กำเนิด | (กำเหฺนิด) น. การเกิด เช่น บิดามารดาเป็นผู้ให้กำเนิดแก่บุตร, มูลเหตุดั้งเดิม เช่น ตัวหนังสือไทยมีกำเนิดมาอย่างไร. |
คุมกำเนิด | ก. ควบคุมการเกิด, ป้องกันการตั้งครรภ์. |
ชนม-, ชนม์ | (ชนมะ-, ชน) น. การเกิด. |
ชะลอ | ทำให้ช้าลง, ทำให้ช้าลงเพื่อรอ เช่น ชะลอเวลา ชะลอการเกิด. |
ชาติ ๑, ชาติ- ๑ | (ชาด, ชาติ-, ชาดติ-) น. การเกิด, กำเนิด, มักใช้ว่า ชาติเกิด หรือ ชาติกำเนิด เช่น ถ้าทำไม่ดีก็เสียชาติเกิด, ความมีชีวิตอยู่ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น สบายทั้งชาติ |
ไตรวิชชา | (-วิดชา) น. ความรู้แจ้งในทางพระพุทธศาสนา ๓ อย่าง คือ ๑. ระลึกชาติหนหลังได้ ๒. รู้การตายการเกิดของคนและสัตว์ ๓. รู้วิธีทำให้สิ้นกิเลส. |
ปฏิกิริยา | การเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีของสาร. |
ประชากรศาสตร์ | น. การศึกษาทางสถิติเกี่ยวกับประชากรในแง่อัตราการเกิด การตาย การย้ายถิ่น และการกระจาย เป็นต้น รวมทั้งผลกระทบที่มีต่อสภาวะทางสังคมและเศรษฐกิจ. |
ประภพ | น. การเกิดก่อน |
ประสพ | (ปฺระสบ) น. การเกิดผล. |
ประสูติ, ประสูติ- | (ปฺระสูด, ปฺระสูติ-) น. การเกิด |
ประสูติการ | น. การเกิด, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระประสูติการ. |
ปุนภพ | (ปุนะ-, ปุนนะ-) น. ภพใหม่, การเกิดใหม่. (ป. ปุนพฺภว) |
ศึก | น. การใช้กำลังเข้าประหัตประหารกันอย่างรุนแรงระหว่างรัฐหรือประเทศตั้งแต่ ๒ รัฐหรือ ๒ ประเทศขึ้นไป เช่น ศึกชายแดน, การต่อสู้กันระหว่างบุคคลกับบุคคลหรือระหว่างพวกหนึ่งกับอีกพวกหนึ่ง เช่น ศึกล้างบาง ศึกล้างโคตร, โดยปริยายหมายถึงการเกิดขัดแย้งต่อสู้เป็นปฏิปักษ์ขึ้นในใจ เช่น ศึกในอก. |
สมภพ | (-พบ) น. การเกิด, ราชาศัพท์ใช้ว่า พระราชสมภพ และ พระบรมราชสมภพ. |
สูติ, สูติ- | (สู-ติ-) น. การเกิด, กำเนิด, การคลอดบุตร. |
อุจเฉททิฐิ | (อุดเฉทะ-) น. ความเห็นว่าตายแล้วสูญ (ไม่มีปฏิสนธิวิญญาณหรือการเกิดใหม่). |
อุทกวิทยา | น. วิชาว่าด้วยนํ้าที่มีอยู่ในโลก เช่น ศึกษาถึงสาเหตุการเกิด การหมุนเวียน ตลอดจนคุณลักษณะของนํ้า รวมทั้งการนำนํ้ามาใช้ให้เป็นประโยชน์. |
อุทัย | น. การเกิดขึ้น เช่น สุโขทัย = การเกิดขึ้นแห่งความสุข, การตั้งขึ้น เช่น อรุโณทัย = การตั้งขึ้นแห่งอรุณ. |
อุบัติ, อุบัติ- | (อุบัด, อุบัดติ-) น. การเกิดขึ้น, กำเนิด, การบังเกิด |
อุปบัติ | (อุปะบัด, อุบปะบัด) น. การเข้าถึง เช่น คติอุปบัติ = การเข้าถึงคติ, การเกิด. |
polymerisation; polymerization | การเกิดพอลิเมอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
polymerisation | การเกิดพอลิเมอร์ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
polymerization; polymerisation | การเกิดพอลิเมอร์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
pitting | การเกิดรอยบุ๋ม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
planned birth | การเกิดบุตรตามแผน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
pyritization | การเกิดไพไรต์ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
pyesis; suppuration | การเกิดหนอง, การเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
porosis | ๑. การเกิดกระดูกซ่อม๒. การเกิดรูพรุน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
papulation | การเกิดผื่นนูน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polarisation | ๑. การเกิดขั้ว๒. โพลาไรเซชัน [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
population replacement | การเกิดแทนที่ของประชากร [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
peat formation | การเกิดพีต [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
pyophylactic | -ป้องกันการเกิดหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
placentation | การเกาะของรก, การเกิดของรก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
premature birth | การเกิดก่อนกำหนด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
pyogenesis | การเกิดหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
previous births to the mother | จำนวนการเกิดที่ผ่านมาของมารดา [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
plutonism | การเกิดพลูตอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
pyarthrosis; pyoarthrosis | ๑. ภาวะข้อมีหนอง๒. การเกิดหนองภายในข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pustulation | การเกิดตุ่มหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
photomorphogenesis | การเกิดสัณฐานเพราะแสง [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
psychogenesis | การเกิดขึ้นภายในจิต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pronatalist | ผู้สนับสนุนการเกิด, ที่สนับสนุนการเกิด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
plural birth | การเกิดลูกแฝด [ ดู multiple birth ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
puckering | ๑. การเกิดรอยย่น๒. รอยย่น [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
parthenocarpy | การเกิดผลลม [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
parthenogenesis | การเกิดโดยไม่ผสมพันธุ์ [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
proof of birth | การพิสูจน์การเกิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pyoarthrosis; pyarthrosis | ๑. ภาวะข้อมีหนอง๒. การเกิดหนองภายในข้อ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pedicellation | การเกิดก้าน [ มีความหมายเหมือนกับ pediculation ๒ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pediculation | ๑. การติดแมลงปรสิต (เหา, เล็น, ไร, โลน)๒. การเกิดก้าน [ มีความหมายเหมือนกับ pedicellation ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lithogenesis | การเกิดนิ่ว [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laterization | การเกิดศิลาแลง [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
legitimate birth | การเกิดบุตรชอบด้วยกฎหมาย [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
live birth | การเกิดรอด [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
reproductivity | ภาวะการเกิดทดแทน, ภาวะการสืบแทนพันธุ์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ratio of births to marriages | อัตราส่วนการเกิดต่อการสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
reproduction | การเจริญพันธุ์, การสืบแทนพันธุ์, การเกิดทดแทน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
recrystallization | การเกิดผลึกใหม่ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
registration of birth | การจดทะเบียนคนเกิด, การจดทะเบียนการเกิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relapse | การเกิดโรคกลับ, การเป็นโรคกลับ [ ดู recidivation; recidivism ๑ และ recurrence ประกอบ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
relapse, intercurrent | การเกิดไข้กลับทับ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reduplication | ๑. การเกิดซ้อน๒. การทำสำเนา๓. การลอกแบบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sporation; sporulation | การเกิดสปอร์ [ มีความหมายเหมือนกับ sporogenesis ๑ ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sedimentation | การเกิดหินตะกอน [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
seismomorphogenesis | การเกิดสัณฐานเพราะการสั่น [พฤกษศาสตร์ ๑๘ ก.พ. ๒๕๔๕] |
synulosis; cicatrisation; cicatrization; formation, scar | การเกิดแผลเป็น [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
stippling | ๑. การเกิดจุด๒. ภาวะมีจุด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
synchronia | ๑. ภาวะเกิดพร้อมกัน [ มีความหมายเหมือนกับ synchronism ]๒. การเกิดตรงกำหนด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
second birth interval | ช่วงห่างการเกิดบุตรครั้งที่ ๒ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Vulcanization | การเกิดยางสุก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Peat | ลำดับเบื้องต้นของกระบวนการเกิดถ่านหิน, Example: ซากพืชที่ยังไม่แข็งตัว สะสมในที่ลุ่มชื้นแฉะ จึงทำให้มีความชื้นสูง (อย่างน้อยร้อยละ 75) เนื้อเซลลูโลสของซากพืชต่างๆถูกแบคทีเรียและเชื้อราแปรสภาพเป็นอินทรียวัตถุและก๊าซมีเทน แต่ยัง ปรากฏลักษณะซากพืชต่างๆให้เห็นอยู่ภายในเนื้อ มีคาร์บอนประกอบอยู่ประมาณร้อยละ 60 และออกซิเจนประมาณร้อยละ 30 เมื่อแห้งจะติดไฟได้ดี [ปิโตรเลี่ยม] |
Barn, b | บาร์น, หน่วยพื้นที่ภาคตัดขวางของอะตอม นิวเคลียส อิเล็กตรอน และอนุภาคอื่นๆ ที่แสดงโอกาสในการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ 1 บาร์น มีค่าเท่ากับ 10–24 ตารางเซนติเมตร (ดู cross section ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] |
Burnable poison | สารพอยซันเสื่อมสภาพได้, สารดูดกลืนนิวตรอน เช่น โบรอน ที่ผสมไว้ในแท่งเชื้อเพลิงหรือเปลือกแท่งเชื้อเพลิงนิวเคลียร์เพื่อลดการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ในระยะแรก ซึ่งมีปริมาณเชื้อเพลิงมาก หลังจากใช้งานไประยะหนึ่งจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสารที่ไม่ดูดกลืนนิวตรอน เป็นการชดเชยผลจากเชื้อเพลิงที่ถูกใช้ไป และการสะสมตัวของผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสที่ดูดกลืนนิวตรอนที่เกิดขึ้นในเชื้อเพลิง ทำให้อายุการใช้งานของเชื้อเพลิงนิวเคลียร์ยาวนานขึ้น [นิวเคลียร์] |
Control rod | แท่งควบคุม, อุปกรณ์ควบคุมกำลังของเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์มีลักษณะเป็นแท่ง แผ่น หรือท่อ ประกอบด้วยสารดูดกลืนนิวตรอน เช่น แฮฟเนียม โบรอน อุปกรณ์นี้อยู่ภายในแกนเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และสามารถปรับการเคลื่อนที่เข้าหรือออกเพื่อลดหรือเพิ่มอัตราการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์, Example: [นิวเคลียร์] |
Critical mass | มวลวิกฤต, มวลน้อยที่สุดของวัสดุที่เกิดการแบ่งแยกนิวเคลียสได้ ซึ่งเพียงพอต่อการเกิดและสืบเนื่องของปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียส (ดู fissionable material ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Criticality | ภาวะวิกฤต, ภาวะที่ปฏิกิริยาลูกโซ่แบ่งแยกนิวเคลียสสามารถสืบเนื่องอยู่ได้ โดยอัตราการเกิดนิวตรอนจากปฏิกิริยาเท่ากับอัตราการสูญเสียนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
x-ray fluorescence | การเรืองรังสีเอกซ์, ปรากฏการณ์การเกิดรังสีเอกซ์ลักษณะเฉพาะของธาตุที่สนใจโดยใช้พลังงานที่เหมาะสมไปกระตุ้นอะตอมของธาตุนั้น [นิวเคลียร์] |
Stochastic effect of radiation | ผลไม่ชัดเจน , ผลของรังสีที่คาดคะเนจากข้อมูลทางสถิติของผู้ที่ได้รับรังสี โดยโอกาสเกิดผลกระทบจะเป็นสัดส่วนโดยตรงกับปริมาณรังสี แต่ความรุนแรงของผลกระทบไม่ขึ้นกับปริมาณรังสี เช่น โอกาสของการเกิดมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อได้รับปริมาณรังสีสูงขึ้น [นิวเคลียร์] |
Special monitoring | การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์] |
Shock wave | คลื่นกระแทก, แรงผลักดันฉับพลัน ในอากาศ น้ำ หรือดิน ที่แผ่ขยายออกไปเป็นคลื่นเนื่องจากการระเบิด การเกิดคลื่นกระแทกมี 2 ระยะ ระยะที่หนึ่ง แรงผลักดันของตัวกลางเพิ่มขึ้นฉับพลันถึงระดับสูงสุดแล้วลดลงสู่ระดับปกติ ระยะที่สอง แรงผลักดันของตัวกลางจะลดลงแล้วกลับสู่ระดับปกติ คลื่นกระแทกที่เกิดในอากาศมักเรียกว่า คลื่นแรงผลักดันฉับพลัน (ดู blast wave ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Poison | สารพอยซัน(ต่อปฏิกิริยานิวเคลียร์), วัสดุใดๆ ที่มีภาคตัดขวางการดูดกลืนนิวตรอนสูง ซึ่งจะดูดกลืนนิวตรอนบางส่วนจากปฏิกิริยาลูกโซ่การแบ่งแยกนิวเคลียสในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ เป็นผลให้การเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ลดลง [นิวเคลียร์] |
Moderator | ตัวหน่วงความเร็ว(นิวตรอน), วัสดุที่ใช้ลดความเร็วของนิวตรอนในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ ทำให้โอกาสของการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียสเพิ่มขึ้น เช่น น้ำ น้ำมวลหนัก และแกรไฟต์ <br>(ดู reflector, absorber และ thermal neutron ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Heavy water reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ [นิวเคลียร์] |
Heavy water moderated reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบน้ำมวลหนัก, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ที่ใช้น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอน และเป็นตัวทำให้เย็น น้ำมวลหนักเป็นตัวหน่วงความเร็วนิวตรอนที่ดีเยี่ยม จึงช่วยเพิ่มโอกาสการเกิดปฏิกิริยาแบ่งแยกนิวเคลียส ทำให้สามารถใช้ยูเรเนียมธรรมชาติ เป็นเชื้อเพลิงได้โดยไม่ต้องเสริมสมรรถนะ, Example: [นิวเคลียร์] |
Birth customs | ประเพณีการเกิด [TU Subject Heading] |
Childbirth ; Birth | การเกิด [TU Subject Heading] |
Farm manure in methane production | การเกิดมีเทนจากปุ๋ยที่ใช้ในไร่นา [TU Subject Heading] |
Fibrosis | การเกิดพังผืด [TU Subject Heading] |
Fouling | การเกิดตะกรัน [TU Subject Heading] |
Multiple birth offspring | การเกิดลูกแฝด [TU Subject Heading] |
Poisoning | การเกิดพิษ [TU Subject Heading] |
Polymerization | การเกิดโพลิเมอร์ [TU Subject Heading] |
Reincarnation | การเกิดใหม่ [TU Subject Heading] |
Respiratory sounds | ภาวะการเกิดเสียงในการหายใจ [TU Subject Heading] |
Second harmonic generation | การเกิดฮาร์โมนิคที่สอง [TU Subject Heading] |
Trip generation | การเกิดการเดินทาง [TU Subject Heading] |
Vulcanization | การเกิดยางสุก [TU Subject Heading] |
Aggregation | การเกิดเม็ดดิน, Example: กระบวนการเกาะตัวกันของอนุภาคเดี่ยว เป็นเม็ดดินซึ่งเกิดจากแรงและสารเชื่อมตามธรรมชาติ เช่น แรงจากการยืดหดปริมาตรดินเมื่อเปลี่ยนแปลงความชื้น สารเชื่อมจำพวกสารขับ (exudate) ของรากและกิจกรรมของจุลินทรีย์ [สิ่งแวดล้อม] |
Gasification | การเกิดแก๊ส, Example: การทำปฎิกิริยาของสารที่มีคาร์บอนเป็นส่วน ประกอบกับอากาศ, น้ำหรือออกซิเจนและเกิดแก๊สออกมา [สิ่งแวดล้อม] |
False Stillbirth | การเกิดไร้ชีพเทียม, Example: เด็กเกิดรอดที่เสียชีวิตก่อนลงทะเบียนเกิด ซึ่งอาจจะถูกนับรวมอยู่กับการเกิดไร้ชีพการตายคลอด [สิ่งแวดล้อม] |
Gasification | การเกิดก๊าซ, Example: 1) การทำปฏิกิริยาของสารที่มีคาร์บอนเป็นส่วนประกอบกับอากาศ, น้ำหรือออกซิเจนและเกิดก๊าซออกมา ; 2) การกลายเป็นก๊าซของสารอินทรีย์ในระหว่างการย่อยสลาบ [สิ่งแวดล้อม] |
Waste Generation Per Capita | การเกิดของเสียต่อคน [สิ่งแวดล้อม] |
Chelation | การคีเลต, การเกิดวง, Example: การเกิดสารประกอบที่ละลายในน้ำได้ ซึ่งโมเลกุลจะจับกับอะตอมกลางที่สองจุด ทำให้เกิดโครงสร้างเป็นวง [สิ่งแวดล้อม] |
Balance of Births and Deaths | ดุลการเกิดและการตาย, Example: ส่วนต่างระหว่างจำนวนการเกิดกับจำนวนการตายของ ประชากร ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงจำนวนประชากรตามสาเหตุธรรมชาติ [สิ่งแวดล้อม] |
Birth Order | ลำดับการเกิด, Example: เป็นการจำแนกประเภทของการเกิดอีกแบบหนึ่ง คือจำแนกตามลำดับที่ของการเกิด ปกติจะพิจารณาจากจำนวนบุตร ที่มารดามีอยู่แล้ว และนิยมพิจารณาเฉพาะบุตรเกิดรอดเท่านั้น [สิ่งแวดล้อม] |
Rapid Assessment Method of Waste Generation | วิธีประเมินอย่างรวดเร็วของการเกิดของเสีย, Example: การประเมินโดยวิธีคำนวณหาปริมาณของเสียจาก แหล่งกำเนิดที่ไม่แน่นอน ซึ่งอิงค่าสัมประสิทธิที่ปริมาณได้จากผลการปฏิบัติจริงในสนาม [สิ่งแวดล้อม] |
Waste Generation Rate | อัตราการเกิดของเสีย, Example: ปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นภายในหนึ่งหน่วยเวลา [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
concert of nations | ความปรองดองระหว่างชาติ หลักการและแนวคิดเรื่องความปรองดองระหว่างชาติเกิดขึ้นในยุโรป ระหว่าง พ.ศ. 2357-2358 ซึ่งเรียกว่า Concert of Europe หรือบางครั้งเรียกว่า Concert of Allies โดยการรวมตัวของกลุ่มรัฐพันธมิตรที่ต่อต้านการขยายอำนาจของฝรั่งเศส คือ รัสเซีย ออสเตรีย ปรัสเซีย และอังกฤษ ได้รวมตัวกันเป็นระบบแห่งยุโรป (European system) หรือระบบแห่งมหาอำนาจในยุโรป ซึ่งต่อมาฝรั่งเศสและสเปนได้เข้าร่วมในระบบความปรองดองแห่งยุโรปด้วย นอกจากนี้การเกิดระบบความปรองดองแห่งยุโรปซึ่งมีระบบการประชุมคองเกรส ระหว่างชาติมหาอำนาจเป็นกลไกสำคัญนั้น ยังเป็นการแสดงถึง "มหาอำนาจแห่งปฐมลำดับ" (The powers of the first order) และยังถือว่าเป็นครั้งแรกที่มีการเรียกชื่อที่ระบุคำว่ามหาอำนาจ (The first expression of the idea of the Great Powers) อย่างไรก็ตาม ระบบความปรองดองแห่งยุโรปได้ล่มสลายลงในปี พ.ศ. 2365 [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
nuclear gauge | เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ หรือนิวเคลียร์เกจ, เป็นเครื่องวัดและควบคุมที่ทำงานโดยการกระตุ้นด้วยรังสีจากต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เครื่องวัดชนิดนี้ประกอบด้วยต้นกำเนิด และหัววัดรังสี บรรจุอยู่ในภาชนะที่แยกจากกัน หรือบรรจุอยู่ในภาชนะเดียวกัน โดยให้ลำรังสีผ่านออกมาทางช่องทางผ่าน หรืออุปกรณ์ควบคุมรังสีไปยังวัสดุที่ต้องการวัด ขณะเดียวกันหัววัดรังสีจะทำหน้าที่ตรวจวัดความเข้มของปริมาณรังสี หรือจำแนกชนิด และขนาดพลังงานของรังสี ซึ่งเป็นผลมาจากอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุนั้น ค่าที่วัดได้จะถูกส่งไปประมวลผลด้วยระบบไมโครโปรเซสเซอร์ เพื่อแสดงผลการตรวจสอบที่จะใช้เป็นตัวแปรในอุปกรณ์ควบคุมกระบวนการผลิตในขั้นตอนต่อไป เครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์นี้ มีหลักการทำงานตามลักษณะการเกิดอันตรกิริยาระหว่างรังสีกับวัสดุ แบ่งเป็น 3 แบบ คือ เครื่องวัดแบบส่งผ่าน (Transmission gauge) และเครื่องวัดแบบกระตุ้นให้เกิดการแผ่รังสี (Reactive gauge) [พลังงาน] |
radiolytic products | เรดิโอไลติกโปรดักส์, คือ สารประกอบทางเคมีที่เกิดขึ้นจากการฉายรังสีอาหาร เมื่อรังสีทะลุผ่านอาหาร รังสีจะถ่ายเทพลังงานให้โมเลกุลต่างๆ ที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร เช่น น้ำ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน ทำให้เกิดการแตกตัวเป็นโมเลกุลที่มีประจุไฟฟ้า และเกิดปฏิกิริยาเรดิโอไลซิส ได้อนุมูลอิสระซึ่งไม่เสถียร และไปทำปฏิกิริยากับสารที่เป็นองค์ประกอบของอาหาร ได้สารประกอบต่างๆ ที่มีโมเลกุลเล็กลง ซึ่งเรียกโดยรวมว่า เรดิโอไลติก โปรดักส์ การเกิดอนุมูลอิสระนอกจากจะเกิดจากการใช้รังสีแล้ว ยังเกิดจากการใช้ความร้อน เช่น การต้ม การทอด การอบ การย่าง และการปิ้ง และอนุมูลอิสระที่เกิดจากการใช้ความร้อนนี้ทำให้เกิดสารประกอบต่างๆ ที่มี โมเลกุลเล็กลงได้เช่นกัน แต่เรียกโดยรวมว่าเทอร์โมไลติกโปรดักส์ และเมื่อเปรียบเทียบกับเรดิโอไลติกโปรดักส์ พบว่า สารประกอบส่วนใหญ่เป็นชนิดเดียวกัน และเป็นสารประกอบที่ตรวจพบได้ในอาหารที่ไม่ได้ฉายรังสี [พลังงาน] |
จุดวาบไฟ | จุดวาบไฟ, อุณหภูมิต่ำสุดน้ำมันที่ทำให้เกิดไอน้ำมันเป็นปริมาณมากพอ เมื่อสัมผัสเปลวไปก็จะทำให้ลุกไหม้ทันที จุดวาบไฟไม่มีผลต่อคุณภาพหรือการใช้งานโดยตรง หากเป็นข้อกำหนดทางกฎหมายเพื่อความปลอดภัยจากการเกิดอัคคีภัย การเก็บรักษาและขนถ่าย เพราะถ้าเกินอุณหภูมิจุดนี้ไปแล้วจะเป็นจุดติดไฟ [ปิโตรเลี่ยม] |
Revenue realization principle | หลักการเกิดขึ้นของรายได้ [การบัญชี] |
Accelerator | สารเคมีที่เติมลงไปในยางปริมาณเล็กน้อยเพื่อเร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยา ให้ยางคงรูปเร็วขึ้น ทำให้ลดเวลาที่ใช้ในการคงรูปยางลง [เทคโนโลยียาง] |
Antifoaming agent | สารเคมีที่เติมลงในน้ำยางเพื่อป้องกันการเกิดฟองในน้ำยางคอมพาวด์ ซึ่งเป็นอาจเป็นสาเหตุให้เกิดการพองหรือเกิดรูเข็มในผลิตภัณฑ์ได้ [เทคโนโลยียาง] |
Antiozonant | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อป้องกันหรือลดการเกิดรอยแตกของยางจากการ เกิดปฏิกิริยาระหว่างโอโซนกับยาง [เทคโนโลยียาง] |
activity | (n) การวัดความสามารถในการเกิดปฏิกริยาเคมี |
angulation | (n) การเกิดมุม |
annual ring | (n) การเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้ของแต่ละปี, See also: วงปี ในเนื้อไม้ |
birth | (n) การเกิด, Syn. delivery |
bitmap | (n) การเกิดภาพจากจุดเล็กๆ |
Christmas | (n) คริสต์มาส, See also: เทศกาลเฉลิมฉลองการเกิดของพระเยซูคริสต์ในวันที่ 25 ธันวาคมของทุกปี, Syn. Christmastime, Christmas Day |
coincidence | (n) การเกิดขึ้นพร้อมกัน, Syn. simultaneity, simultaneousness, conjunction, concurrence, concurrency, coexistance, concomitance, concomitancy, contemporaneousness, synchronism |
collocation | (n) การเกิดร่วมกัน |
concurrence | (n) การเกิดในเวลาเดียวกัน, Syn. coincidence, coexistence, concurrency |
concurrency | (n) การเกิดในเวลาเดียวกัน, Syn. coincidence, coexistence, concurrence |
conjunction | (n) การเกิดขึ้นร่วมกัน |
continuance | (n) การเกิดขึ้นต่อเนื่อง, Syn. continuation, prolongation |
dynamogenesis | (n) การเกิดพลังงาน (ทางจิตวิทยา), See also: การเกิดกำลังแรงงาน |
fertility | (n) อัตราการเกิดของประชากร |
fibrosis | (n) การเกิดพังผืด, See also: การเกิดเนื้อเยื่อมากเกินไป, การสร้างเส้นใยมากผิดปกติ |
flatulence | (n) อาการท้องอืด, See also: อาการท้องเฟ้อ, ท้องขึ้น, การเกิดแก๊สในกระเพาะอาหาร, Syn. wind |
incidence | (n) อัตราการเกิด, Syn. frequency, rate |
infarction | (n) การเกิดเนื้อตายเนื่องจากขาดการไหลเวียนของโลหิต, See also: บริเวณเนื้อตาย |
infrequence | (n) การเกิดไม่ถี่, See also: ความไม่ถี่ |
infrequency | (n) การเกิดไม่ถี่, See also: ความไม่ถี่, Syn. irregularity , scarcity, uncommonness |
lead with one's chin | (idm) ประพฤติตัวเสี่ยงต่อการเกิดปัญหา |
natal | (adj) เกี่ยวกับการเกิด, See also: โดยกำเนิด, Syn. native, aboriginal, Ant. nonnative |
natality | (n) อัตราการเกิด, Syn. birth rate |
notification | (n) การแจ้ง (แจ้งความ, แจ้งการเกิด, อัตราเกิดของโรคฯลฯ), See also: การแจ้งความ, การประกาศ, Syn. manifesto |
occurrence | (n) การเกิดขึ้น, See also: การปรากฎขึ้น, Syn. apperance, existence |
outbreak | (n) การเกิดขึ้นอย่างรุนแรงและทันทีทันใด, Syn. eruption, explosion, outburst, Ant. peace, quiet |
paroxysm | (n) การกำเริบของโรคทันที, See also: การเกิดขึ้นอย่างทันที |
periodicity | (n) ภาวะที่เกิดขึ้นครั้งคราว, See also: ภาวะการเกิดขึ้นสม่ำเสมอ; ความสม่ำเสมอ, Syn. regualarity, punctuality |
previousness | (n) การเกิดขึ้นก่อน, Syn. priority |
quadrennial | (n) ช่วงทุก 4 ปี, See also: การเกิดขึ้นเป็นเวลา 4 ปี |
rebirth | (n) การเกิดใหม่, Syn. resurrection, rejuvenation, rehabilitation |
repetition | (n) การเกิดซ้ำ, See also: การทำซ้ำ, Syn. recurrence, repeating |
rhythm | (n) จังหวะ, See also: การเกิดขึ้นอย่างสม่ำเสมอ, Syn. cycle, tempo |
scintillation | (n) การเกิดประกายไฟ, See also: การเป็นประกายไฟ, การเป็นประกายระยิบระยับ, Syn. fire, flash, moonbeam |
seismogram | (n) การบันทึกของเครื่อง seismograph, See also: การบันทึกการเกิดแผ่นดินไหว, บันทึกจากเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว |
sizzler | (n) สิ่งที่ร้อนจัด, See also: การเกิดเสียงดังฉ่าเนื่องจากร้อนจัด |
stroke | (n) การเกิดขึ้นอย่างกะทันหัน, Syn. sudden occurrence |
supervenience | (n) การเกิดขึ้นอย่างไม่คาดคิดถึงมาก่อน, See also: การเกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน |
synchrony | (n) การเกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน, See also: การเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน, Syn. simultaneous occurrence |
thrombosis | (n) การเกิดลิ่มเลือดที่ทำให้เส้นเลือดอุดตันได้, Syn. apoplexy |
untimeliness | (n) การเกิดขึ้นก่อนเวลา |
vital statistics | (n) สถิติประชากร, See also: สถิติเกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ เช่น การเกิด การตาย การสมรส สุขภาพ |
voluntariness | (n) ความสมัครใจ, See also: การเกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ |
wetting agent | (n) น้ำยาหรือสารเคมีที่ใช้เคลือบฟิล์ม กระจกหรือวัตถุอื่น, See also: เพื่อป้องกันการเกิดฟอง |
abiogenesis | (เอ' บิโอเจน' นิซิส) n. การกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิต, การเกิดขึ้นเอง. -abiogenetic adj. (spontaneous generation) |
active immunity | การเกิดภูมิคุ้มกันเนื่องจากการสร้างแอนตี้บอดี้ภายในสิ่งมีชีวิตเอง |
angulation | (แองกิวเล' เชิน) n. การเกิดมุม, การวัดมุมอย่างละเอียด (angular formation) |
annual ring | การเกิดชั้นวงกลมในเนื้อไม้พืชแต่ละปีมีอยู่ 2 ชั้นคือชั้นฤดูใบไม้ผลิและชั้นฤดูร้อน |
annulation | (แอนนิวเล' ชัน) n. การเกิดวงแหวนส่วนที่เป็นวงกลม (a ringlike formation) |
anti-icer | (แอนทีไอ' เซอะ) n. เครื่องมือป้องกันการเกิดน้ำแข็ง, ของเหลวที่มีฤทธิ์ดังกล่าว |
apogamy | (อะพอก'กะมี) n. การเกิด sporophyte จากเซลล์หรือ gametophyte (แทนที่จะเป็นไข่) -apogamic, apogamous adj. |
autogenesis | (ออโทเจน'นิซิส) n. การเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ, ความเชื่อที่ว่าสิ่งชีวิตเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ. -autogenetic adj. (abiogenesis) |
azoic | (อะโซ'อิค) adj. เกี่ยวกับยุค Precambrian, ไม่มีการเกิด (Archean) |
birth | (เบิร์ธ) n. การเกิด, การคลอด, การออกลูก, การสืบสายเลือด, การอุบัติขึ้น -Phr. (give birth to คลอด, ให้กำเนิด), Syn. nativity |
birth rate | อัตราการเกิด |
cariogenesis | n. การเกิดโรคฟันผุ |
coincidence | (โคอิน'ซิเดินซฺ) n. ภาวะบังเอิญ, การเกิดขึ้นพร้อมกัน, ภาวะประจวบกัน, เหตุบังเอิญ, การสอดคล้องต้องกัน, Syn. concurence |
composition | (คอมพะซิซ'เชิน) n. การประกอบเป็นส่วนต่าง ๆ ทั้งหมด, ผลิตผล, ส่วนประกอบ, องค์ประกอบ, ภาพประกอบ, ของผสม, การประพันธ์, การแต่งเพลง, การเกิดเป็นสารประกอบ, การตกลงกัน, การประนีประนอม, ข้อตกลง, การจัดเรียงตัวพิมพ์, คุณสมบัติ, อุปนิสัย |
concomitance | (คันคอม'มิเทินซฺ) n. การอยู่ร่วมกัน, การเกิดขึ้นพร้อมกัน, การมาพร้อมกัน. n. คุณลักษณะหรือสิ่งที่เกิดขึ้นหรือมาพร้อมกัน, Syn. concurrence, attendance |
concrescence | (คอนเครส'เซินซฺ) n. การเจริญเติบโตร่วมกัน, การเกิดร่วมกัน |
creamer | (ครีม'เมอะ) n. ภาชนะที่ใส่ครีม, ตู้เย็นที่ช่วยเร่งการเกิดครีม |
crystalline | (คริส'ทะลิน, -ทะไลนฺ') adj. เกี่ยวกับผลึก, โปร่งแสง, ใสแจ๋ว, เกิดจากการตกผลึก, ประกอบด้วยผลึก, เกี่ยวกับการเกิดผลึก, See also: crystalility n. ดูcrystalline |
elcosis | n. การเกิดแผลเน่าเปื่อยและเหม็น |
eruption | (อีรัพ'เชิน) n. การแตกออก, การระเบิดออก, การปะทุ, สิ่งที่พุ่งออกมา, การเกิดผื่นผิวหนัง, Syn. outburst |
frequency | (ฟรีเควิน'ซี) n. ความถี่, การเกิดขึ้นถี่, ความบ่อย, ความชุก, อัตราการปรากฎขึ้น |
furfur | n. การเกิดสะเก็ดบนผิวหนังเช่นขี้รังแค, ขี้รังแค -pl. furfures |
gametogenesis | n. การเกิดและเจริญของเซลล์เพศ, See also: gametogenic, gametogenous adj |
gemination | (เจมมิเน'เชิน) n. การทำซ้ำ, การเกิดเป็นคู่, Syn. repeat |
gummosis | (กัมโม'ซิส) n. การเกิดยางไม้มากเกินไปในพืช |
haematopoiesis | n. การเกิดโลหิต, การสร้างโลหิต., See also: hematopoietic adj. |
halation | n. การเกิดบริเวณมัวที่ภาพถ่าย, รอยพร่ารอบดวงโคมในฟิล์มถ่ายรูปเงาทรงกด, แสดงทรงกด |
hematopoiesis | n. การเกิดโลหิต, การสร้างโลหิต., See also: hematopoietic adj. |
icsh | คำย่อ Intesitial Cell Stimulating hormone ทำหน้าที่กระตุ้นให้อัณฑะขับฮอร์โมนเพศชาย testosterone และควบคุมการเกิด spermatozoa ด้วย |
incubation | (อินคิวเบ' เชิน) n. การฟักตัว, การกกไข่, การเพาะให้เป็นตัว, การเกิดเป็นตัว |
infarction | (อินฟาร์ค'เชิน) n. การเกิดบริเวณเนื้อตายเนื่องจากโลหิตอุดตัน, บริเวณเนื้อตายเนื่องจากโลหิตอุดตัน |
infrequence | (อินฟรี'เควินซี, อินฟรี'เควินซฺ) n. การเกิดขึ้นน้อย, ความไม่ถี่, การเกิดขึ้นนาน ๆ ที., Syn. rarenes |
infrequency | (อินฟรี'เควินซี, อินฟรี'เควินซฺ) n. การเกิดขึ้นน้อย, ความไม่ถี่, การเกิดขึ้นนาน ๆ ที., Syn. rarenes |
natal | (เน'เทิล) adj. เกี่ยวกับการเกิด, เกี่ยวกับตะโพก |
natality | (เนแทล'ลิที) n. อัตราการเกิด |
origin | (ออ'ริจิน) n. แหล่งกำเนิด, มูลเหตุ, การเกิด, รากฐาน, พืชพันธุ์, ระยะแรกเริ่ม, จุดเดิม, จุดเริ่มต้น, Syn. beginning |
parthenocarpy | n. การเกิดผลโดยไม่มีการปฏิสนธิ. |
periodicity | (เพียริอะซิส'ที) n. ภาวะการเป็นช่วง ๆ หรือเป็นครั้งเป็นคราว, ภาวะการเกิดขึ้นเป็นช่วง ๆ อย่างสม่ำเสมอ |
purulence | (เพอ'รูเลินซฺ) n. การมีหนอง, การเกิดเป็นหนอง, หนอง, หนองผี., Syn. purulency |
pustulation | (พัสชะเล'เชิน) n. การเกิดเป็นหนอง, การมีหนองไหลหรือแตกออกมา |
recurrence | (รีเคอ'เรินซฺ) n. การเกิดขึ้นอีก, การกลับมาอีก, การกำเริบ, การหันกลับ, การหยิบยกขึ้นมาพิจารณาอีก. |
rootage | (รู'ทิจฺ) n. การหยั่งราก, การเกิดราก |
scintillation | (ซินทะเล'เชิน) n. การเกิดประกายไฟ, การเป็นประกายระยิบระยับ, Syn. brilliance |
seizure | (ซี'เซอะ) n. การจับ, การจับกุม, การยึด, การยึดถือ, การฉวย การยึดครอง, อาการปัจจุบันของโรค, การเป็นลม, การเกิดอาการโรคขึ้นอย่างกะทัน หัน., Syn. seisure, grasp, grip |
shipwreck | (ชิพ'เรค) n. การทำลายเรือ, การเกิดอุบัติเหตุทางเรือ, การสูญเสียเรือ, อุบัติเหตุเรือแตก, ซากเรือแตก, การทำลาย, ความหายนะ. vt. ทำให้เรือแตก, ทำลายเรือ, ทำลาย, ทำให้พินาศ. vi. เรือแตก, ประสบความหายนะ, ประสบความพินาศ, Syn. destroy |
stork | (สทอร์ค) n. นกกระสา, นกในตระกูล Ciconiidae, สัญลักษณ์การเกิดของเด็ก |
stratification | (สแทรททะฟิเค'เชิน) n. การแบ่งออกเป็นชั้น ๆ , ลักษณะเป็นชั้น ๆ , ชนชั้นของสังคม, การเกิดเป็นชั้น ๆ , การจมทับถมกันเป็นชั้น |
suppuration | (ซัพพิวเร'เชิน) n. การเป็นหนอง, การเกิดหนอง, หนอง. |
theater | (เธีย'เทอะ) n. โรงละคร, โรงมหรสพ, โรงภาพยนตร์, โรงละครกลางแจ้ง, ผู้ชมในโรงดังกล่าว, ห้องบรรยาย, -PHr. (the theatre (Theater) ละคร, บทละคร, เรื่องละคร, สถานที่แสดง, การเกิดผืนดินเป็นชั้น ๆ), Syn. cinema |
theatre | (เธีย'เทอะ) n. โรงละคร, โรงมหรสพ, โรงภาพยนตร์, โรงละครกลางแจ้ง, ผู้ชมในโรงดังกล่าว, ห้องบรรยาย, -PHr. (the theatre (Theater) ละคร, บทละคร, เรื่องละคร, สถานที่แสดง, การเกิดผืนดินเป็นชั้น ๆ), Syn. cinema |