ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าหรือดีเด่นกว่าผู้อื่น ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึก แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไขหรือได้รับการสนับสนุน เช่นในการอบรมเลี้ยงดูเด็ก ก็อาจเก็บสะสมไว้เกิดเป็นนิสัยของบุคคลนั้นได้ |
ความรู้สึกเขื่อง, ความรู้สึกเด่น | ความเชื่อหรือความมั่นใจว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น. |
ความรู้สึกช้า | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้ช้า เช่น เขาเป็นคนมีความรู้สึกช้า ต้องใช้เวลานานกว่าจะเข้าใจ. |
ความรู้สึกด้อย | น. ความรู้สึกว่าตนเองมีความสามารถไม่เท่าเทียมบุคคลทั่วไป ความรู้สึกนี้ไม่จำเป็นจะต้องอยู่ในจิตใต้สำนึกและผู้นั้นไม่จำเป็นต้องมีปมด้อย อาจเกิดขึ้นในสิ่งแวดล้อมหรือในบางขณะเท่านั้น แต่ถ้าเกิดขึ้นเสมอ ๆ และมิได้แก้ไข ก็อาจเก็บกดไว้จนเกิดเป็นปมด้อยได้ |
ความรู้สึกด้อย | ความไม่เชื่อมั่นว่าตนเองมีฐานะหรือความสามารถเท่าเทียมผู้อื่น. |
ความรู้สึกไว | น. ลักษณะอาการที่รับอารมณ์ต่าง ๆ ได้รวดเร็ว เช่น ผู้ที่ศึกษาวรรณคดีควรจะมีความรู้สึกไวจึงจะรับรสวรรณคดีได้. |
กรรมเวร | คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมในอดีต เช่น อายุตั้ง ๗๐ ปีแล้วยังต้องมาหาบขนมขายอีก กรรมเวรแท้ ๆ, เวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า. |
กระดิ่งทอง | น. ชื่อแมลงพวกด้วงชนิด Martianus dermestoides Chevrolat ในวงศ์ Tenebrionidae ลำตัวยาว ๖-๗ มิลลิเมตร กว้าง ๒-๓ มิลลิเมตร สีน้ำตาลเกือบดำตลอดทั้งลำตัว ขา และปีก กินของแห้งทั้งพืชและสัตว์โดยเฉพาะเมล็ดบัว นิยมนำมาเลี้ยงด้วยเมล็ดบัวแห้ง หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้ โดยเชื่อว่าเมื่อนำมารับประทานจะช่วยกระตุ้นความรู้สึกทางเพศ, ม่าเหมี่ยว ก็เรียก. |
กระเทือนซาง | ก. เป็นทุกข์กังวลเพราะมีสิ่งใดสิ่งหนึ่งมากระทบความรู้สึกอย่างรุนแรง เช่น ว่าเท่าไร ๆ ก็ไม่กระเทือนซาง ถูกตำหนิอย่างแรงทำให้รู้สึกกระเทือนซาง. |
กลัดมัน | ว. มีความรู้สึกในทางกามารมณ์อย่างรุนแรง. |
กลั้น | (กฺลั้น) ก. บังคับความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่ภายในร่างกายไม่ให้แสดงออกหรือหลุดออกมา เช่น กลั้นโทสะ กลั้นปัสสาวะ. |
ขอบคุณ, ขอบพระคุณ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกบุญคุณ (เป็นคำที่ใช้แก่บุคคลที่เสมอกัน หรือผู้น้อยใช้แก่ผู้ใหญ่). |
ขอบใจ | คำกล่าวแสดงความรู้สึกพอใจในความดีที่ผู้อื่นได้มีต่อตน (เป็นคำที่ผู้ใหญ่ใช้แก่ผู้น้อย). |
ขี้ขึ้นขมอง, ขี้ขึ้นสมอง | น. ความรู้สึกตกใจกลัวจนไม่คิดหน้าคิดหลัง เช่น พอได้ยินเสียงตวาดก็ขี้ขึ้นสมองแล้ว, มักใช้ประกอบคำ กลัว ว่า กลัวจนขี้ขึ้นขมอง หรือ กลัวจนขี้ขึ้นสมอง. |
เข้า ๑ | ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายเร่งรัด เช่น เร็วเข้า คิดเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายมากขึ้น เช่น หนักเข้า ดึกเข้า นานเข้า, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงสภาพหรือความรู้สึกที่เกิดมีขึ้น เช่น พอสวยเข้าก็มีหนุ่ม ๆ มารุมจีบ พอเหนื่อยเข้าก็อยากจะเลิกทำ, ใช้ประกอบคำอื่นแสดงความหมายว่าหนุนให้ทำ (มักใช้ในความประชดประชัน) เช่น เอาเข้าไป ว่าแล้วยังไม่ยอมหยุด. |
เข้าตรีทูต | ว. มีอาการหมดความรู้สึกเมื่อใกล้จะตาย, อาการหนักปางตาย. |
คร้าน | (คฺร้าน) ว. มีความรู้สึกไม่อยากจะทำหรือคิดหรือไม่อยากแสดงอาการใด ๆ, ตามปรกติเมื่อใช้พูดมักมีคำ ขี้ ประกอบหน้า เช่น ขี้คร้าน และมักใช้เข้าคู่กับคำ เกียจ เป็น เกียจคร้าน ขี้เกียจขี้คร้าน หมายความว่า ไม่อยากทำงาน. |
ความเครียด | ลักษณะอาการที่สมองไม่ได้ผ่อนคลายเพราะคร่ำเคร่งอยู่กับงานจนเกินไป, ลักษณะอาการที่จิตใจมีอารมณ์บางอย่างมากดดันความรู้สึกอย่างรุนแรง. |
เงี่ยน | ก. อยากจัด, กระหายจัด, มีความรู้สึกอยากหรือกระหายเป็นกำลัง, (โดยมากใช้เฉพาะของเสพติดและกามคุณ). |
จิตแพทย์ | (จิดตะ-) น. แพทย์ผู้รักษาโรคทางจิตใจ ซึ่งมีอาการแสดงความรู้สึก ความคิด อารมณ์ หรือพฤติกรรมที่ผิดปรกติ. |
จิตไร้สำนึก | น. ความคิด ความรู้สึก และแรงผลักดัน ซึ่งถูกกดเก็บไว้ภายในจิตใจโดยไม่รู้ตัว แม้จะพยายามนึกอย่างไรก็นึกไม่ออก. |
จินตนิยม | น. ขบวนการในประวัติศาสตร์ของปรัชญาและศิลปะที่เน้นการเป็นตัวของตัวเอง เป็นอิสระจากกฎเกณฑ์และระเบียบการที่ยึดถือกันมา นักปรัชญาและศิลปินของขบวนการนี้ถือว่าอารมณ์ ความรู้สึกสำคัญกว่าเหตุผล |
จุดรวม | น. จุดกลางซึ่งเป็นที่รวมของคน สิ่งของ หรือความรู้สึกนึกคิดเป็นต้น, จุดศูนย์กลาง ก็ว่า. |
เจตคติ | (เจตะ-) น. ท่าทีหรือความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง. |
ใจ | น. สิ่งที่ทำหน้าที่รู้ รู้สึก นึก และคิด เช่น ใจก็คิดว่าอย่างนั้น, หัวใจ เช่น ใจเต้น, ลมหายใจ เช่น กลั้นใจ อึดใจ หายใจ, ความรู้สึกนึกคิด เช่น ใจคด ใจซื่อ |
ใจเดียวกัน | ว. มีความรู้สึกนึกคิดตรงกัน. |
ชา ๒ | ว. อาการที่รู้สึกได้น้อยกว่าปรกติ เนื่องจากเส้นประสาทรับความรู้สึกถูกกด ถูกตัดขาด หรือถูกสารพิษ เช่น มือชา เท้าชา |
ชาติ ๒, ชาติ- ๒ | กลุ่มชนที่มีความรู้สึกในเรื่องเชื้อชาติ ศาสนา ภาษา ประวัติศาสตร์ ความเป็นมา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน หรืออยู่ในปกครองรัฐบาลเดียวกัน. |
ซึมเศร้า | อาการที่มีอารมณ์เศร้า หดหู่ ว้าเหว่ ซึม มีความรู้สึกท้อถอย สิ้นหวัง เป็นต้น. |
ตกประหม่า | ก. เกิดความรู้สึกสะทกสะท้านพรั่นใจ. |
ตงิด, ตงิด ๆ | (ตะหฺงิด) ว. เล็กน้อย, ทีละน้อย ๆ, (ใช้แก่ความรู้สึก) เช่น โกรธตงิด ๆ หิวตงิด ๆ. |
ตราบาป | น. บาปติดตัว, ความรู้สึกว่าเป็นบาปซึ่งมีฝังอยู่ในจิตใจตลอดไป. |
ตัวเป็นเกลียว | แสดงกิริยาท่าทางด้วยความรู้สึกรุนแรง เช่น เมื่อนั้น โฉมนางตะเภาทองผ่องใส ทั้งนางตะเภาแก้วแววไว ครั้นได้ข่าวผัวตัวเป็นเกลียว จึงว่าดูเอาหรือเจ้าไกร ว่าจะไปหาครูสักประเดี๋ยว มิรู้ช่างโป้ปดลดเลี้ยว ไปเที่ยวเกี้ยวชู้แล้วพามา (ไกรทอง). |
ตายด้าน | ก. หมดความรู้สึกทางสัมผัส, ไม่มีความรู้สึกเหมือนอย่างที่เคยมี |
ตีหน้าตาย | ก. ทำหน้าเฉยเหมือนไม่มีความรู้สึกหรือไม่รู้เรื่อง. |
ถือเขาถือเรา | ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเราถือเขา ก็ว่า. |
ถือผิว | ก. รังเกียจผู้ที่มีสีผิวต่างกับตน (มักใช้แก่พวกผิวขาวที่มีความรู้สึกรังเกียจพวกที่มีผิวสีอื่น). |
ถือเราถือเขา | ก. มีความรู้สึกว่าเป็นคนละพวก, แบ่งพรรคแบ่งพวก, ถือเขาถือเรา ก็ว่า. |
ทำตา | ก. แสดงความรู้สึกด้วยสายตา เช่น ทำตาเล็กตาน้อย ทำตาขุ่นตาเขียว. |
ทุกขเวทนา | (ทุกขะเวทะนา) น. ความรู้สึกไม่สบายกายไม่สบายใจ, ความรู้สึกเจ็บปวดทรมาน. |
ทุกขารมณ์ | น. ความรู้สึกเจ็บปวด, ความรู้สึกไม่สบายกายไม่สบายใจ. |
น้อย ๑ | โดยปริยายหมายถึงลักษณะที่ด้อยความสำคัญหรือเป็นรอง เช่น ครูน้อย ผู้น้อย, แสดงความรู้สึกว่าน่ารักน่าเอ็นดู เช่น เณรน้อย เด็กน้อย น้องน้อย สาวน้อย หนูน้อย. |
น้ำใจ | น. ใจแท้ ๆ, ใจจริง, ความรู้สึกนึกคิดจริง ๆ, เช่น อยู่ด้วยกันไม่นานก็เห็นนํ้าใจว่าเขาเป็นคนอย่างไร, ความจริงใจ เช่น เราเห็นว่าเขามีน้ำใจกับเรา ไม่เคยหลอกลวงเราเลย, นิสัยใจคอ เช่น นํ้าใจชาย นํ้าใจหญิง, ความเอื้ออาทร เช่น เขาเป็นคนมีนํ้าใจ เธอช่างแล้งนํ้าใจ. |
บรรยากาศ | น. อากาศที่หุ้มห่อโลกหรือเทห์ฟากฟ้าใด ๆ, โดยปริยายหมายความถึงความรู้สึกหรือสิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัว เช่น บรรยากาศในที่ประชุม บรรยากาศรอบ ๆ บ้าน. |
ปมจิต | น. อารมณ์และความรู้สึกของบุคคลที่เก็บกดสะสมไว้ในจิตใต้สำนึกมาตั้งแต่ในวัยเด็ก ปมจิตนี้จะทำให้บุคคลผู้นั้นแสดงออกในด้านความคิด ความรู้สึก และการกระทำในลักษณะที่ซํ้ากันจนเกิดเป็นอุปนิสัยประจำตัว. |
ปมด้อย | น. ลักษณะความคิด ความรู้สึก อารมณ์ หรือการกระทำของบุคคล ที่แสดงออกถึงความตํ่าต้อยกว่าผู้อื่น. |
ประสาท ๑, ประสาท- ๑ | (ปฺระสาทะ-) น. ส่วนของร่างกาย มีลักษณะคล้ายเส้นใย มีหน้าที่นำคำสั่งและความรู้สึกไปสู่หรือออกจากสมองหรืออวัยวะส่วนอื่นของร่างกาย, โดยปริยายหมายความว่า จิตใจ, ความรู้สึก. |
ปลาบปลื้ม | (-ปฺลื้ม) ก. มีความรู้สึกยินดีแล่นวาบเข้าในใจ. |
พฤติกรรม | น. การกระทำหรืออาการที่แสดงออกทางกล้ามเนื้อ ความคิด และความรู้สึก เพื่อตอบสนองสิ่งเร้า. |
พิชาน | น. ความรู้สึกตัว, การรับรู้อารมณ์หรือสิ่งเร้า. |
panaesthesia; panesthesia | ความรู้สึกทุกอย่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paresthesia; paraesthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phantom | ๑. ความรู้สึกหลอน, อวัยวะหลอน๒. หุ่นส่วนร่างกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parapsia; dysaphia; paraphia; parapsis; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parapsis; dysaphia; paraphia; parapsia; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panesthesia; panaesthesia | ความรู้สึกทุกอย่าง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pselaphesia; pselaphesis | ความรู้สึกสัมผัส [ มีความหมายเหมือนกับ taction ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pselaphesis; pselaphesia | ความรู้สึกสัมผัส [ มีความหมายเหมือนกับ taction ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudoaesthesia; pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pulsation; throb; throbbing | ๑. การเต้นเป็นจังหวะ๒. ความรู้สึกเต้นเป็นจังหวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paraphia; dysaphia; parapsia; parapsis; pseudapsia | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postanaesthetic; postanesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
postanesthetic; postanaesthetic | -หลังหมดฤทธิ์ยาระงับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoaesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudapsia; dysaphia; paraphia; parapsia; parapsis | ความรู้สึกสัมผัสผิดธรรมดา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudesthesia; pseudaesthesia; pseudoaesthesia; pseudoesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pseudoesthesia; pseudaesthesia; pseudesthesia; pseudoaesthesia | ความรู้สึกสัมผัสหลอน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paralysis, sensory | อัมพาตส่วนความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pain sense; agaesthesia; agesthesia; nociception | ความรู้สึกเจ็บปวด [ มีความหมายเหมือนกับ algesia ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paraesthesia; paresthesia | ความรู้สึกสัมผัสเพี้ยน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perception; aesthesia; esthesia | ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ sense ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
local anaesthetic | ยาชา, ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rhigosis | ๑. ความรู้สึกเย็น๒. สัมผัสเย็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
receptive aphasia; aphasia, impressive; aphasia, sensory; aphasia, temporoparietal; aphasia, Wernicke's | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์รับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
receptor | ๑. หน่วยรับความรู้สึก๒. ตัวรับ, ที่รับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
receptor | หน่วยรับความรู้สึก [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensation, cincture; sensation, girdle; strangalaesthesia; strangalesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensation, girdle; sensation, cincture; strangalaesthesia; strangalesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense | ๑. ความรู้สึก, การรับรู้, การกำหนดรู้ [ มีความหมายเหมือนกับ aesthesia; esthesia; perception ]๒. สัมผัส๓. นัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sixth sense; sense, body; somatognosis | ความรู้สึกทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensiferous | -นำความรู้สึก, -นำสัมผัส [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensigenous | ๑. -ก่อความรู้สึก๒. -ก่อพลังประสาทรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensimeter | มาตรความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, sixth; sense, body; somatognosis | ความรู้สึกทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somataesthesia; somaesthesia; somatesthesia; somesthesia | ความรู้สึกมีกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somatesthesia; somaesthesia; somataesthesia; somesthesia | ความรู้สึกมีกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somatognosis; sense, body; sense, sixth | ความรู้สึกทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
somesthesia; somaesthesia; somataesthesia; somatesthesia | ความรู้สึกมีกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
subjective | -ความรู้สึกแห่งตน, เชิงจิตวิสัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
strangalaesthesia; sensation, cincture; sensation, girdle; strangalesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
strangalesthesia; sensation, cincture; sensation, girdle; strangalaesthesia; zonaesthesia; zonesthesia | ความรู้สึกถูกรัด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensibility | ๑. ความรู้สึกได้, การรับรู้ได้, การกำหนดรู้ได้๒. สภาพสัมผัสได้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, body; sense, sixth; somatognosis | ความรู้สึกทางกาย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sense, pain; agaesthesia; agesthesia; nociception | ความรู้สึกเจ็บปวด [ มีความหมายเหมือนกับ algesia ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnaesthesia; splanchnesthesia | ความรู้สึกของอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
splanchnesthesia; splanchnaesthesia | ความรู้สึกของอวัยวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
subconsciousness | ความรู้สึกใต้สำนึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensorium | ๑. ระดับความรู้สึกตัว๒. ศูนย์รับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensory | -รับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sensory aphasia; aphasia, impressive; aphasia, receptive; aphasia, temporoparietal; aphasia, Wernicke's | ภาวะเสียการสื่อความเหตุศูนย์รับความรู้สึก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Spinal anesthesia | การระงับความรู้สึกทางไขสันหลัง [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
มรณภาพ | ความรู้สึกกลัวต่อความตาย ภัยที่อันตรายถึงตาย, Example: คำที่มักเขียนผิด มรณะภาพ [คำที่มักเขียนผิด] |
Anesthesia | การระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Dental | การระงับความรู้สึกทางทันตกรรม [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Intravenous | การระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดำ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Local | การระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Obstetrical | การระงับความรู้สึกทางสูติศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Anesthesia, Spinal | การระงับความรู้สึกที่กระดูกสันหลัง [TU Subject Heading] |
Anesthetics | ยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthetics industry | อุตสาหกรรมยาระงับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Anesthetics, Local | ยาระงับความรู้สึกเฉพาะที่ [TU Subject Heading] |
Emotions | ความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Helplessness (Psychology) | ความรู้สึกหมดหนทางช่วยเหลือ (จิตวิทยา) [TU Subject Heading] |
Neuromuscular blockade | การระงับความรู้สึกที่จุดเชื่อมต่อระหว่างเส้นประสาทและกล้ามเนื้อ [TU Subject Heading] |
Senses and sensation | ประสาทสัมผัสและการรับความรู้สึก [TU Subject Heading] |
Voyeurism in motion pictures | ความรู้สึกกำหนัดจากการแอบมองในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Cultural Diplomacy | การทูตวัฒนธรรม หมายถึง กิจกรรมด้านวัฒนธรรมในกรอบกว้าง ทั้งภาษา ความคิด อุดมการณ์ ทัศนคติ ประเพณี วิทยาการความรู้ การกีฬาและวิถีชีวิต (ไม่เพียงแต่การส่งคณะนาฏศิลป์ไปแสดงในต่างประเทศเท่านั้น) ทั้งนี้ เพื่อ ใช้สิ่งเหล่านี้เป็นเครื่องมือสร้างความรู้สึกที่ดีต่อกัน โดยใช้แนวทางปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในลักษณะซึมลึกเพื่อให้เข้าถึงประชาชน [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Hugo Grotius (1583-1645) | บรมครูทางกฎหมายของเนเธอร์แลนด์ เป็นบุคคลแรกที่ได้ประกาศเสรีภาพของทะเล (Freedom of the Seas) ในตำราของท่านชื่อ Mare Liberumนักกฎหมาย รัฐบุรุษ และปรัชญาเมธีด้านมนุษยธรรมของเนเธอร์แลนด์ผู้นี้ ภายหลังเกิดมาได้ไม่กี่ปีก็ส่อให้เห็นว่าเป็นเด็กที่เฉลียวฉลาดอย่างน่า มหัศจรรย์ เขาเริ่มศึกษาวิชากฎหมายตั้งแต่มีอายุได้ 11 ขวบ ณ สถาบันศึกษาชั้นสูงแห่งเลย์เด็นในเนเธอร์แลนด์ และได้รับปริญญาเอกทางกฎหมายจากมหาวิทยาลัย ณ เมืองออร์ลีนส์ ในประเทศฝรั่งเศสเมื่อมีอายุได้เพียง 15 ปี โดยที่เป็นผู้ฝักใฝ่ในการเมือง เขาได้ถูกลงโทษจำคุกตลอดชีวิตเมื่อปี ค.ศ. 1618 ด้วยข้อหาทางการเมือง แต่ต่อมาใน ค.ศ. 1621 ได้หลบหนีไปยังประเทศฝรั่งเศสเมื่อปี ค.ศ 1625 เขาได้แต่งตำรากฎหมายซึ่งถือกันว่าเป็นตำราอมตะชื่อว่า Jure Belli ac Pacis (แปลว่า เกี่ยวกับกฎหมายว่าด้วยสงครามและสันติภาพ) เป็นงานเขียนที่เหมาะกับสมัย และเขียนอย่างนักวิชาการอันเยี่ยมยอดที่สุดไม่มีใครเหมือนในสมัยนั้น และด้วยความรู้สึกที่รักความยุติธรรมอย่างแรงกล้าด้วยเหตุนี้ ทั่วโลกจึงขนานนาม Hugo Grotius ว่าเป็นบิดาแห่งกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายนานาชาติ (Father of the Law of Nations) [การทูต] |
Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
Personal Diplomacy | คือการเจรจากันโดยตรงระหว่างรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงต่างประเทศด้วยกัน ส่วนการเจรจากันโดยตรงระหว่างประมุขของรัฐ หรือหัวหน้าของรัฐบาล แต่เดิมก็จัดอยู่ในประเภทการมทูตส่วนบุคคล แต่มาในปัจจุบันนี้ มักนิยมเรียกกันว่าเป็นทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) แยกออกต่างหากจากการทูตส่วนบุคคลมีผู้สังเกตการณ์หลายคนเตือนว่า ในกรณีที่เกิดเรื่องหรือปัญหาที่ยังคาราคาซังอยู่นั้น ไม่ควรหันเข้าใช้วิธีส่งผู้แทนพิเศษจากนครหลวงไปแก้ปัญหา ควรให้เอกอัครราชทูตเป็นผู้ดำเนินการมากกว่า เพราะประการแรก การกระทำเช่นนั้นยังผลเสียหายต่อศักดิ์ศรีของตัวเอกอัครราชทูตเอง ทั้งยังกระทบกระเทือนต่อการที่เขาจะปฏิบัติงานให้ประสบผลอย่างเต็มที่ ระหว่างที่ดำรงตำแหน่งอยู่ในประเทศนั้นในภายหน้าด้วย อีกประการหนึ่ง จะพึงคาดหมายได้อย่างไรว่า ตัวผู้แทนพิเศษที่ส่งไปนั้นจะมีความรอบรู้เกี่ยวกับภูมิหลังของปัญหา รวมทั้งตัวบุคคลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องเท่ากับตัวเอกอัครราชทูตเอง ซึ่งได้ประจำทำงานอยู่ระยะเวลาหนึ่งแล้ว ณ ที่นั่น แม้แต่ แฮโรลด์ นิโคลสัน ก็ไม่เห็นด้วย และได้เตือนว่า การที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของประเทศหนึ่งไปเยือนและพบปะกับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศของอีกประเทศหนึ่งบ่อย ๆ นั้น เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำและไม่ควรสนับสนุน เพราะการกระทำเช่นนี้ นอกจากจะทำให้ประชาชนคาดหมายไปต่าง ๆ นานาแล้ว ยังจะทำให้เกิดเข้าใจผิด และเกิดความสับสนขึ้นมาได้แม้แต่ผู้รอบรู้ในเรื่องธรรมเนียมปฏิบัติทางการ ทูตบางคนก็ยังแคลงใจว่า การทูตแบบสุดยอด (Summit Diplomacy) จะได้ประโยชน์และให้ผลจริง ๆ หรือไม่ นอกจากเฉพาะในกรณียกเว้นจริง ๆ เท่านั้น บ้างเห็นว่า การพบปะเจรจาแบบสุดยอดมักจะกลายสภาพเป็นการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์มากกว่า ที่จะเป็นการเจรจากันอย่างแท้จริง เพราะมีอันตรายอยู่ว่า ผู้ร่วมเจรจามักจะแสดงความคิดเห็นตามความรู้สึกมากกว่าตามข้อเท็จจริง เพราะมัวแต่เป็นห่วงและคำนึงถึงประชามติในประเทศของตนมากเกินไปนอกจากนี้ ผู้เจรจาไม่อยู่ในฐานะที่จะให้ข้อลดหย่อนหรือทำการประนีประนอม ( ซึ่งเป็นสิ่งที่จำเป็นยิ่งหากจะให้เจรจาบังเกิดผล) เพราะกลัวเสียหน้าหากกระทำเช่นนั้น ตามปกติ ถ้าให้นักการทูตเป็นผู้เจรจา เขาจะมีโอกาสมากกว่าที่จะใช้วิธีหลบหลีกอันชาญฉลาดในการเจรจาต่อรอง เพื่อให้เป็นผลตามที่มุ่งประสงค์ [การทูต] |
Placement | หมายถึง วิธีจัดที่นั่งโต๊ะในการเลี้ยงอาหารสำหรับนักการทูต โดยคำนึงถึงลำดับอาวุโส เพื่อป้องกันมิให้เกิดความรู้สึกขุ่นเคืองหรือหัวเสีย เรื่องการจัดที่นั่งในการเลี้ยงอาหารโดยคำนึงถึงลำดับอาวุโสนี้ นักการทูตส่วนใหญ่ไม่ว่าที่ไหน มักจะถือว่ามีความสำคัญไม่น้อย เพราะถือเป็นเรื่องของศักดิ์ศรีในฐานะที่เป็นตัวแทนของประเทศ ฝ่ายที่รับผิดชอบโดยตรงต่อการจัดที่นั่งเช่นนี้ได้แก่ กรมพิธีการทูตของกระทรวงการต่างประเทศ ส่วนลำดับของอาวุโสก็ถือตามวันเวลาที่นักการทูตแต่ละคนได้เข้าประจำตำแหน่ง ที่ในประเทศผู้รับ กล่าวคือ ผู้ที่เข้าประจำตำแหน่งก่อนก็คือผู้ทีมีอาวุโสกว่าผู้ที่มาประจำตำแหน่ง หน้าที่ทีหลัง [การทูต] |
Acupuncture Anesthesia | วิชาแทงเข็มระงับความรู้สึก [การแพทย์] |
Adjectival Scale | ความรู้สึกเจ็บปวดของผู้ป่วย [การแพทย์] |
Adrenergic Alpha Receptor Blockaders | สารสกัดกั้นตัวรับแอลฟาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกแอลฟาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์] |
Adrenergic Beta Receptor Blockaders | สารสกัดกั้นตัวรับบีตาแอดรีเนอร์จิก, สารสกัดกั้นหน่วยรับความรู้สึกบีตาอะดรีเนอร์จิก [การแพทย์] |
Affection | อารมณ์รักและพึงใจ, ความรัก, ทัศนคติด้านความรู้สึก [การแพทย์] |
Affective | ท่าทีความรู้สึกนึกคิดและเจตคติ, เจตคติ, ด้านความรู้สึก [การแพทย์] |
Affective Components | ส่วนประกอบทางอารมณ์, องค์ประกอบทางด้านท่าทีความรู้สึก [การแพทย์] |
Afferent Fiber Branch | เส้นประสาทนำความรู้สึกรับรส [การแพทย์] |
Afferent Fibers | เส้นใยประสาทรับความรู้สึก, ใยประสาทที่รับความรู้สึก, แอ็ฟเฟอเรนท์ไฟเบอร์ [การแพทย์] |
Afferent Nerve | เส้นประสาทรับความรู้สึก [การแพทย์] |
Afferent Nerve Fibers | เส้นประสาทนำความรู้สึก, ใยประสาทนำเข้า [การแพทย์] |
Afferent Nerve from Bladder | เส้นประสาทที่รับความรู้สึกจากกระเพาะปัสสาวะ [การแพทย์] |
Afferent Nerves | ประสาทรับความรู้สึกจากสิ่งที่มากระตุ้น [การแพทย์] |
Afterpain | ความรู้สึกปวดมดลูก [การแพทย์] |
Ambivalence | ความคิดสองจิตสองใจ, ความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย, อารมณ์รวนเร [การแพทย์] |
Ambivalent | ความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย [การแพทย์] |
Ambivalent Feelings | ความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย [การแพทย์] |
Analgesia | การขาดความรู้สึกเจ็บ, การระงับความปวด, ความรู้สึกหายไป, ระงับปวด, ความไม่รู้สึกเจ็บปวด, ฤทธิ์แก้ปวด [การแพทย์] |
Analgesic Drugs | ยาระงับปวด, ยาระงับความรู้สึก [การแพทย์] |
Anesthesia | การระงับความรู้สึก, ระงับความรู้สึก, การไม่รู้สึก, การไม่รู้สึกปวด, การสูญเสียความรู้สึก, การใช้ยาระงับความรู้สึก, ชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, ไม่มีความรู้สึก, อาการชา [การแพทย์] |
Anesthesia, Conduction | ระงับความรู้สึกเฉพาะบริเวณ, การระงับความรู้สึกเฉพาะบริเวณ [การแพทย์] |
Anesthesia, Dental | การระงับความรู้สึกทันตกรรม, ระงับความรู้สึกทางทันตกรรม [การแพทย์] |
Anesthesia, Epidural | ระงับความรู้สึกทางไขสันหลังชั้นนอก [การแพทย์] |
Anesthesia, General | ยาสลบ, การดมยาสลบ, ยาสลบชนิดออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย, การเจ็บปวดทั้งในเวลาหลับ, วิธีดมยา, ระงับความรู้สึกทั่วไป, การให้ยาดมสลบ, การระงับความรู้สึกทั่วไป [การแพทย์] |
Anesthesia, Glove and Stocking | การเสียความรู้สึกเริ่มบริเวณปลายเท้าปลายมือค่อย [การแพทย์] |
Anesthesia, Inhalation | การระงับความรู้สึกโดยวิธีสูด, ระงับความรู้สึกด้วยวิธีสูด [การแพทย์] |
Anesthesia, Intratracheal | การระงับความรู้สึกทางหลอดลมคอ, ระงับความรู้สึกทางหลอดลม [การแพทย์] |
Anesthesia, Intravenous | ระงับความรู้สึกเข้าหลอดเลือดดำ, การระงับความรู้สึกทางหลอดเลือดดำ [การแพทย์] |
abet | (vt) ให้กำลังใจ, See also: กระตุ้นความรู้สึกให้ดีขึ้น, Syn. incite, sanction |
ache | (n) ความปวดร้าว, See also: ความเจ็บปวด, ความรู้สึกเจ็บปวด, Syn. dull pain, throbbing, twinge |
aesthesia | (n) ความรู้สึกต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง, See also: ความรับรู้ |
affect | (vt) ทำให้กระทบจิตใจ, See also: ทำให้กระทบความรู้สึก, กินใจ |
affinity | (n) ความรู้สึกชอบพอ, Syn. fondness, liking, sympathy |
ah | (int) ฮ้า (คำอุทานแสดงความรู้สึกยินดี, พอใจ, เสียใจหรือไม่เห็นด้วยกับคนอื่น), See also: ความเจ็บปวด, ความประหลาดใจ |
analgesia | (n) ภาวะไร้ความรู้สึกเจ็บปวด |
anesthesia | (n) การไร้ความรู้สึก, See also: การชา, การสูญเสียความรู้สึก, Syn. insentience, unconsciousness, numbness |
anesthetic | (adj) ที่เกี่ยวกับการไร้ความรู้สึก |
anesthetic | (n) ยาระงับความรู้สึก, See also: ยาชา |
annoyance | (n) ความรำคาญ, See also: ความรู้สึกรำคาญ, Syn. vexation, irritation, uneasiness, Ant. pleasure, joy, delight |
asleep | (adj) ชา, See also: ไม่มีความรู้สึกเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ |
bad blood | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. hatred, Ant. affection |
bad feeling | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. bad blood |
bigotry | (n) การแสดงความรู้สึกหรือความเชื่อที่ไม่มีเหตุผล |
blandness | (n) การไม่มีอารมณ์ความรู้สึก |
blank | (adj) ไม่แสดงความรู้สึก, See also: ว่างเปล่า, เฉย, Syn. expressionless |
bluff | (adj) เป็นมิตรแต่พูดตรงโดยไม่สนใจความรู้สึกของคนอื่น, See also: เป็นมิตรแต่โผงผาง, Syn. outspoken |
be of | (phrv) มี (ความรู้สึก, คุณภาพ, สถานภาพฯลฯ) |
bottle up | (phrv) ปิดกั้น (ความรู้สึก), See also: เก็บความรู้สึก, อดกลั้น, Syn. cork up, dam up |
break down | (phrv) ควบคุมอารมณ์หรือความรู้สึกไม่ได้ |
brim over with | (phrv) เต็มไปด้วยความรู้สึก (บางอย่าง), Syn. bubble over with |
bring away | (phrv) กลับไปพร้อมกับ (บางสิ่งเช่น ความคิดหรือความรู้สึกบางอย่าง), Syn. come away with, go away with |
bubble over | (phrv) (ความรู้สึก)ท่วมท้น, See also: หัวเราะร่วน, อารมณ์พลุ่งพล่าน |
burst with | (phrv) เต็มไปด้วย (ความรู้สึกหรือสุขภาพ) |
bury in | (phrv) ปิดหน้าหรือหัวเพื่อซ่อนความรู้สึก |
carry | (vt) ชักนำทางความรู้สึก |
chasm | (n) ช่องว่าง, See also: ช่วงที่ขาดตอน, ความแตกต่างทางความคิดหรือความรู้สึก, Syn. gap |
clitoris | (n) คลิทอริส, See also: อวัยวะที่อยู่บนสุดของอวัยวะเพศหญิงมีลักษณะเป็นปุ่มเล็กไวต่อความรู้สึก |
cold | (adj) เย็นชา, See also: เยือกเย็น, ไร้ความรู้สึก, เฉยเมย, ไม่แยแส, Syn. cool, unfeeling, callous, heartless, chilly, icy, frigid, frosty, clammy, chilled, cold-blooded, Ant. hot |
coldly | (adv) อย่างไร้อารมณ์ความรู้สึก, See also: อย่างเฉยเมย, อย่างเย็นชา |
comfort | (n) ความสบายกาย, See also: ความสบาย, ความรู้สึกสบาย, Syn. relaxation, satisfaction, ease, rest, repose, assuagement, coziness, Ant. discomfort, uneasiness, distress |
compassion | (n) ความเห็นใจ, See also: ความรู้สึกเศร้าใจไปกับความทุกข์ของผู้อื่น, Syn. sympathy, empathy, pity |
compunction | (n) ความรู้สึกสำนึกผิด, Syn. penitence, qualm |
conscience | (n) ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี, Syn. moral sense, inner voice |
conscientious | (adj) ที่ทำด้วยความรู้สึกด้านดี, See also: ที่ควบคุมด้วยความรู้สึกในด้านดี, Syn. honest, scrupulous |
consolation | (n) ความรู้สึกสะดวกสบาย, Syn. comfort, solace |
consternation | (n) ความรู้สึกตกตะลึง, See also: ความตกใจ, Syn. shock, alarm, terror |
constraint | (n) ความยับยั้งชั่งใจ, See also: การระงับความรู้สึก |
constriction | (n) ความรู้สึกแน่นหน้าอก |
contain | (vt) ยับยั้ง, See also: ควบคุมความรู้สึก, Syn. restrict, restrain |
contempt | (n) การดูถูก, See also: ความรู้สึกรังเกียจอย่างมาก, Syn. disdain, scorn |
contrition | (n) ความสำนึกผิด, See also: ความรู้สึกผิด, Syn. remorse, sorrow |
cool | (adj) เย็นชา, See also: ซึ่งไร้ความรู้สึก, ซึ่งไม่เป็นมิตร, Syn. unfriendly |
cork | (vt) บังคับความรู้สึก |
culture shock | (n) ความรู้สึกสับสนต่อวัฒนธรรมที่ไม่คุ้นเคย |
cutting | (adj) ที่ทำให้เสียความรู้สึก, Syn. sarcastic |
consume with | (phrv) ท่วมท้นไปด้วย (ความรู้สึก) |
cork up | (phrv) ปิดกั้นความรู้สึก (คำไม่เป็นทางการ), See also: เก็บความรู้สึก |
cover in | (phrv) ท่วมท้นไปด้วย (อารมณ์ความรู้สึก) |
aesthetic | (al) (เอสเธท' ทิค, -เคิล) adj. เกี่ยวกับความรู้สึกต่อความงาม, เกี่ยวกับสุนทรีย์ศาสตร์, เกี่ยวกับอารมณ์และความรู้สึกที่บริสุทธิ์, ทฤษฏีหรือความคิดเห็นที่ถือความงามเป็นใหญ่., Syn. esthetic al -esthetician n. |
affect | (vi., vt. อะเฟคทฺ'; -n. เอฟ' แฟคทฺ, อะเฟคท'ฺ) -vt., vi. มีผลต่อ, ส่งผลต่อ, กระทบกระเทือน, ทำให้เสียใจ, ทำให้สงสาร, เป็น (โรค) , เสแสร้ง, ชอบ, โน้มเอียงไปทาง-n. ความรู้สึก, อารมณ์ |
affective | (อะเฟค' ทิฟว) adj. ด้าน (ความรู้สึก) , เกี่ยวกับอารมณ์, ทำให้เกิดอารมณ์หรือความรู้สึก, |
afternoons | (อาฟเทอะนูนซฺ', แอฟ-') n. รสที่ยังกรุ่นอยู่ในปาก, ความรู้สึกที่กรุ่นอยู่หลังเหตุการณ์ที่พอใจผ่านไป |
algometer | (แอลกอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความรู้สึกต่อความเจ็บปวดที่เกิดจากการกดหรือแรงกด. -algometric (al) adj. -algometry n. |
ambitendency | (แอมบิเทน' ดันซึ่) n., (pl. -cies) Psycho. ความรู้สึกรวมที่เป็นทั้งเชิงบวกและเชิงบวกและเชิงลบที่มีต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ |
ambivalence | (แอมบิฟ' วะลันซฺ) n. ความไม่แน่ใจ (โดยเฉพาะในการเลือกสิ่งที่ตรงกันข้าม) ความรู้สึกรวมที่มีทั้งที่เป็นเชิงบวกและเชิงลบต่อบุคคลอื่นหรือสิ่งของ. -ambivalent adj. |
anaesthesia | (แอนเอสธี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึก, การทำให้ชา, ภาวะชา. -anesthetic adj., -n. anesthetist (loss of sensation) |
anaesthetize | (อะเนส' ธีไทซ) vt. ทำใ้ห้ชา, ทำให้หมดความรู้สึก -anaesthetization n., , Syn. anesthetise anesthetise |
analgesia | (แอนนะจี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึกปวด, อาการชา |
anesthesia | (แอนเนสธี' เซีย) n. การไร้ความรู้สึกต่อความเจ็บปวด, อาการชา. |
anesthetic | (แอนเนสเธท' ทิค) n., adj. เกี่ยวกับหรือสามารถทำให้เกิดการชาหรือไม่รู้สึกตัว, ยาชา, ยาระงับความรู้สึก, ยาสลบ, Syn. anodyne, analgesic |
anesthetize | (อะเนส' ธีไทซ) vt. ทำให้หมดความรู้สึกต่อความเจ็บปวด, ทำให้ชา. (to render physically insensible) |
anima | (แอน' นิมะ) n. จิตวิญญาณ, ความรู้สึกตัว, ชีวิต (soul, life, inner personality) |
antipathetic | (al) (แอนทีพาเธท' ทิค, -เคิล) adj. เป็นปรปักษ์ต่อ, ไม่ชอบ, ไม่ลงรอยต่อ, เกลียด, ไม่พอใจกับ, ทำให้มีความรู้สึกดังกล่าว (averse) |
approbation | (แอพระเบ'เชิน) n. การเห็นด้วย, การแนะนำ, การยินยอม, ความรู้สึกพอใจต่อ. |
attachment | (อะแทช'เมินทฺ) n. การติด, การผูกติด, ภาวะที่ผูกติด, ความรู้สึกผูกพัน, การอุทิศ, สิ่งยึดติด, สิ่งที่ผูกพัน, อุปกรณ์ติดตั้ง, การยึดทรัพย์, Syn. connection, device, affinity |
aura | (ออ'ระ) n., (pl. auras, aurae) กลิ่นไอ, รัศมี, กลด, กระแสลม, ไฟฟ้า, แสงสว่าง, ความรู้สึกสังหรณ์-aural adj., Syn. air, atmosphere |
aw | (ออ) interj. คำอุทานแสดงความรู้สึกคัดค้านไม่เชื่อ รังเกียจ (an exclamation) |
bear | (แบร์) { bore, borne/born, bearing, bears } vt., vi. ค้ำ, รับ, พยุง, หนุน, แบก, รับภาระ, พบ, ทรงไว้, อดทน, ทาน, ทน, มี, ออกลูก, มีลูก, มีความรู้สึก, ถือ, พัด, พา, กด, ดัน, ให้, แสดง, ไปทาง, วางท่าทาง n. หมี, คนหยาบคาย, คนงุ่มง่าม, ชื่อดาวที่อยู่ทางทิศเหนือ (Great Bear ดาวจระเข้, Little B |
cerebrum | (เซอ'ริบรัม) n. สมองใหญ่ เป็นส่วนที่อยู่ด้านหน้า แบ่งเป็น 2 ซีก มี cerebralcortex ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางการติดต่อของเส้นประสาททั่วร่างกาย สมองส่วน cerebrum ทำหน้าที่เกี่ยวกับความคิด ความฉลาด ไหวพริบ ความทรงจำ ความยั้งคิดและความรู้สึกรับผิดชอบต่าง ๆ และนอกจากยัง nerve center ท่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่าง ๆ ของร่างกายส่วนต่าง ๆ |
chloroform | n. ยาสลบหรือระงับความรู้สึกชนิดหนึ่ง |
chord | (คอร์ด) n. สายเครื่องดนตรีดีดสี, สายซอ, เส้นตรงระหว่างจุด1จุดบนเส้นรอบวง, เอ็น, เส้น, ความรู้สึก, อารมณ์, เสียงที่คล้ายเส้นเชือก, เสียงประสาน vi. ประสาน, สัมผัส vt. ดีดสายให้เสียงสัมผัสกัน, See also: chordal adj. ดูchord |
cockle | (คอค'เคิล) { cockled, cockling, cockles } n. หอยแครง, หอย2ฝา, เปลือกหอย, เรือบดเล็กของเรือใหญ่, เรือเล็ก ๆ -Phr. (cockles of one's heart) ส่วนลึกของหัวใจ, ความรู้สึกที่แท้จริง. vi. หด, ย่น, เหี่ยว vt. ทำให้เหี่ยว, ทำให้หด, |
cold-blooded | (โคลดฺ'บลัดดิด) adj. เกี่ยวกับสัตว์เลือดเย็น, ไร้ความรู้สึกหรืออารมณ์, อย่างเลือดเย็น (อำมหิต) , ไวต่อความเย็น, See also: cold-bloodedness n. cold-bloodededly adv., Syn. cruel, Ant. humane |
cold-hearted | (โคลดฺ'ฮาร์ททิด) adj. ไร้ความปรานี, ไร้ความรู้สึก, ไร้ความกรุณา, See also: cold-heartedness n. ดูcold-hearted, Syn. indifferent, Ant. sympathetic |
consciousness | (คอน'เชิสเนส) n. ความมีสติ, ความมีจิตสำนึก, ความคิดและความรู้สึกรวมกัน, ภาวะจิต, ความตระหนัก, Syn. knowledge |
constrain | (คันสเทรน') { constrained, constraining, constrains } vt. บังคับ, ผลักดัน, ขัง, จำกัด, ระงับความรู้สึก -Conf. restrain |
constrained | (คันสเทรนดฺ') adj. ถูกบังคับ, ซึ่งระงับความรู้สึกไว้, ฝืนใจ, ถูกจำกัด |
constraint | (คันเทรนทฺ') n. การคุมขัง, การจำกัด, การควบคุมความรู้สึก, การบีบบังคับ, แรงบีบบังคับ, ภาวะที่ถูกบีบบังคับ, Syn. compulsion |
creep { crept | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
creeping | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
creeps } | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
crept | (ครีพ) vi. คลาน, ค่อย ๆ เข้ามา, เลื้อย, ย่อง, เล็ดลอด, พลัด, ประจบ, เอาใจ, รู้สึกขนลุก. n. การคลาน, การเลื้อย, การค่อย ๆ เข้ามา, การย่อง, ความรู้สึกที่ขนลุกขนพอง, คอกล้อม, คนที่น่าเบื่อและรบกวนคนอื่น, คนครุ่นคิด, ความน่ากลัว, ความน่าขยะแขยง, Syn. cr |
dead | (เดด) adj.ตาย, สิ้นลมหายใจ, ไม่มีชีวิต, ไม่มีความรู้สึก, ทื่อ, จืดชืด, โดยสิ้นเชิง, แม่นยำ, กะทันหัน, ตรง, จริง ๆ , ไม่มีกระแสไฟฟ้า adv. โดยสิ้นเชิง, เต็มที่, อย่างกะทันหัน n. คนตาย, Syn. deceased |
demonstrate | (เดม'เมินสเทรท) vt. แสดง, สาธิต, เดินขบวน, พิสูจน์, แสดงความรู้สึก, ทดลองให้เห็นจริง, See also: demonstration n. ดูdemonstrate demonstrative adj. ดูdemonstrate demonstrator n. ดูdemonstrate |
desensitise | (ดิเซน'ซิไทซ) vt. ทำให้ไม่ไวต่อ, ขจัดปฎิกิริยาโต้ตอบ, ทำให้ความรู้สึกเฉื่อยชา, ขจัดอาการภูมิแพ้, ลดหรือขจัดการแพ้แสง., See also: desensitization n. ดูdesensitize desensitisation n. ดูdesensitize desensitiser n. ดูdesensitize desensitizer n. ด |
desensitize | (ดิเซน'ซิไทซ) vt. ทำให้ไม่ไวต่อ, ขจัดปฎิกิริยาโต้ตอบ, ทำให้ความรู้สึกเฉื่อยชา, ขจัดอาการภูมิแพ้, ลดหรือขจัดการแพ้แสง., See also: desensitization n. ดูdesensitize desensitisation n. ดูdesensitize desensitiser n. ดูdesensitize desensitizer n. ด |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
disdain | (ดิสเดน') { disdained, disdaining, disdains } vt. ดูถูก, ดูหมิ่น, เหยียดหยาม, รังเกียจ. n. การดูถูก, การดูหมิ่น, ความรู้สึกที่รังเกียจ, Syn. scorn, contempt |
electricity | (อีเลคทริส'ซิที) n. ไฟฟ้า, กระแสไฟฟ้า, วิชาไฟฟ้า, การไฟฟ้า, ประจุไฟฟ้า, ไฟฟ้าสถิต, อารมณ์หรือความรู้สึกที่ตื่นเต้น, เร่าร้อนตึงเครียด |
elitism | (อีลิท'ทิสซึม) n. วิธีการปกครองของบุคคลชั้นหัวกะทิ, ความรู้สึกภาคภูมิใจที่เป็นคนชั้นยอด, See also: elitist n. ดูelitism, Syn. elitism. |
emotional | (อิโม'เชินเนิล) adj. มีอารมณ์, เกี่ยวกับความรู้สึก, ซึ่งกระเทือนอารมณ์, ซึ่งเร้าอารมณ์, Syn. feeling |
euphoria | (ยูฟอ'เรีย) n. ความรู้สึกสบาย, ความเคลิบเคลิ้มเป็นสุข., See also: euphoric adj. ดูeuphoria |
feeling | (ฟีล'ลิง) n. ความรู้สึก, ความคิดเห็น, ความรู้สึกสัมผัส, อารมณ์, จิตใจ, ความเห็นใจ, ความสำนึก. adj. ไว (ความรู้สึก) , เห็นใจ, มีอารมณ์., See also: feelingly adv. feelingness n., Syn. sensation |
fishy | (ฟิช'ชี) adj. คล้ายปลา (กลิ่น, รสหรืออื่น ๆ) , ซึ่งประกอบด้วยปลา, ซึ่งมีปลาอุดมสมบูรณ์, เหลือเชื่อ, ไม่น่าเป็นไปได้, น่าสงสัย, ทื่อ, ปราศจากความรู้สึก |
foreplay | n. การกระตุ้น ความรู้สึกทางเพศก่อนการร่วมสังวาส |
frosty | (ฟรอส'ที) n. หนาวจัด, ซึ่งจับตัวเป็นน้ำแข็ง, ขาดความรู้สึกที่อบอุ่น, ผมหงอก, แก่เฒ่า., See also: frostily adv. frostiness n., Syn. icy, hoary |
frozen | (โฟร'เซิน) v. แข็งตัวเนื่องจากความเย็นจัด, แข็งกระด้าง, หนาวมาก, ไร้ความรู้สึก, ยังไม่เปลี่ยนเป็นเงินสด., See also: frozenly adv. frozenness n., Syn. frigid |
glimmer | (กลิม'เมอะ) n., v. (ส่อง) แสงสลัว, แสงริบหรี่, จำนวนเล็กน้อย, ความรู้สึกที่เลอะเลือน, ความสะดุดใจ -, See also: glimmeringly adv., Syn. ficker, glow |
affective | (adj) เกี่ยวกับความรู้สึก, เกี่ยวกับอารมณ์ |
anaesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา |
anaesthetic | (adj) ซึ่งหมดความรู้สึก |
anesthesia | (n) การหมดความรู้สึก, การชา |
benumb | (vt) ทำให้ชา, ทำให้หมดความรู้สึก, ทำให้มึนงง |
COLD-cold-blooded | (adj) เย็นชา, เฉยเมย, เลือดเย็น, ดุร้าย, ไม่มีความรู้สึก, อำมหิต |
COLD-cold-hearted | (adj) ไม่สงสาร, ไม่ปรานี, ไม่มีความรู้สึก, ไร้ความเมตตา |
conscience | (n) สติ, สติสัมปชัญญะ, ความรู้สึกผิดชอบ, คุณธรรม |
consciousness | (n) ความมีสติ, ความสำนึก, ความตระหนัก, ความรู้สึกตัว, จิตสำนึก |
constraint | (n) การบีบบังคับ, การฝืนใจ, การจำกัด, การระงับความรู้สึก, การคุมขัง |
emotion | (n) อารมณ์, ความรู้สึก |
emotional | (adj) ซึ่งเร้าอารมณ์, ซึ่งสะเทือนอารมณ์, ตื่นเต้นง่าย, เกี่ยวกับความรู้สึก |
feeling | (n) ความรู้สึก, อารมณ์, จิตใจ, ความสำนึก, ความคิดเห็น |
heart | (n) หัวใจ, จิตใจ, ความรัก, ความรู้สึก, ส่วนสำคัญ, แก่น, ความกล้าหาญ |
heartless | (adj) ดุร้าย, ใจร้าย, ไม่มีหัวใจ, โหดเหี้ยม, ไม่มีความรู้สึก |
ICE-ice-cold | (adj) เฉยเมย, เย็นชา, เยือกเย็น, ไร้ความรู้สึก |
impassible | (adj) ไม่มีความรู้สึก, ไม่สะดุ้งสะเทือน, เฉย, เย็นชา |
impassioned | (adj) เร้าความรู้สึก, เร่าร้อน, กระตือรือร้น |
impression | (n) ร่องรอย, ความรู้สึก, ความประทับใจ, รอยพิมพ์ |
impressive | (adj) เร้าความรู้สึก, ประทับใจ, ซาบซึ้งใจ |
insensate | (adj) ไม่มีความรู้สึก, อำมหิต, โหดเหี้ยม, ไม่ปรานี, ขาดสติ |
insensibility | (n) การหมดความรู้สึก, ความตายด้าน, ความเมินเฉย |
insensible | (adj) หมดความรู้สึก, สลบ, หาเหตุผลไม่ได้ |
mood | (n) อารมณ์, ความรู้สึก, ใจคอ, มาลา |
narcosis | (n) การทำให้มึนเมา, การหมดความรู้สึก, การง่วงนอน |
narcotic | (adj) ทำให้มึนเมา, ทำให้หมดความรู้สึก, ง่วงนอน |
penitence | (n) ความรู้สึกผิด, ความสำนึกผิด, การสารภาพผิด |
perception | (n) การสังเกตเห็น, การได้ยิน, ความรู้สึก, ความเข้าใจ, การหยั่งรู้, ญาณ |
revulsion | (n) ความรู้สึกขยะแขยง, การเปลี่ยนแปลงโดยฉับพลัน |
sensation | (n) ประสาทสัมผัส, ความรู้สึก, ความตื่นเต้น |
sensational | (adj) น่าตื่นเต้น, เกี่ยวกับความรู้สึก, เกี่ยวกับประสาทสัมผัส |
SENSE sense organ | (n) อวัยวะรับความรู้สึก |
sense | (n) ความรู้สึก, ไหวพริบ, ความเข้าใจ, ประสาทสัมผัส, สติปัญญา, เหตุผล |
senseless | (adj) หมดสติ, หมดความรู้สึก, โง่ |
sensibility | (n) ไหวพริบ, ความรู้สึก, สติสัมปชัญญะ, ความเฉียบแหลม |
sensitiveness | (n) ความรู้สึกไว, ความอ่อนไหว |
sensory | (adj) เกี่ยวกับความรู้สึก |
sensual | (adj) ราคะจัด, มั่วโลกีย์, กระตุ้นความรู้สึก, ทางโลก |
sensuous | (adj) เกี่ยวกับความรู้สึก, เกี่ยวกับประสาทสัมผัส, หมกมุ่นในโลกีย์ |
sentient | (adj) ตื่นเต้น, มีความรู้สึก, เกรียวกราว, อื้อฉาว |
sentiment | (n) อารมณ์, ความรู้สึกทางใจ, ความคิดเห็น |
sex | (n) เพศ, ความรู้สึกทางเพศ, เรื่องประเวณี, กาม, การร่วมเพศ |
sexy | (adj) กระตุ้นความรู้สึกทางเพศ, น่าตื่นเต้น, มั่วโลกีย์ |
stimulant | (n) เครื่องเร้าความรู้สึก, เครื่องกระตุ้น, ยาบำรุง, ยากระตุ้นหัวใจ |
subconscious | (adj) เกี่ยวกับจิตใต้สำนึก, ซึ่งหมดความรู้สึก |
susceptibility | (n) ความรู้สึกไว, ความอ่อนไหว, ความอ่อนแอทางใจ |
tentacle | (n) สิ่งที่ทำให้เกิดความรู้สึก, หนวดสัตว์, กิ่งก้านสาขา |
unfeeling | (adj) โหดร้าย, ทารุณ, ไม่มีความรู้สึก |