช่ในกรด, ใส่น้ำยา, See also: pickler n. |
puzzle | (พัส'เซิล) n. ปัญหา, ปัญหายุ่งยาก, ปริศนา, เรื่องฉงนสนเท่ห์, สภาวะที่ซับซ้อน vt. ทำให้ฉงนสนเท่ห์, ทำให้งงงวย, ทำให้ยุ่ง. vi. ครุ่นคิดหนัก, ใคร่ครวญ, ไตร่ตรอง, See also: puzzle out แก้ปัญหาโดยความพยายามหรือไตร่ตรอง puzzledly adv. puzzlingly adv. |
simple | (ซิม'เพิล) adj. ง่าย ๆ , ง่าย, ไม่ยุ่งยาก, ไม่สลับซับซ้อน, เข้าใจยาก, ชัดแจ้ง, เรียบ, ถ่อมตัว, บริสุทธิ์, เซ่อ ๆ , ขาดประสบการณ์หรือความรู้, ประกอบด้วยสารหรือธาตุเดียว, ไม่เจือปน, ไม่แบ่งออกเป็นส่วนต่าง ๆ , มีองค์ประกอบเดียว, เกี่ยวกับเส้นตรง n.. คนเรียบ ๆ , คนเซ่อ, คนโง่, สิ่งที่ง่าย ๆ |
squall | (สควอล) n. ลมพายุที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน (มักมีฝนหิมะหรือลูกเห็บ) , ความโกลาหลอย่างกะทันหัน, ความยุ่งยากอย่างกะทันหัน vi. พัดกระหน่ำ, เกิดพายุอย่างกะทันหัน., See also: squallish adv. |
squally | (สควอล'ลี) adj. มีลมพายุที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน (มักมีฝน หิมะหรือลูกเห็บ) , มีมรสุม, คุกคาม, มีความยุ่งยาก, ไม่ราบรื่น |
stickler | (สทิค'เคลอะ) n. ผู้ยืนกรานในความคิดของตน, ปัญหายุ่งยาก |
sticky | (สทิค'คี) adj. เหนียว, ติดแน่น, ยึดติด, เกี่ยวกับอากาศร้อนและชื้น, ต้องรับการรักษาอย่างระมัดระวัง, ยุ่งยาก., See also: stickily adv. stickiness n., Syn. tenacious, adhesive |
thorn | (ธอร์น) n. หนาม, พืชมีหนาม, ความยุ่งเหยิง, หอกข้างแคร่, สิ่งที่ทำให้ยุ่งยากหรือโมโห vt. ตำด้วยหนาม. |
tickler | (ทิค'เคลอะ) n. ผู้ทำให้ (จั๊กจี้, คัน, ขัน) , ผู้ยั่ว, ผู้ยั่วเย้า, สิ่งที่ทำให้ (จั๊กจี้, คัน, ขัน) , บัน-ทึกความทรงจำ, สมุดบันทึก, ปัญหายุ่งยาก, ขดลวดเพิ่มกำลังรับสัญญาณของขั้วจอหรือวิทยุ |
ticklish | (ทิค'ลิช) adj. บ้าจี้, รู้สึกจั๊กจี้ได้ง่าย, ขี้จั๊กจี้, ยาก, ยุ่งยาก, เสียง, ไวต่อการกระตุ้น, ไม่มั่นคง, ไม่แน่นอน., See also: ticklishly adv. ticklishness n., Syn. touchy, delicate, dicey |
trouble | (ทรัพ'เบิล) n. ความยุ่งยาก, ความยากลำบาก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, อุปสรรค, ความเป็นทุกข์, ความเจ็บปวด, ความขัดแย้ง, ความไม่สบาย vt. รบกวน, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้เป็นทุกข์, ทำให้ลำบาก. -Phr. (in trouble ยุ่งยาก, ตั้งครรภ์ก่อนสมรส), See also: troubledly adv. troub |
trouble water | n. สถานการณ์ที่ยุ่งยาก, เวลาที่ยุ่งยาก |
troubled | (ทรับ'เบิลดฺ) adj. ยุ่งยาก, เป็นทุกข์, เป็นภาระ, วุ่นวาย, น่ารำคาญ, หนักใจ |
troublemaker | (ทรับ'เบิลเมค'เคอะ) n. ผู้ทำให้ยุ่งยาก, ผู้ก่อความยุ่งยาก, ผู้ก่อกวน |
troublesome | (ทรับ'เบิลเซิม) adj. ทำให้ยุ่งยาก, สร้างปัญหา, ก่อกวน, ขี้กวน, รบกวน, น่ารำคาญ, ยุ่งยาก, เป็นภาระ, เป็นทุกข์, เจ็บปวด |
troublous | (ทรับ'บลัส) adj. ยุ่งยาก, มีปัญหา, วุ่นวาย, น่ารำคาญ, หนักใจ, กังวล, เป็นโรค, See also: troublousness n., Syn. restless |
turmoil | (เทอ'มอยล์) n. ความยุ่งยาก, ความยุ่งเหยิง, ความสับสนอลหม่าน, ความโกลาหล, Syn. tumult, agitaiton, unrest, disorder |
white elephant | n. ช้างเผือก, กระบวนการที่ยุ่งยากและสิ้นเปลือง |
worriment | (เวอ'ริเมินทฺ) n. ความทุกข์, ความยุ่งยาก, ความกังวลใจ, ความเป็นห่วง |
Nontri Dictionary
ado | (n) ความยุ่งยาก, ความวุ่นวาย, ความโกลาหล, ความกังวลใจ |
agitate | (vt) ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ปั่นป่วน, ทำให้ไม่สงบ, ทำให้ร้อนใจ, ทำให้ตื่นเต้น |
agitation | (n) ความยุ่งยาก, การก่อกวน, การปลุกปั่น, ความตื่นเต้น |
burdensome | (adj) ยุ่งยาก, ลำบาก, เป็นภาระ, หนักมาก |
complication | (n) ความซับซ้อน, ความสับสน, ความยุ่งยาก, ความแทรกซ้อน |
cumber | (vt) กีดกั้น, หนัก, อุ้ยอ้าย, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้ลำบาก |
cumbersome | (adj) เป็นภาระ, ยุ่งยาก |
difficult | (adj) ยาก, ยุ่งยาก, ลำบาก, มีอุปสรรค, ขัดสน |
difficulty | (n) ความยาก, ความยุ่งยาก, ความลำบาก, อุปสรรค, ขวากหนาม |
imbroglio | (n) ความยุ่งยาก, ความยุ่งเหยิง, ความสับสน, ความเข้าใจผิด |
intricacy | (n) ความยุ่งยาก, การพัวพัน, ความสับสน, ความสลับซับซ้อน |
intricate | (adj) ยุ่งยาก, สับสน, พัวพัน, สลับซับซ้อน |
knotty | (adj) มีปมมาก, ยุ่งยาก |
labyrinth | (n) เขาวงกต, ทางซับซ้อน, ความยุ่งยาก, หูชั้นใน |
labyrinthine | (adj) ซับซ้อน, ยุ่งยาก, วกวน, ยุ่ง |
simplify | (vt) ทำให้ไม่ยุ่งยาก, ทำให้ง่าย, ทำให้เข้าใจง่าย |
thorn | (n) หนาม, ต้นไม้ที่มีหนาม, ความยุ่งยาก, หอกข้างแคร่ |
thorny | (adj) มีหนาม, ยุ่งยาก, มีอุปสรรคมาก, ลำบากมาก |
trouble | (n) ความเดือดร้อน, การรบกวน, ความยุ่งยาก |
Longdo Approved JP-TH
複雑 | [ふくざつ, fukuzatsu] (n, adj) ยุ่งยาก, ซับซ้อน |
解決 | [かいけつ, kaiketsu] (vt) การแก้ปัญหา / การจัดการกับ ปัญหาหรือความลำบากหรือความยุ่งยาก ให้ดีขึ้นหรือหมดไป / ทางออกของปัญหา |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
面倒臭い | [めんどうくさい, mendoukusai] (n, vi, vt, modal, ver) ยุ่งยากมาก รำคาญ |
Longdo Approved DE-TH
umständlich | (adj, adv) ซับซ้อน, ยุ่งยาก, (งาน)ที่หนัก ต้องใช้ความกำลังและความพยายามเยอะ |
heikel | (adj) ยุ่งยาก เช่น Anschlußprobleme sind heikel. |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 1.4385 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม