187 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความรับผิดชอบ*
ภาษา
หรือค้นหา: ความรับผิดชอบ, -ความรับผิดชอบ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความรับผิดชอบ | (n) responsibility, See also: obligation, answerability, accountability, Example: นักเรียนทุกคนควรมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนคือตั้งใจศึกษาเล่าเรียน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จำกัดความรับผิดชอบ | น. บริษัทจำกัดซึ่งจำกัดความรับผิดของผู้ถือหุ้นไว้ไม่เกินจำนวนเงินที่ตนยังส่งใช้ไม่ครบมูลค่ารวมของหุ้นที่ตนถือ. |
ขอบข่าย | น. ขอบเขตงานหรือความรู้ที่อยู่ในความรับผิดชอบ. |
เนตรนารี | น. เด็กหญิงที่ได้รับการฝึกให้เป็นผู้นำในทางความประพฤติ, สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กหญิงให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติ และความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. |
แบก | ก. วางของที่มีนํ้าหนักบนบ่าหรือบนหลัง เช่น แบกกระสอบข้าวสาร แบกปืน, โดยปริยายหมายความว่า รับภาระหนัก, มีความรับผิดชอบมาก, เช่น แบกค่าใช้จ่ายในบ้านคนเดียว แบกงานไว้มาก. |
ปัดสวะ | (-สะหฺวะ) ก. ทำอย่างขอไปที, ผลักให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบของตนไป. |
ภาร, ภาร-, ภาระ ๑ | หน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่มีภาระในการเลี้ยงดูลูก ครูมีภาระในการอบรมสั่งสอนศิษย์, ความรับผิดชอบ เช่น พ่อแม่ตายหมด พี่ต้องรับภาระส่งเสียเลี้ยงดูน้อง. |
โยนกลอง | ก. ปัดภาระหรือความรับผิดชอบไปให้คนอื่น. |
ลูกผู้ชาย | น. เรียกผู้ชายที่มีความยุติธรรม ความซื่อสัตย์ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว กล้าหาญ และมีความรับผิดชอบ เป็นต้น. |
ลูกเสือ | น. สมาชิกแห่งองค์การที่มีวัตถุประสงค์ในการฝึกหัดอบรมบ่มนิสัยเด็กชายให้เป็นพลเมืองดีตามจารีตประเพณี มีอุดมคติและความรับผิดชอบตัวเองและต่อผู้อื่นเป็นต้น. |
เละเทะ | มีความประพฤติเหลวไหลไม่มีความรับผิดชอบ เช่น คนกินเหล้าเมายาเป็นคนเละเทะ เชื่อถือไม่ได้, มีความประพฤติเป็นที่น่ารังเกียจ (มักใช้ในทางชู้สาว) เช่น ผู้หญิงคนนั้นทำตัวเละเทะ. |
ศักดินา | น. อำนาจหรือสิทธิที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานให้แก่ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินตามศักดิ์ของแต่ละคน เดิมเป็นการถือครองที่ดินคิดเป็นจำนวนไร่ ต่อมาถือเป็นการกำหนดสถานะ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคนในสังคม เช่น มหาอุปราช มีศักดินา ๑๐๐๐๐๐ เจ้าพระยาจักรี มีศักดินา ๑๐๐๐๐ ภิกษุรู้ธรรม เสมอนา ๖๐๐ ไพร่มีครัว มีศักดินา ๒๐ ยาจก วณิพก ทาส ลูกทาส มีศักดินา ๕ (สามดวง) |
หน้าที่ | น. กิจที่จะต้องทำด้วยความรับผิดชอบ. |
ห่วงคล้องคอ | น. ความรับผิดชอบที่ผูกพันอยู่. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
political responsibility | ความรับผิดชอบทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legal responsibility | ความรับผิดชอบตามกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
legal responsibility | ความรับผิดชอบตามกฎหมาย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
responsibility, social | ความรับผิดชอบทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
responsible parenthood | ความเป็นบิดามารดาที่มีความรับผิดชอบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
responsibility | ความรับผิดชอบ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
responsibility, legal | ความรับผิดชอบตามกฎหมาย [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
responsibility, political | ความรับผิดชอบทางการเมือง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
social responsibility | ความรับผิดชอบทางสังคม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
ministerial responsibility | ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
civil responsibility | ความรับผิดชอบทางแพ่ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collective responsibility | ความรับผิดชอบร่วมกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
collective responsibility | ความรับผิดชอบร่วมกัน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Statement of responsibility | การแจ้งความรับผิดชอบ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Statement of responsibility | การแจ้งความรับผิดชอบ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Delegation of authority | การแบ่งแยกความรับผิดชอบ [TU Subject Heading] |
Environmental responsibility | ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม [TU Subject Heading] |
Ministerial responsibility | ความรับผิดชอบของรัฐมนตรี [TU Subject Heading] |
Responsibility | ความรับผิดชอบ [TU Subject Heading] |
Responsibility in children | ความรับผิดชอบในเด็ก [TU Subject Heading] |
Social responsibility of business | ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Conference on Disamament | การประชุมว่าด้วยการลดอาวุธ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2522 เพื่อเป็นเวทีเจรจาการลดอาวุธระหว่างประเทศ มีขอบเขตความรับผิดชอบเกี่ยวกับประเด็นด้านการลดอาวุธทุกด้าน และมีหน้าที่ รายงานต่อที่ประชุมสมัชชาสหประชาชาติทุกปี ปัจจุบันมีสมาชิก 65 ประเทศ(ไทยมิได้เป็นสมาชิก) โดยที่ผ่านมาประสบผลสำเร็จในการเจรจาจัดทำความตกลงระหว่างประเทศ ด้านการลดอาวุธหลายฉบับ ที่สำคัญได้แก่ สนธิสัญญาไม่แพร่อาวุธนิวเคลียร์ อนุสัญญาห้ามเคมี อนุสัญญาห้ามอาวุธชีวภาพ และสนธิสัญญาห้ามทดลองนิวเคลียร์โดยสมบูรณ์ [การทูต] |
Responsibility to protect | หลักการความรับผิดชอบในการคุ้มครอง เป็นหลักการที่ได้รับการรับรองในการประชุมระดับผู้นำ เพื่อทบทวนผลของปฏิญญาสหัสวรรษ(High Level Panel Meeting - HLPM) เมื่อวันที่ 14-16 กันยายน พ.ศ. 2548 ณ นครนิวยอร์ก ที่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงทางมนุษยธรรม ( humanitarian interference/intervention of humanity)เพื่อคุ้มครองประชาชนจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การฆ่าล้างชนชาติ โดยจะถือเป็นความรับผิดชอบและที่จะต้องดำเนินการร่วมกันโดยประชาคมระหว่าง ประเทศ อย่างไรก็ตาม หลักการเรื่องนี้มีนัยเกี่ยวข้องกับกฏหมายระหว่างประเทศ อธิปไตย ของรัฐ ความอ่อนไหวทางการเมือง และความชอบธรรมในการปฏิบัติ จึงยังไม่มีการนิยามแนวความคิด R2P รวมถึงขอบเขตของ R2P ที่ชัดเจน [การทูต] |
Regional Organizations | คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต] |
Secretariat of the United Nations | คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น [การทูต] |
United Nations University | มหาวิทยาลัยสหประชาชาติ จัดตั้งขึ้นเมื่อ ค.ศ. 1973 ตั้งอยู่ในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น เป็นสถาบันอิสระที่บริหารปกครองตนเองภายในโครงร่างของสหประชาชาติ เรียกได้ว่าเป็นสถาบันการศึกษาที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศในเชิงวิชาการ ในอันที่จะมีส่วนช่วยเหลือเกื้อกูลต่อการแก้ปัญหาเร่งด่วนต่าง ๆ ของโลก มหาวิทยาลัยนี้มีลักษณะไม่เหมือนกับมหาวิทยาลัยอื่นทั่ว ๆ ไป ทั้งในด้านโครางสร้างและแบบอย่างการดำเนินงาน กล่าวคือ ไม่มีนิสิตนักศึกษาของตนเอง ไม่มีคณะในมหาวิทยาลัย และไม่มีบริเวณมหาวิทยาลัย (campus) ดำเนินงานภายในเครือข่ายของสถาบันวิจัยและวิชาการต่าง ๆ ทั่วโลก รวมทั้งศูนย์ฝึกและศูนย์วิจัยของตนเอง ทั้งยังรวมไปถึงผู้คงแก่เรียนเป็นรายบุคคลด้วย ทั้งนี้ เพื่อร่วมกันหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ ของโลกเป็นจุดสำคัญเรื่องที่มหาวิทยาลัยสหประชาชาติกำลังกังวลและสนใจอยู่ใน ขณะนี้ คือ เรื่องเกี่ยวกับค่านิยมของมนุษย์ทั่วโลก รวมทั้งความรับผิดชอบทั้งหลายที่มนุษย์ทั่วโลกจะพึงมี เรื่องทิศทางใหม่ ๆ ในภาวะเศรษฐกิจที่กลังปรากฏอยู่ในโลก รวมทั้งเรื่องความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการทางเทคโนโลยีเรื่องพลัง ที่ทำให้เกิดความผันแปรระหว่างพลเมืองของโลก ตลอดจนเรื่องสวัสดิภาพและความเป็นอยู่ของมนุษย์ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ยังมุ่งหมายที่จะช่วยเพิ่มพูนศักยภาพในการวิจัย และการฝึกในประเทศที่กำลังพัฒนาทั้งหลายด้วย และภายในมหาวิทยาลัยเองก็กำลังสนใจด้านวิจัยและการฝึกฝนในบางเรื่องโดยเฉพาะ [การทูต] |
Work of the United Nations on Human Rights | งานขององค์การสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชน งานสำคัญชิ้นหนึ่งของสหประชาชาติคือ วควมมปรารถนาที่จะให้ประเทศทั้งหลายต่างเคารพและให้ความคุ้มครองแก่สิทธิ มนุษยชนตลอดทั่วโลก ดังมาตรา 1 ในกฎบัตรของสหประชาติได้บัญญัติไว้ว่า?1. เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ และมีเจตนามุ่งมั่นต่อจุดหมายปลายทางนี้ จะได้ดำเนินมาตรการร่วมกันให้บังเกิดผลจริงจัง เพื่อการป้องกันและขจัดปัดเป่าการคุกคามต่อสันติภาพ รวมทังเพื่อปราบปรามการรุกรานหรือการล่วงละเมิดอื่น ๆ ต่อสันติภาพ ตลอดจนนำมาโดยสันติวิธี และสอดคล้องกับหลักแห่งความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ซึ่งการปรับปรุงหรือระงับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ระหว่างประเทศ อันจะนำไปสู่การล่วงละเมิดสันติภาพได้ 2. เพื่อพัฒนาสัมพันธไมตรีระหว่างประชาชาติทั้งปวงโดยยึดการเคารพต่อหลักการ แห่งสิทธิเท่าเทียมกัน และการกำหนดเจตจำนงของตนเองแห่งประชาชนทั้งปวงเป็นมูลฐานและจะได้ดำเนิน มาตรการอันเหมาะสมอย่างอื่น เพื่อเป็นกำลังแก่สันติภาพสากล 3. เพื่อทำการร่วมมือระหว่างประเทศ ในอันที่จะแก้ปัญหาระหว่างประเทศในทางเศรษฐกิจ การสังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม รวมทั้งการส่งเสริมสนับสนุนการเคารพสิทธิมนุษยชนและอิสรภาพ อันเป็นหลักมูลฐานสำหรับทุก ๆ คนโดยปราศจากความแตกต่างด้านเชื้อชาติ เพศ ภาษา หรือศาสนา 4. เพื่อเป็นศูนย์กลางและประสานการดำเนินงานของประชาชาติทั้งปวงในอันที่จะ บรรลุจุดหมายปลายทางเหล่านี้ร่วมกันด้วยความกลมกลืน"ดังนั้น เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948 สมัชชาแห่งสหประชาชาติจึงได้ลงข้อมติรับรองปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ่งนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ชุมชนระหว่างประเทศ ที่ได้ยอมรับผิดชอบที่จะให้ความคุ้มครอง และเคารพปฏิบัติตามสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ประกอบด้วยข้อความรวม 30 มาตรา กล่าวถึง1. สิทธิของพลเมืองทุกคนที่จะมีเสรีภาพ และความเสมอภาค รวมทั้งสิทธิทางการเมือง2. สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 1 และ 2 เป็นมาตราที่กล่าวถึงหลักทั่วไป เช่น มนุษย์ปุถุชนทั้งหลายต่างเกิดมาพร้อมกับ อิสรภาพ และทรงไว้ซึ่งศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน ดังนั้น ทุกคนย่อมมีสิทธิและอิสรภาพตามที่ระบุในปฏิญญาสากล โดยไม่คำนึงถึงความแตกต่างใด ๆ เชื้อชาติ เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรืออื่น ๆ ต้นกำเนิดแห่งชาติหรือสังคม ทรัพย์สินหรือสถานภาพอื่น ๆ ส่วนสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมืองนั้น ได้รับการรับรองอยู่ในมาตร 3 ถึง 21 ของปฏิญญาสากล เช่น รับรองว่าทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตอยู่ มีเสรีภาพและความมั่นคงปลอดภัย มีอิสรภาพจากความเป็นทาสหรือตกเป็นทาสรับใช้ มีเสรีภาพจากการถูกทรมาน หรือการถูกลงโทษอย่างโหดร้าย สิทธิที่จะได้รับการรับรองเป็นบุคคลภายใต้กฎหมาย ได้รับความคุ้มครองเท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย มีเสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือถูกเนรเทศโดยพลการ มีสิทธิที่จะเคลื่อนย้ายไปไหนมาไหนได้ สิทธิที่จะมีสัญชาติ รวมทั้งสิทธิที่จะแต่งงานและมีครอบครัว เป็นต้นส่วนมาตรา 22 ถึง 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ ทางสังคม และทางวัฒนธรรม เช่น มีสิทธิที่จะอยู่ภายใต้การประกันสังคม สิทธิที่จะทำงาน สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่าง สิทธิที่จะมีมาตรฐานการครองชีพสูงพอที่จะให้มีสุขภาพอนามัย และความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิที่จะได้รับการศึกษาและมีส่วนร่วมในชีวิตความเป็นอยู่ตามวัฒนธรรมของ ชุมชน มาตรา 28 ถึง 30 กล่าวถึงการรับรองว่า ทุกคนมีสิทธิที่จะมีขีวิตอยู่ท่ามกลางความสงบเรียบร้อยของสังคมและระหว่าง ประเทศ และขณะเดียวกันได้เน้นว่า ทุกคนต้องมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อชุมชนด้วยสมัชชาสหประชาชาติได้ประกาศ ให้ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้ เป็นมาตรฐานร่วมกันที่ทุกประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามให้ได้ และเรียกร้องให้รัฐสมาชิกของสหประชาชาติช่วยกันส่งเสริมรับรองเคารพสิทธิและ เสรีภาพตามที่ปรากฎในปฏิญญาสากลโดยทั่วกัน โดยเล็งเห็นความสำคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชนนี้ สมัชชาสหประชาชาติจึงลงมติเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1950 ให้ถือวันที่ 10 ธันวาคมของทุกปี เป็นวันสิทธิมนุษยชนทั่วโลก [การทูต] |
Responsibility accounting | การบัญชีตามความรับผิดชอบ [การบัญชี] |
Authority | อำนาจความรับผิดชอบ, อำนาจ, ผู้มีอำนาจ [การแพทย์] |
ความผิดปกติทางจิต | ความผิดปกติทางจิต, อาการที่แสดงออกที่ผิดแปลก ทำให้การปรับตัวหรือสัมพันธภาพหรือความรับผิดชอบหรือชีวิตประจำวันที่เคยมี เสียไป หรือแตกต่างจากคนทั่วไปอย่างผิดปกติ ซึ่งสามารถแสดงออกหลายด้านไล่เรียงตั้งแต่สิ่งที่สังเกตยากที่สุด คือ ความคิด ความรู้สึก การรับรู้ อารมณ์ หรือพฤติกรรม [สุขภาพจิต] |
Corporate Social Responsibility | ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจ, Example: ความรับผิดชอบทางสังคมของธุรกิจ [ธุรกิจ] |
Job Description | พิจารณาบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ, การทำรายละเอียดของงาน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การมอบหมายความรับผิดชอบ | [kān møpmāi khwām rapphitchøp] (n, exp) EN: delegation of responsibility |
ความรับผิดชอบ | [khwām rapphitchøp] (n) EN: responsibility ; obligation ; answerability ; accountability FR: responsabilité [ f ] |
ความรับผิดชอบร่วมกัน | [khwām rapphitchøp ruam kan] (n, exp) EN: collective responsibility FR: responsabilité collective [ f ] |
ความรับผิดชอบทางแพ่ง | [khwām rapphitchøp thāng phaeng] (n, exp) EN: civil liability |
ความรับผิดชอบต่อผลิตภัณฑ์ | [khwām rapphitchøp tø phalittaphan] (n, exp) EN: product liability |
ความรับผิดชอบต่อสังคม | [khwām rapphitchøp tø sangkhom] (n, exp) EN: social responsibility ; Corporate Social Responsibility (CSR) FR: responsabilité sociale des entreprises (RSE) [ f ] |
เลี่ยงความรับผิดชอบ | [līeng khwām rapphitchøp] (v, exp) EN: avoid responsibility ; evade one's responsibility ; shirk one's responsibility FR: échapper à ses responsabilités ; fuir ses responsabilités |
มีความรับผิดชอบ | [mī khwām rapphitchøp] (adj) EN: responsible |
Longdo Approved EN-TH
in charge | (adj) ที่อยู่ในความรับผิดชอบในหน้าที่ |
hypengyophobia | (n) โรคกลัวความรับผิดชอบ, Syn. fear of responsibility |
buckpassing | (n, adj) การปัดความรับผิดชอบ, ที่ปัดความรับผิดชอบ เช่น The most important one is the non-trust and buckpassing bureaucracy., The managers are active when there's benefit and buckpassing when things go bad., See also: avoiding |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
at someone's doorstep | (idm) ในความดูแลของ, See also: ในความรับผิดชอบของ |
buck | (vt) ส่งต่อไปยัง (เพื่อหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ) |
be in someone's hands | (idm) อยู่ในความรับผิดชอบของ, See also: เป็นความรับผิดชอบของ, Syn. be out of |
be on someone's head | (idm) รับผิดชอบ, See also: เป็นความรับผิดชอบของ |
be out of one's hands | (idm) ไม่อยู่ในความรับผิดชอบ, Ant. be in someone's hands |
bunk off | (phrv) หนีจาก (ความรับผิดชอบ, ครอบครัว, โรงเรียนฯลฯ) |
charge | (n) ภาระ, See also: ความรับผิดชอบ, Syn. burden |
commitment | (n) ความรับผิดชอบ, Syn. responsibility, engagement |
confide | (vt) ให้ความไว้วางใจ, See also: มอบความรับผิดชอบให้, Syn. entrust, charge, consign |
consign | (vt) ให้อยู่ในความรับผิดชอบของ, See also: ให้อยู่ในความดูแลของ, Syn. entrust |
cop-out | (n) การละทิ้งความรับผิดชอบ (คำสแลง) |
cop out | (phrv) เลี่ยงความรับผิดชอบในเรื่อง (คำไม่เป็นทางการ), Syn. opt in, opt out |
devolve on | (phrv) มอบให้ (อำนาจ, หน้าที่, ความรับผิดชอบฯลฯ) |
devolve upon | (phrv) มอบให้ (อำนาจ, หน้าที่, ความรับผิดชอบฯลฯ) |
fall on | (phrv) ตกมาถึง, See also: มาถึง, เป็นความรับผิดชอบของ |
fall to someone's lot | (phrv) กลายเป็นความรับผิดชอบในการทำบางสิ่ง |
fall to someone's share | (phrv) กลายเป็นความรับผิดชอบในการทำบางสิ่ง |
fall upon | (phrv) ตกมาถึง, See also: มาถึง, เป็นความรับผิดชอบของ |
devolution | (n) การกระจายความรับผิดชอบ, See also: การมอบหมายหน้าที่, Syn. delegation |
devolve | (vt) ถ่ายโอนอำนาจไปยังคนที่มีอำนาจน้อยกว่า, See also: ถ่ายโอนความรับผิดชอบไปยังคนที่มีความรับผิดชอบน้อยกว่า, Syn. commit, entrust, offer a post |
disclaimer | (n) ข้อความปฏิเสธความรับผิดชอบ, Syn. denial, rejection, contradiction, Ant. avowal, affirmation |
dodger | (n) คนที่ใช้เล่ห์เหลี่ยมในการหลีกเลี่ยงหน้าที่หรือความรับผิดชอบ, Syn. traunt, absentee, defaulter, avoider |
duty | (n) ความรับผิดชอบ, See also: หน้าที่รับผิดชอบ, หน้าที่, Syn. matter, affair, chore, charge |
entrust | (vt) มอบความรับผิดชอบให้, Syn. commit, consign |
get off | (phrv) ปัดความรับผิดชอบ |
get out of | (phrv) หนี (หน้าที่), See also: ปัดความรับผิดชอบ, Syn. get off, let off |
get out of | (phrv) หนี (หน้าที่), See also: ปัดความรับผิดชอบ, Syn. get off, let off |
impose on | (phrv) กำหนด (ภาษีหรือความรับผิดชอบ) ให้กับ, See also: เรียกเก็บ, เก็บ, กำหนดให้มี, Syn. impose upon, place on, put on |
impose upon | (phrv) กำหนด (ภาษีหรือความรับผิดชอบ) ให้กับ, See also: เรียกเก็บ, เก็บ, กำหนดให้มี, Syn. impose on, place on, put on |
in the care of | (idm) อยู่ในความดูแลของ, See also: อยู่ในความรับผิดชอบของ |
in the charge of | (idm) อยู่ในความดูแลของ, See also: อยู่ในความรับผิดชอบของ |
in the line of duty | (idm) ตามหน้าที่, See also: เป็นหน้าที่, อยู่ในความรับผิดชอบ |
on someone's doorstep | (idm) ในความรับผิดชอบของบางคน, Syn. at someone's doorstep, Ant. at someone's doorstep |
on someone's shoulders | (idm) ในความรับผิดชอบ |
pass the buck | (idm) ตำหนิหรือโทษคนอื่น, See also: ปัดความรับผิดชอบให้ผู้อื่น |
incumbent | (adj) ซึ่งมีหน้าที่, See also: ซึ่งปฏิบัติหน้าที่, ซึ่งมีความรับผิดชอบ, Syn. obligatory |
intrust | (vt) ไว้วางใจ, See also: มอบความรับผิดชอบให้, Syn. assign, commit, confide |
irresponsible | (adj) ขาดความรับผิดชอบ, Syn. unreliable, careless, Ant. responsible |
let someone off the hook | (idm) ปล่อยให้เป็นอิสระจาก (ความยุ่งยาก, ความรับผิดชอบ, การตัดสินใจ), Syn. be off, be on, get off |
lie with | (phrv) เป็นความรับผิดชอบของ, See also: อยู่ในความดูแลของ, Syn. rest with |
job | (n) ความรับผิดชอบ, See also: หน้าที่, Syn. duty, responsibility |
liable | (adj) ซึ่งรับผิดชอบตามกฎหมาย, See also: เป็นความรับผิดชอบ |
load | (n) ภาระ, See also: หน้าที่, ความรับผิดชอบ, Syn. weight, encumbrance |
mantle | (n) บทบาทหน้าที่, See also: ตำแหน่งหน้าที่, ความรับผิดชอบ |
obligation | (n) หน้าที่, See also: ภาระหน้าที่, ความรับผิดชอบ, Syn. duty, responsibility |
onus | (n) หน้าที่, See also: ความรับผิดชอบ, Syn. burden, load, task, Ant. irresponsibility, freedom |
outgoing | (adj) ที่พ้นจากงานหรือความรับผิดชอบ, Ant. incoming |
pigeon | (n) เรื่องหรือสิ่งที่อยู่ในความรับผิดชอบของคนใดคนหนึ่งโดยเฉพาะ |
pilot | (vt) รับผิดชอบ, See also: อยู่ในความรับผิดชอบ |
quit | (adj) เป็นอิสระ (จากข้อผูกมัด, ความรับผิดชอบ, โทษ), See also: พ้นโทษ, Syn. free |
Hope Dictionary
blame | (เบลม) { blamed, blaming, blames } vt. กล่าวโทษ, ตำหนิ, ประณาม, นินทา, กล่าวร้าย, โยนความผิดให้ -Phr. (be to blame ควรถูกตำหนิ, ควรรับผิดชอบ) n. การตำหนิ, ความรับผิดชอบ, ภาระ, See also: blamer n. blameful adj. ดูblame blameless adj. ดูblame -Conf. put |
discharge | (ดิสชาร์จ') vi., vt., n. (การ) ปล่อย, เอาลง, ขับออก, ทำให้พ้นหน้าที่ความรับผิดชอบหรืออื่น ๆ , ปลดจากประจำการ, ปลดจากงาน, ปล่อยกระแสไฟฟ้า, หนังสือหลักฐานการปลดจากภาระหน้าที่, การชำระสะสาง, See also: discharger n. ดูdischarge, Syn. unl |
entrust | (เอนทรัสทฺ') { entrusted, entrusting, entrusts } vt. มอบความรับผิดชอบ, มอบความไว้วางใจ., See also: entrustment n. ดูentrust, Syn. intrust |
fainaigue | (ฟะเนก') vi. หลบหนีงานหรือความรับผิดชอบ, หลบหนี, โกง. vt. โกง, หลอก, ลวง -fainaiguer n. |
irresponsible | (เออริสพอน'ซะเบิล) adj. ไม่รับผิดชอบ, ขาดความรับผิดชอบ., See also: irresponsibility, irresponsibleness n. irresponsibly adv., Syn. irresolute |
legality | (ลิแกล'ลิที) n. ความถูกต้องตามกฎหมาย, การปฏิบัติตามกฎหมาย, หน้าที่หรือความรับผิดชอบด้วยกฎหมาย |
liability | (ไลอะบิล'ลิที) n. หนี้, หนี้เงิน, หนี้สิน, ความรับผิดชอบ, ภาระหน้าที่, ด้านลูกหนี้ของบัญชี, ข้อเสียเปรียบ, ความโน้มเอียง, Syn. accountability |
onus | (โอ'นิส) n. ความรับผิดชอบ, ภาระ |
responsibility | (ริสพอนซะบิล'ลิที) n. ความรับผิดชอบ, ภาระ, ภาระหน้าที่, สิ่งที่รับผิดชอบ, สิ่งที่เป็นภาระหน้าที่, Syn. accountability |
shirk | (เชิร์ค) vt. หนีงาน, หนีภาระหน้าที่, หนีความรับผิดชอบ., Syn. soldier, malinger |
shirker | (เชิร์ค'เคอะ) n. ผู้หนีงาน, ผู้หนีความรับผิดชอบ, Syn. idler, slacker, quitter |
trust | (ทรัสทฺ) n. ความเชื่อถือ, ความไว้วางใจ, ความมั่นใจ, ความหวัง, สิ่งที่ไว้ใจได้, บุคคลที่ไว้ใจได้, บริษัทใหญ่ที่รวมบริษัทเล็ก ๆ เข้าไว้, ความรับผิดชอบ, การฝากฝัง, ความพิทักษ์, ความอุปถัมภ์, การปกครอง, สินเชื่อ, -Phr. (in trust อยู่ในความพิทักษ์ของคนอื่น) adj. เกี่ยวกับสินเชื่อ |
vagabond | (แวก'กะบอนดฺ) adj. พเนจร, ร่อนเร่, จรจัด, ไร้ค่า, ขี้เกียจ. n. คนพเนจร, คนร่อนเร่, คนจรจัด, คนที่ไม่มีความรับผิดชอบ., See also: vagabondish adj., Syn. tramp, vagrant |
Nontri Dictionary
charge | (n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ, ภาระ, ค่าธรรมเนียม, มูลค่า, การฟ้องร้อง |
duty | (n) หน้าที่, ภาระหน้าที่, อากร, ภาษี, ความรับผิดชอบ |
entrust | (vt) ไว้ใจ, มอบหมาย, มอบความรับผิดชอบ |
irresponsible | (adj) ขาดความรับผิดชอบ |
liability | (n) ความเป็นไปได้, ความรับผิดชอบ, ข้อบกพร่อง, หนี้, พันธกรรม, ความโน้มเอียง |
responsibility | (n) ภาระหน้าที่, ความรับผิดชอบ |
trust | (n) ความไว้ใจ, การให้เชื่อ, ความเชื่อถือ, ความรับผิดชอบ, สินเชื่อ, ของฝาก |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
accountability | (n) ความรับผิดชอบ |
Chaaim | [ชา ไอม์] (slang) ขาดความรับผิดชอบ, See also: unzuverlässig, unvorsichtig, A. verantwortlich, Syn. unverantwortlich |
Longdo Approved JP-TH
引責辞任 | [いんせきじにん, insekijinin] (n) การแสดงความรับผิดชอบโดยการลาออก |
義務 | [ぎむ, gimu] (n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ |
責任 | [せきにん, sekinin] (n) หน้าที่, ความรับผิดชอบ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
無責任 | [むせきにん, musekinin] (n, adj) ไม่มีความรับผิดชอบ |
責任感 | [せきにんかん, sekininkan] (n) มีความรับผิดชอบ |
移管 | [いかん, ikan] (n) การโอนหน้าที่หรือความรับผิดชอบให้หน่วยงานอื่นทำ |
Longdo Approved DE-TH
Verantwortung | (n) |die, pl. Verantwortungen| ความรับผิดชอบ เช่น Für mein Leben trage ich selbst die Verantwortung. ฉันรับผิดชอบชีวิตของฉันด้วยตัวฉันเอง |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Chaaim | [ชา ไอม์] (slang) ขาดความรับผิดชอบ, See also: unzuverlässig, unvorsichtig, A. verantwortlich, Syn. unverantwortlich |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.8439 seconds
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม