คำ | (n) word, See also: speech, vocable, Syn. เสียงพูด, Example: เสียงของแต่ละคนนั้นพูดแต่ละครั้งจะไม่เหมือนกัน แม้จะพูดคำเดียวกันหรือประโยคเดียวกันก็ตาม, Thai Definition: เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว |
คำๆ | (n) word, Example: เขาให้เขียนเป็นคำๆ ไม่ใช่เขียนเป็นข้อความยาวๆ |
คำขอ | (n) request, See also: appeal, demand, Syn. คำร้อง, Example: การขอลิขสิทธิ์ของพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สามารถขอตรวจและยื่นคำขอได้ที่กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: หนังสือที่ยื่นต่อทางราชการ เพื่อขอให้ทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้แก่ผู้ยื่น, Notes: (กฎหมาย) |
คำขอ | (n) petition to the crown, See also: petition to the court, appeal to the court, Syn. คำร้องขอ, Count Unit: ฉบับ, Thai Definition: คำซึ่งคู่ความขอให้ศาลมีคำสั่งอย่างใดอย่างหนึ่ง, Notes: (กฎหมาย) |
คำคม | (n) epigram, See also: witticism, wisecrack, celebrated remark, well-known saying, Example: ผมช่วยคิดคำคมเด็ดๆ ไปเชียร์ผู้นำของเขา, Count Unit: คำ, Thai Definition: ถ้อยคำที่หลักแหลมชวนให้คิด |
คำชม | (n) praise, See also: admiration, laud, exaltation, extoller, Syn. คำยกย่อง, คำเยินยอ, คำยกยอ, คำชื่นชม, Ant. คำด่า, คำว่า, Example: พระพุทธรูปที่สร้างในสมัยนี้ได้รับคำชมเสมอว่ามีพระพักตร์และศิลปะที่งดงามอย่างยิ่ง |
คำนำ | (n) preface, See also: introduction, foreword, prologue, preamble, Syn. อารัมภกถา, อารัมภบท, บทนำ, คำขึ้นต้น, Ant. คำลงท้าย, Example: ประธานชมรมได้รับเกียรติให้เขียนคำนำในหนังสือเล่มนี้, Thai Definition: คำอธิบายหรือชี้แจงสาเหตุที่เขียนหรือพิมพ์หนังสือเรื่องนั้นๆ |
คำขาด | (n) ultimatum, See also: finality, Example: พนักงานยื่นคำขาดแก่ผู้บริหารเรื่องการขึ้นเงินเดือน, Thai Definition: คำที่พูดออกไปแล้วไม่เปลี่ยนแปลง, ข้อเสนอเด็ดขาด, ข้อเสนอที่ยื่นให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด |
คำขู่ | (n) threat, See also: menace, Example: ประชาชนส่วนใหญ่เข้าใจว่าเป็นการยื่นคำขาดหรือคำขู่ของทหาร |
คำชวน | (n) invitation, See also: persuasion, bid, inducement, Syn. คำเชิญชวน, คำเชื้อเชิญ, Example: ข้าพเจ้าไม่ปฏิเสธคำชวนไปเที่ยวงานวัดของเพื่อนๆ |
คำ ๑ | น. ทองคำ เช่น หอคำ เชียงคำ. |
คำ ๒ | น. เสียงพูด, เสียงที่เปล่งออกมาครั้งหนึ่ง ๆ, เสียงพูดหรือลายลักษณ์อักษรที่เขียนหรือพิมพ์ขึ้นเพื่อแสดงความคิด โดยปรกติถือว่าเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดซึ่งมีความหมายในตัว, ใช้ประกอบหน้าคำอื่นมีความหมายเช่นนั้น เช่น คำนาม คำกริยา คำบุรพบท |
คำ ๒ | พยางค์ซึ่งเป็นส่วนย่อยของวรรคหรือบาทในฉันท์ แต่ละพยางค์ถือว่าเป็นคำหนึ่ง, ๒ วรรคของคำกลอน |
คำ ๒ | ลักษณนามของเสียงพูด เช่น พูดคำหนึ่ง, ลักษณนามบอกจำพวกของเคี้ยวของกิน เช่น ข้าวคำหนึ่ง, ลักษณนามเรียก ๒ วรรคของคำกลอน ว่า คำหนึ่ง. |
คำกร่อน | น. คำที่ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง อะ โดยยังคงเสียงพยัญชนะต้นเสียงเดี่ยวหรือเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นอักษรควบอักษรกล้ำไว้ มักจะเกิดในคำสองพยางค์ที่พยางค์แรกออกเสียงเบา เช่น หมากม่วง เป็น มะม่วง ต้นเคียน เป็น ตะเคียน อันหนึ่ง เป็น อนึ่ง แจ้นแจ้น เป็น จะแจ้น ขวักไขว่ เป็น ขวะไขว่ โครมโครม เป็น คระโครม, และมีปรากฏในคำพยางค์เดียวด้วย เช่น เสีย เป็น ซะ แล้ว เป็น ละ, แต่บางกรณีก็ลดเสียงสระและเสียงสะกด (ถ้ามี) ให้เป็นเสียง เออะ หรือ อึ เช่น เถิด เป็น เถอะ หรือ เป็น รึ. |
คำกล่าวโทษ | น. การที่บุคคลอื่นซึ่งไม่ใช่ผู้เสียหายได้กล่าวหาต่อเจ้าหน้าที่ว่ามีบุคคลรู้ตัวหรือไม่ก็ดี ได้กระทำความผิดอย่างหนึ่งขึ้น. |
คำขวัญ | น. ถ้อยคำที่แต่งขึ้นเพื่อเตือนใจหรือเพื่อให้เป็นสิริมงคล. |
คำขาด | น. คำบอกกล่าวอย่างเด็ดขาดครั้งที่สุดให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่มีการผ่อนผัน เช่น ยื่นคำขาดให้ผู้เช่าออกไปจากบ้านเช่าภายใน ๓ วัน, ข้อเสนอเด็ดขาด, ข้อเสนอที่ยื่นให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด เช่น เขายื่นคำขาดให้เธอปฏิบัติตาม. |
คำขึ้นต้น | น. คำใช้เขียนขึ้นต้นจดหมายถึงผู้รับตามฐานะของผู้รับแต่ละคน เช่น นมัสการ ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงพระภิกษุ เรียน ใช้เป็นคำขึ้นต้นจดหมายถึงบุคคลธรรมดา |
คำขึ้นต้น | คำใช้ขึ้นต้นสำหรับร้อยกรองบางประเภท เช่น บัดนั้น เมื่อนั้น ครานั้น สักวา. |
Instructional Media | สื่อการเรียนการสอน, คำนี้นักการศึกษาบางท่านใช้คำว่า "สื่อการเรียน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ ที่เรานำมาใช้นั้นเพื่อการศึกษา หรือเพื่อช่วยในการเรียนรู้ของผู้เรียน ส่วนนักการศึกษาบางท่านจะใช้คำ "สื่อการสอน" เพราะเห็นว่าสื่อต่างๆ นั้น เป็นตัวถ่ายทอดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน<br />สื่อการเรียนการสอนนี้ ได้มีนักการศึกษาได้ให้ความหมาย หรือคำจำกัดความไว้หลายท่านด้วยกัน แต่พอจะสรุปความได้คือ "สื่อการเรียนการสอน" หมายถึง วัสดุ เครื่องมือ ตลอดจนถึงวิธีการต่างๆ ที่จะเป็นตัวช่วยถ่ายทอดความรู้ จากแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Video | วีดิทัศน์, คำว่า วีดิทัศน์ เป็นศัพท์บัญญัติตรงกับคำภาษาอังกฤษว่า video (อ่านว่า วิ-ดี-โอ). ศาสตราจารย์ ดร. คุณบรรจบ พันธุเมธา เป็นผู้คิดคำนี้ขึ้น โดยเห็นว่า คำว่า “วีติ” ในภาษาสันสกฤต แปลว่า “ความสนุกสนานรื่นเริง” มีเสียงใกล้เคียงกับคำว่า video ในภาษาอังกฤษ เมื่อเติมคำว่า “ทัศน์” ลงไปข้างท้าย ก็อาจจะแปลได้ว่า “เครื่องที่แสดงภาพเพื่อความสนุกสนานรื่นเริง” คำนี้มักจะเขียนตามคำอ่าน ซึ่งพบว่ามีการใช้สระผิด เช่น เขียนว่า วิดีทัศน์ หรือ วีดิโอ คำที่ถูกต้องคือ วีดิทัศน์ (ว สระอี ด สระ อิ ..) และ วิดีโอ (ว สระอิ ด สระอี ...) [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Preface | คำนำ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Forward | คำนำ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Keyword | คำสำคัญ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Forward | คำนำ, Example: <p>คือ หน้าที่ผู้เขียนต้องการชี้แจงผู้อ่านเบื้องต้นเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ที่เขียนหนังสือ วิธีการใช้หนังสือ กลุ่มผู้อ่าน ขอบเขตเนื้อเรื่องโดยย่อ ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการอ่านเพื่อทำความเข้าใจ รวมถึงอาจเป็นคำกล่าวขอบคุณแก่ผู้ที่มีส่วนช่วยเหลือในการเขียนหรือจัดทำหนังสือ <p>ความต่างระหว่าง Foreword และ Preface คือ โดยปกติ Foreword มักเขียนโดยบุคคลอื่นซึ่งไม่ใช้ผู้แต่งหรือบรรณาธิการ ส่วนใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง หรือประสบความสำเร็จ ในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับหนังสือนั้นๆ ทั้งนี้เพื่อเพิ่มความน่าเชื่อถือให้แก่หนังสือ <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20110315-forword.jpg" alt="Forword"> <p>แหล่งข้อมูล <p>McNees, Pat. (n.d). The difference between a preface, foreword, and introduction. [ Online ] Available from: http://www.patmcnees.com/the_difference_between_a_preface__foreword__and_introduction_52536.htm [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
General Material Designation | คำระบุประเภทวัสดุอย่างกว้าง ๆ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Keyword | คำสำคัญ, Example: <p>Keyword หรือ คำสำคัญ คือ คำที่ถูกกำหนดขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนเนื้อหาสารสนเทศ โดยมาจากคำที่ปรากฏในหนังสือ บทความ หรือทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ อาจเป็นคำที่ปรากฏในชื่อเรื่อง บทคัดย่อ สาระสังเขป หรือตัวเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศนั้นๆ โดยย่อเหลือเพียงคำที่แสดงใจความสำคัญของเนื้อเรื่อง ที่สั้น กะทัดรัด และมีความชัดเจน รวมถึงเป็นคำที่รู้จักกันเป็นสากลสำหรับผู้ค้นหาสารสนเทศ ทั้งนี้คำสำคัญจัดเป็นประเภทของคำที่ใช้แทนเนื้อหาสารสนเทศประเภทหนึ่ง นอกเหนือจาก คำศัพท์สัมพันธ์ (Thesaurus) และ หัวเรื่อง (Subject heading) เป็นต้น <p>วัตถุประสงค์ของการกำหนดคำสำคัญ เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดเก็บ ค้นคืนสารสนเทศ และเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศ นอกเหนือจากการเข้าถึงโดยผ่านช่องทางหรือจุดเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศอื่น เช่น ชื่อผู้แต่ง ชื่อผู้รับผิดชอบ ชื่อเรื่อง เนื้อหา ปีที่พิมพ์ หรืออื่นๆ ตามปกติ การกำหนดคำสำคัญนั้นอาจทำโดยมนุษย์ เช่น บรรณารักษ์ นักเอกสารสนเทศ ยังสามารถทำได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการดึงคำที่ปรากฏในทรัพยากรสารสนเทศซึ่งมีความถี่สูง ซึ่งไม่รวมคำที่ไม่สำคัญ เช่น คำบุพบท คำสันธาน คำวิเศษณ์ เป็นต้น เพื่อให้เหลือเพียงคำที่จะมาเป็นตัวแทนเนื้อหาของทรัพยากรสารสนเทศ หรือ คำสำคัญ <p>การค้นคืนสารสนเทศด้วยคำสำคัญเป็นวิธีการที่ง่าย และเป็นมิตรกับผู้ค้น เนื่องจากผู้ค้นจะค้นคำใดๆ ก็ได้ที่คิดและคาดว่าตรงกับเรื่องที่ต้องการ โดยไม่ต้องคำนึงถึงหลักการเหมือนกับการค้นคืนจากหัวเรื่อง ซึ่งเป็นคำที่นำมาจากคู่มือหัวเรื่องที่ใช้กันเป็นมาตรฐานในห้องสมุดต่างๆ ซึ่งจัดเป็นศัพท์ควบคุม แต่อาจมีข้อจำกัด คือ บางครั้งเรื่องที่ค้นคืนได้อาจไม่ตรงกับความต้องการของผู้คน เพราะคำต่างๆ อาจเป็นเพียงคำที่ปรากฏในชื่อเรื่อง หรือส่วนอื่นๆ ดังกล่าวข้างต้น โดยมิใช่เนื้อหาของเรื่องโดยตรง <p>ตัวอย่าง คำสำคัญ กับ หัวเรื่อง เช่น หมู (คำสำคัญ) สุกร (หัวเรื่อง) หรือ การจัดการความรู้ (คำสำคัญ) การบริหารองค์ความรู้ (หัวเรื่อง) <p>บรรณานุกรม <p>มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิชาศิลปศาสตร์. เอกสารการสอนชุดวิชา 13312 การวิเคราะห์สารสนเทศ. นนทบุรี : สาขาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Preface | คำนำ [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Broader term | คำที่กว้างกว่า [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
คำ | [kham] (n) EN: word ; vocable ; speech FR: mot [ m ] ; vocable [ m ] ; terme [ m ] ; parole [ f ] |
คำ | [kham] (n) EN: mouthful FR: bouchée [ f ] ; gorgée [ f ] |
คำ | [kham] (n) EN: [ classifier : words ; mouthfuls of food ] FR: [ classificateur : mots ; bouchées de nourriture ] |
คำ- | [kham-] (pref) EN: words ; remarks : statements) FR: actions orales ou écrites ; commentaires |
คำกริยา | [kham kriyā = kham kariyā] (n) EN: verb FR: verbe [ m ] |
คำกริยาวิเศษณ์ | [kham kriyā wisēt] (n) EN: adverb FR: adverbe |
คำกลอน | [khamkløn] (n) EN: poem ; verse ; poetry ; rhyme FR: poème [ m ] ; poésie [ f ] |
คำกล่าว | [khamklāo] (n) EN: saying ; hearsay ; speaking ; speech ; remarks ; words ; utterance FR: paroles [ fpl ] ; dires [ mpl ] ; mots [ mpl ] |
คำกล่าวขวัญ | [kham klāokhwan] (n) EN: mention ; acknowledgment ; citation ; recognition |
คำกล่าวนำ | [kham klāonam] (n) EN: introduction FR: introduction [ f ] |
CCD | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Charge Coupled Device เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ สำหรับแปลงสัญญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า มักใช้เป็นอุปกรณ์รับภาพสำหรับกล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายภาพนิ่งดิจิตอล และเครื่องอ่านภาพ (Scanner), See also: camera, CMOS sensor |
PDA | (n, abbrev) ย่อมาจากคำว่า Personal Digital Assistant หมายถึงอุปกรณ์ผู้ช่วยดิจิตอลส่วนตัว มักมีขนาดเล็กพกพาสะดวก สามารถใช้บันทึกข้อมูลนัดหมาย หมายเลขโทรศัพท์ รับส่งข้อมูล หรือใช้เล่นเกมส์เพื่อความบันเทิงต่างๆได้, See also: Palm, Visor, Handheld, PocketPC |
MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL |
quotation mark | (n) อัญประกาศ หรือเครื่องหมายคำพูด (เครื่องหมายรูป |
cell phone | (n) คำย่อของ cellular phone (โทรศัพท์มือถือ), See also: cellular phone, mobile phone |
lemmatize | (vi) ทำให้คำอยู่ในรูปปกติ หรือที่เรียกว่า Lemma เช่น คำว่า go คือ lemmatized form ของ going, went, gone |
koban | (n) ป้อมตำรวจ ตั้งอยู่ตามสถานที่ชุมชมเพื่อรับแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย หรือให้ความช่วยเหลือต่างๆ แก่ประชาชน (คำนี้มาจากคำภาษาญี่ปุ่น, ในประเทศญี่ปุ่นจะมีป้อมในลักษณะนี้ตามจุดต่างๆ ทั่้วเมือง) |
snail mail | (n, jargon) จดหมายที่ถูกส่งทางไปรษณีย์ปกติ (เพื่อไม่ให้สับสนกับ E-mail ถ้าใช้คำว่า mail เฉยๆ ในยุคนี้อาจไม่ชัดเจนว่าเป็นอันไหน) snail แปลตามตัวคือหอยทาก ซึ่งเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ เป็นการบ่งชี้กลายๆ ว่า ไม่เร็วเหมือน E-mail |
good bye | (phrase) คำอำลา, ลาก่อน |
FUD | (abbrev) ย่อมาจากสามคำ คือ Fear, Uncertainty, Doubt หมายถึง การที่ผู้ผลิตให้ข้อมูลข่าวสารที่ทำให้ลูกค้าเกิดความกลัว ความไม่แน่ใจ และความสับสน ในสินค้าของคู่แข่ง เช่น Microsoft มักออกข่าวหรือให้ข้อมูลทำนองนี้เกี่ยวกับ Linux |
abbreviation | (n) อักษรย่อ, See also: คำย่อ, ตัวย่อ, ชื่อย่อ, Syn. acronym, initialism |
acid | (n) คำพูดที่แหลมคม, See also: คำพูดที่เสียดสี, คำพูดที่ทำให้รู้สึกแสบร้อน |
action | (int) เริ่มถ่ายทำ (ภาพยนตร์), See also: คำพูดใช้ในเวลาเริ่มถ่ายทำภาพยนตร์แต่ละฉาก |
address | (n) คำปราศรัย, See also: สุนทรพจน์, กระแสพระราชดำรัส, Syn. oration, speech |
adj | (n) คำคุณศัพท์ (คำย่อของ adjective) |
adjective | (n) คำคุณศัพท์, See also: คำขยายนาม |
admission | (n) คำสารภาพ, See also: คำยอมรับ |
adv | (n) คำกริยาวิเศษณ์ (คำย่อของ adverb), See also: คำช่วยกริยา |
adverb | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำที่ทำหน้าที่ขยายกริยา คุณศัพท์ หรือคำกริยาวิเศษณ์ด้วยกันเอง |
adverbial | (n) คำวิเศษณ์, See also: คำกริยาวิเศษณ์, คำหรือกลุ่มคำที่ทำหน้าที่เป็นกริยาวิเศษณ์ |
* | เครื่องหมาย asterisk (ดอกจัน) เป็นอักขระตัวหนึ่ง มีอยู่บนแผงแป้นอักขระ เมื่อนำมาใช้ในคำสั่งระบบดอส สัญลักษณ์ * จะใช้แทนตัวอักษรใด ๆ ก็ได้ กี่ตัวก็ได้ (wildcards) ใช้เมื่อต้องการอ้างถึงชื่อแฟ้มข้อมูล เช่นถ้าใช้ A*.* หมายความถึง แฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีชื่อขึ้นต้นด้วยอักษร A และจะมีนามสกุลอะไรก็ได้ หรือถ้าใช้ *.COM ก็หมายความ ถึงแฟ้มข้อมูลทุกแฟ้มที่มีนามสกุล COM ถ้าใช้ *.* ก็จะหมายถึงทุกแฟ้มข้อมูลที่มีอยู่ในสารบบ หรือในจานบันทึก ดู wildcards ประกอบ |
? | เครื่องหมาย ellipsis หมายถึง จุดเล็ก ๆ สามจุด ซึ่งจะอยู่หลังรายการคำสั่งบางรายการภายใต้เมนูต่าง ๆ จุด 3 จุด นี้ แสดงว่า หากเลือกคำสั่งนี้ จะมีคำถามรายละเอียดเพิ่มเติมให้ตอบในแบบของกรอบสนทนา (dialog box) บางรายการคำสั่งที่ไม่มี 3 จุดนี้ คอมพิวเตอร์ก็จะปฎิบัติตามคำสั่งโดยไม่มีกรอบสนทนามาให้เติมเลย |
^ | <คำแปล> hat หมายถึง สัญลักษณ์ที่มีลักษณะคล้ายหมวก (^) ในภาษาไทยเราก็เรียกเครื่องหมายนี้ว่า "หมวก" ใช้แทน แป้นควบคุม (Control Key) เช่น กดแป้นควบคุมและแป้น K จะใช้ย่อ ๆ ว่า กด ^K ในภาษาเบสิกใช้หมายถึงการยกกำลัง เช่น 5^3 มีความหมายว่า 5 ยกกำลัง 3 ดู caret ประกอบ^ (สัญลักษณ์) <เครื่องหมาย>caretหมายถึง สัญลักษณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อกดแป้น Shift+6 (^) สัญลักษณ์นี้ใช้ในการเขียนโปรแกรมของบางภาษา โดยจะแทนคำสั่งเฉพาะบางคำสั่ง มีความหมายแตกต่างกันไป เช่น ^ ในภาษาปาสกาล (Pascal) ใช้แทนตัวชี้ (pointer) , ^ ใน ภาษาซี (C) ใช้แทนตัวดำเนินการ exclusive OR, ^ ใน ภาษาเบสิก (BASIC) ใช้แทนการยกกำลัง เป็นต้น |
_ | เครื่องหมาย underscore เป็นอักขระตัวหนึ่งบนแผงแป้นอักขระ มีลักษณะดังนี้ (-) ถ้าเป็นแป้นในพิมพ์ดีดจะใช้สำหรับขีดเส้นใต้ (underline) แทน แต่ในคอมพิวเตอร์ การขีดเส้นใต้มักนิยมใช้เป็นคำสั่ง (underline) แทน แต่บนแผงแป้นพิมพ์ก็ยังมีแป้นนี้อยู่ เมื่อกดแป้นนี้ คอมพิวเตอร์จะถือเสมือนเป็นตัวอักขระตัวหนึ่ง แต่ไม่สามารถใช้เป็นการขีดเส้นใต้ได้ต่อไปอีก เช่น อาจตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลว่า A-B ก็ได้ |
a- | ใช้นำหน้าคำนามให้เป็นกริยาวิเศษณ์, จาก, ออก, จาก, ไม่ |
a. a. u. p. | (คำย่ฮ) American Association of University Professors (สมาคมศาสตราจารย์แห่งอเมริกา) |
abbreviate | (อะบรี'วิเอท) vt. ย่อ, เขียนย่อ, คำย่อ, การย่อ -abbreviator n., -abbreviation n. ตัวอย่าง: *The word "inch" is abbreviated "in" คำว่า "inch" ถูกย่อเป็น "in"* (แบบ 1, 18) |
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
ablaut | (อาบ' เลาทฺ, อาบ' เลาทฺ) n. การเปลี่ยนส่วนของคำ (โดยเฉพาะสระ) |
abs- | (คำเสริมหน้า) = ab- |
abbreviation | (n) การย่อ, คำย่อ |
abjuration | (n) การยกเลิก, การล้มเลิก, การสละ, การถอนคำ |
abjure | (vt) ยกเลิก, ล้มเลิก, สละ, ถอนคำ |
acquiesce | (vi) ยินยอม, ยอมรับ, สงบปากสงบคำ, นิ่งเฉย |
acquiescence | (n) การยินยอม, การยอมรับ, การสงบปากสงบคำ, การนิ่งเฉย |
adage | (n) สุภาษิต, ภาษิต, คติพจน์, คำกล่าว |
address | (n) คำปราศรัย, สุนทรพจน์, การจ่าหน้าซอง, ที่อยู่ |
adjectival | (adj) เกี่ยวกับคำคุณศัพท์ |
adjective | (n) คำคุณศัพท์ |
adjuration | (n) การขอร้อง, การอ้อนวอน, การให้คำสัตย์, คำสั่ง |
'bout | (slang) คำย่อของ about ;เป็นภาษาไม่เป็นทางการมักใช้บนอินเทอร์เน็ต ( * w *m iiiita), Syn. about |
'scuse me | (slang) คำย่อของ excuse me; เป็นภาษาไม่เป็นทางการมักใช้ในการสนทนาบนอินเทอรืเน็ต ( * w *m iiiita) |
absolute receivership | (n) คำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ |
adjudication | (n) คำตัดสิน (จะใช้ในกรณีการตัดสินคดีล้มละลาย) |
answer | (n) คำให้การ (ของจำเลยเพื่อแก้คำฟ้องของโจทก์) |
award | (n) คำตัดสินชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ (ศัพท์กฎหมาย) |
betcha | (slang) คำย่อของ bet you ; พนันได้เลยว่าคุณ... ( * w *m iiiita) |
chiclet keyboard | (n, slang) คำสแลงของ "คีย์บอร์ดคอมพิวเตอร์" เนื่องจากปุ่มบนคีย์บอร์ดแต่ละปุ่มมีลักษณะคล้ายกับหมากฝรั่งยี่ห้อ Chiclet |
decree nisi | คำสั่งศาลที่ัยังไม่ถึงที่สุด |
demonym | คำที่ใช้เรียกผู้คนในประเทศหรือท้องถิ่นนั้นๆ |
判決 | [はんけつ, hanketsu] (n) คำพิพากษา |
助言 | [じょげん, jogen] (n) คำแนะนำ คำปรึกษา |
命令 | [めいれい, meirei] (n, vt) คำสั่ง, ออกคำสั่ง |
回答 | [かいとう, kaitou] (n) คำตอบ |
日銀 | [にちぎん, nichigin] (n) คำย่อของธนาคารกลางญี่ปุ่น, See also: 日本銀行 |
答 | [こたえ, kotae] (n) คำตอบ |
詫び | [わび, wabi] (n) คำขอโทษ, See also: 詫び言 |
願書 | [がんしょ, gansho] (n) คำร้อง |
接頭語 | [せっとうご, settougo] (n) คำนำหน้าหรือ Prefix, See also: S. 接頭辞 |
接頭辞 | [せっとうじ, settouji] (n) คำนำหน้า Prefix , See also: S. 接頭語 |
なんちゃって | [なんちゃって, nanchatte] (adj, phrase) คำว่า なんちゃって มีความหมายใกล้เคียงกับคำว่า กำมะลอ, จอมปลอม, ปลอม หรือ ไม่ใช้ของแท้ มักนำเอาไปขยายหน้าคำนามได้เป็นความหมาย อะไรอะไรจอมปลอม (พูดโดยใส่ความรุ้สึกอารมณ์ประชดประชัน) |
定義 | [ていぎ, teigi] (n) คำนิยาม, คำจำกัดความ |
口癖 | [くちぐせ, kuchiguse] คำพูดติดปาก |
指令 | [しれい, shirei] (n) คำสั่ง, See also: R. 命令 |
ぽっかり | [しれい, pokkari] (slang) คำแสดงความรู้สึก เช่น ใจหาย หรือ รู้สึกว่างโหวงในหัวใจ (hole in heart) |
チェルシー | [チェルシー, cherushi^] คำอ่าน |
のろい | [のろい (noroi)] (adv) คำสาป |
です | [です, desu] คำเชื่อมอย่างสุภาพ |
構いません | [かまいません, kamaimasen] TH: คำพูดที่ใช้บอกฝ่ายตรงข้ามให้สบายใจว่าผู้พูดไม่ถือสา แปลว่า ไม่เป็นไร EN: it doesn't matter |
問題 | [もんだい, mondai] TH: คำถาม ข้อสงสัย EN: question |
福音 | [ふくいん, fukuin] TH: คำสั่งสอนของพระผู้เป็นเจ้า EN: Word of God |
唸る | [うなる, unaru] TH: คำราม EN: to groan |
月 | [つき, tsuki] TH: คำเรียกเดือน เช่น เดือนมกราคม EN: month |
大人 | [おとな, otona] TH: คำที่ใช้เรียกคนประมาณตามอายุ EN: adult |
お前 | [おまえ, omae] TH: คำสรรพนามเรียกฝ่ายตรงข้าม ไม่สุภาพ EN: you (sing, fam) |
正解 | [せいかい, seikai] TH: คำเฉลยที่ถูกต้อง EN: correct |
組 | [くみ, kumi] TH: คำเรียกระดับชั้นเรียน EN: class |
外来語 | [がいらいご, gairaigo] TH: คำที่มีที่มาจากภาษาอื่นแล้วนำมาใช้ในภาษาตน EN: borrowed word |
überhaupt | เป็นคำเสริมใช้เน้นว่า โดยทั่วไปไม่ใช่เฉพาะกรณีนี้ เช่น Sie ist überhaupt sehr freundlich. โดยทั่วไปเธอเป็นคนที่มีมนุษยสัมพันธ์ดีมาก |
AG | คำย่อของ Aktiengesellschaft หมายถึง บริษัทมหาชนจำกัด, Syn. Aktiengesellschaft |
Angaben | (n) |pl.| คำกล่าว |
DDR | (n) |die| คำย่อของเยอรมนีตะวันออกในอดีต Deutsche Demokratische Republik |
DM | คำย่อของ Deutsche Mark สกุลเงินเยอรมันในอดีต ก่อนจะเปลี่ยนเป็นยูโร Euro, See also: Mark |
EU | (n) |die| คำย่อของ Europäische Union สหภาพยุโรป |
Frage | (n) |die, pl. Fragen| คำถาม |
GmbH | คำย่อของ Gesellschaft mit beschränkter Haftung บริษัท จำกัด, See also: Gesellschaft mit beschränkter Haftung |
Herr | (n) |der, pl. Herren| นาย, คำนำหน้าผู้ชาย |
Ißt du nicht? Doch, doch. | ไม่กินเหรอ? กิน กิน! สังเกตการใช้คำว่า Doch ซึ่งใช้ตอบประโยคคำถามที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ โดย Doch บ่งชี้คำตอบรับที่มีความหมายตรงกันข้าม |
au revoir! | (phrase) แล้วพบกันใหม่ (เวลาจากกันควรพูดคำลา ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ฝรั่งเศส) |
Salut! | เป็นคำทักทายสำหรับคนที่รู้จักกันดีแล้ว หรือในหมู่เพื่อน คล้าย หวัดดี (สวัสดี)ในภาษาไทย |
appellation | (n) |f| การตั้งชื่อ, การให้คำเรียก |
permis de conduire | (n) |m| ใบอนุญาตขับขี่รถ (สังเกตว่าเพศของคำประสมนี้จะตามนามตัวหน้า) |
parole | (n) |f| คำ(ภาษา), คำพูด เช่น la parole de Dieu คำจากพระเจ้า |
monsieur | (n) |m, pl. messieurs| คุณผู้ชาย (เป็นคำสุภาพ ใช้มากตามสถานที่ราชการและร้านค้า), See also: garçon, homme, Ant. madame, mademoiselle, Related: garçon, homme |
mademoiselle | (n) |f, pl. mesmoiselles| หญิงสาว (ค่อนข้างอายุน้อย, เป็นคำสุภาพ ใช้มากตามสถานที่ราชการและร้านค้า), Syn. fille, madame, femme, Ant. homme, monsieur |
madame | (n) |f, pl. mesdames| คุณผู้หญิง (เป็นคำสุภาพ ใช้มากตามสถานที่ราชการและร้านค้า), Ant. monsieur |
madame | เป็นคำนำหน้าชื่อของผู้หญิงที่สุภาพ ไม่จำเป็นต้องแต่งงานแล้ว คล้ายกับ นางและนางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Madame Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mme. Chantel, See also: mademoiselle, Ant. monsieur, Related: mademoiselle |
mademoiselle | เป็นคำนำหน้าชื่อที่สุภาพของหญิงสาวรุ่นที่มีอายุน้อย คล้ายกับ นางสาว ที่ฝรั่งเศสใช้ทั้งในภาษาเขียนและพูด โดยเฉพาะตามร้านค้าและสถานที่ราชการ และส่วนใหญ่ตามด้วยนามสกุล เช่น Mademoiselle Chantel ในภาษาเขียน ย่อเป็น Mlle. Chantel (สังเกตว่า เมื่อใดก็ตาม mademoiselle ที่นำหน้าชื่อคน จะต้องเขียนขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่), See also: madame, Ant. monsieur, Related: madame |