281 ผลลัพธ์ สำหรับ *ไม่พอ*
ภาษา
หรือค้นหา: ไม่พอ, -ไม่พอ-Longdo Unapproved TH-NE-S - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ถั่วะ | คำประกอบท้ายคำที่แสดงถึงความต้องการให้ทำตามอย่างหงุดหงิด เช่น ดูถั่วะ แปลว่า ดูซิ (ในเชิงน้ำเสียงไม่พอใจ) *หมายเหตุ ภาษาโคราช, See also: S. ซิ |
Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
แม่ง | [แม่ง] (slang) เป็นคำอุทานที่มักใช้พูดกันเวลาอารมณ์เสียหรือไม่พอใจในสิ่งที่เกิดขึ้น มีสันนิษฐานว่าเกิดมาจากการกล่อนคำของคำว่า แม่มึง แต่ไม่ได้ใ้ช้ในความหมายนี้ แต่เป็นเพียงแค่คำอุทาน ตัวอย่าง แม่งเอ้ย วันนี้ถูกหวยแดกอีกแล้วกู หรือในสมัยก่อนเวลาตกใจบางคนอาจจะอุทานว่า อุ๊ยแม่มึง!!! |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ไม่พอใจ | (v) be pungent, See also: be angry, Syn. ไม่ชอบใจ, ไม่สบอารมณ์, Ant. พอใจ, Example: บรรดาผู้บริหารต่างเกรงว่าคนงานจะไม่พอใจ แต่ที่ไหนได้ ทุกคนต่างยินดีต้อนรับรถหุ่นยนต์ให้เป็นเพื่อนร่วมงานอย่างไม่ลังเลแทน, Thai Definition: รู้สึกว่าไม่เป็นดังที่ใจต้องการ |
ความไม่พอใจ | (n) dissatisfaction, See also: displeasure, discontent, Ant. ความพอใจ, Example: การสร้างเขื่อนของรัฐบาลสร้างความไม่พอใจให้กับชาวบ้าน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระตุกหนวดเสือ | ก. ทำให้ผู้มีอิทธิพลไม่พอใจ. |
กระแทก | โดยปริยายหมายถึง อาการที่พูดกระชากเสียงให้ดังผิดปรกติแสดงว่าไม่พอใจหรือโกรธ เช่น กระแทกเสียง. |
กระแทกกระทั้น | ว. อาการที่ลงเสียงหนักหรือกระแทกสิ่งของให้รู้ว่าไม่พอใจหรือโกรธ. |
กระแทกแดกดัน | ว. อาการที่กล่าวกระทบกระแทกหรือประชดเพราะความไม่พอใจ. |
กระโวยกระวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงร้องเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น, โวยวาย ก็ว่า. |
กระเหม็ดกระแหม่ | (-แหฺม่) ก. เขม็ดแขม่, ใช้จ่ายอย่างระมัดระวังเพราะเกรงว่าจะไม่พอใช้. |
กรานกฐิน | (-กะถิน) ก. ขึงไม้สะดึง คือ เอาผ้าที่จะเย็บเป็นจีวรเข้าขึงที่ไม้สะดึง เย็บเสร็จแล้วบอกแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ร่วมใจกันยกผ้าให้ในนามของสงฆ์เพื่ออนุโมทนา, ภิกษุผู้เย็บจีวรเช่นนั้น เรียกว่า ผู้กราน, สงฆ์ยกผ้าอันไม่พอแจกกันให้ภิกษุรูปหนึ่ง ภิกษุรูปนั้นทำตั้งแต่ซัก กะ ตัด เย็บ ย้อม เสร็จในวันนั้น ทำพินทุกัปปะอธิษฐานเป็นจีวรครอง เป็นจีวรกฐิน เรียกว่า . (อุปสมบทวิธี). (ดู กฐิน). |
กะพร่องกะแพร่ง | ไม่เต็มที่, ไม่ครบถ้วน, ไม่พอเพียง, (ตามที่คาดหมายไว้). |
โกรธ | (โกฺรด) ก. ขุ่นเคืองใจอย่างแรง, ไม่พอใจอย่างรุนแรง, ราชาศัพท์ว่า ทรงพระโกรธ เช่น ก็จะทรงพระโกรธดั่งเพลิงกาล (อิเหนา). |
ขันติ, ขันตี | น. ความอดกลั้นต่อสิ่งที่ไม่พอใจ, ความอดทน. |
ขุ่นใจ | ก. หมองใจ, ไม่พอใจ, ขัดเคืองกัน. |
เขม็ดแขม่ | (ขะเหฺม็ดขะแหฺม่) ก. กระเหม็ดกระแหม่, ใช้จ่ายอย่างระมัดระวังเพราะเกรงว่าจะไม่พอใช้. |
เขม่น | รู้สึกไม่ชอบหน้า หรือไม่พอใจ. |
คนในอยากออก คนนอกอยากเข้า | ไม่พอใจภาวะที่เป็นอยู่ ขณะที่คนอื่นต้องการจะมาอยู่ในภาวะนั้น. |
ควักเนื้อ | ก. ขาดทุน เช่น ขายของงวดนี้นอกจากไม่มีกำไรแล้ว ยังต้องควักเนื้ออีกด้วย, เอาเงินของตัวเองจ่ายแทนไป เช่น เพื่อนฝากซื้อของแต่ให้เงินมาไม่พอ เลยต้องควักเนื้อ. |
คว่ำ | เรียกใบหน้าที่แสดงอาการไม่พอใจหรือโกรธจนไม่เงยหน้าขึ้นมองดู ว่า หน้าคว่ำ |
ค้อน ๒ | ก. แสดงความไม่พอใจด้วยการตวัดสายตา. |
คับ | ว. มีขนาดไม่พอดีกัน ทำให้แน่น ตึง หรือ ฝืด สวมหรือใส่ได้โดยยาก เช่น เสื้อคับ หมวกคับ แหวนคับ, ตรงข้ามกับ หลวม. |
เคือง | ก. ไม่พอใจและเริ่มรู้สึกโกรธ |
งอ | เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจ หรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้างอ. |
งอน ๑ | ก. แสดงอาการโกรธเคืองหรือไม่พอใจเพื่อให้เขาง้อ, ทำจริตสะบัดสะบิ้ง. |
ง้ำ | ว. ยื่นออกไปเกินปรกติจนปลายโน้มลง, โน้มไปทางหน้า เช่น สวมชฎางํ้าหน้า, เรียกหน้าที่มีสีหน้าแสดงอาการโกรธไม่พอใจหรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้างํ้า. |
เง้า | ว. เรียกหน้าซึ่งมีสีหน้าแสดงอาการโกรธ ไม่พอใจหรือไม่ได้อย่างใจเป็นต้น ว่า หน้าเง้า. |
จน ๑ | ว. อัตคัดขัดสน, ฝืดเคือง, มีเงินไม่พอยังชีพ. |
ฉิว | ก. รู้สึกไม่พอใจขึ้นมาทันที. |
ชักสีหน้า | ก. ทำสีหน้าโกรธไม่พอใจ, ชักหน้า ก็ว่า. |
ชักหน้า ๑ | ก. ทำสีหน้าโกรธไม่พอใจ เช่น นางนั่งก้มพักตร์แล้วชักหน้า (อิเหนา), ชักสีหน้า ก็ว่า. |
ชักหน้าไม่ถึงหลัง | ก. มีรายได้ไม่พอกับรายจ่าย. |
ซอยเท้า | ก. ย่ำถี่ ๆ เช่น ทหารซอยเท้าอยู่กับที่ เด็กซอยเท้าแสดงความไม่พอใจเมื่อไม่ได้ของเล่น |
ดีละ, ดีแล้ว | คำแสดงความไม่พอใจเป็นเชิงประชดหรือแดกดัน. |
ดุ | ก. ว่ากล่าวหรือทักท้วงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจเพราะมีความผิดหรือไม่อยู่ในโอวาทเป็นต้น. |
ดูรึ | อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูรึเห็นคนอื่นดีกว่าลูกเมีย. |
ดูหรือ | อ. เสียงที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ เช่น ดูหรือมาเป็นไปได้. |
เดียดฉันท์ | ก. ไม่พอใจด้วย, รังเกียจ, ลำเอียง. |
ตวาด | (ตะหฺวาด) ก. แผดเสียงด้วยความโกรธหรือไม่พอใจ. |
ตะคุ่ม, ตะคุ่ม ๆ | ว. ที่เห็นเป็นเงาดำ ๆ เพราะอยู่ในที่ที่แสงไม่พอหรือในระยะที่เห็นไม่ชัด. |
ตาขวาง | ขุ่นเคือง, ไม่พอใจ. |
ตาคว่ำ | ก. อาการค้อนที่แสดงว่าไม่พอใจมาก. |
ติดแห้ง | ก. ติดอยู่ในที่ที่นํ้าแห้งลง ไม่พอที่เรือจะไปได้. |
ติ๊ดเดียว, ติ๊ดหนึ่ง | ว. เล็กน้อย, เล็กนิดเดียว, เช่น แหวนวงนี้เพชรเม็ดติ๊ดเดียว น้ำในแก้วมีอยู่ติ๊ดหนึ่ง ไม่พอกิน, กระติ๊ด กระติ๊ดเดียว หรือ กระติ๊ดหนึ่ง ก็ว่า. |
ถูก ๑ | เป็นกริยาช่วยแสดงว่าประธานของประโยคเป็นผู้ถูกทำ (มักใช้ในข้อความที่ทำให้ผู้ถูกทำเดือดร้อนหรือไม่พอใจ) เช่น ถูกเฆี่ยน ถูกลงโทษ. |
ทรุด | (ซุด) ก. จมลงหรือลดลงกว่าระดับเดิมเพราะสิ่งรองรับมีกำลังต้านทานไม่พอ เช่น กำแพงทรุด สะพานทรุด, ยุบลง เช่น ดั้งจมูกทรุด, มีฐานะตกตํ่ากว่าเดิม เช่น ฐานะทางเศรษฐกิจกำลังทรุดหนัก, เรียกอาการไข้ที่หนักลงไปกว่าเดิม ว่า ไข้ทรุด. |
ที่ไหนได้ | ว. อะไรได้, หาใช่เช่นนั้นไม่, คำใช้แสดงความประหลาดใจ ไม่พอใจ ปฏิเสธ หรือแย้ง เป็นต้น เช่น ก พูดว่า หนังสือเล่มนี้ราคาถึง ๑๐ บาทไหม ข ตอบว่า ที่ไหนได้ ตั้ง ๕๐ บาท. |
ทุด | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจ ติเตียน หรือดูถูก. |
น้อยหรือ | คำเปล่งแสดงความไม่พอใจ เช่น น้อยหรือทำได้, ตัดพ้อต่อว่าด้วยความเอ็นดู เช่น น้อยหรือช่างว่า. |
น้ำขุ่นไว้ในน้ำใสไว้นอก | แม้จะไม่พอใจก็ยังแสดงสีหน้ายิ้มแย้ม. |
นิ่ว ๒ | ก. ทำหน้าย่นขมวดคิ้วแสดงความไม่พอใจหรือรู้สึกเจ็บเป็นต้น. |
บ๊ะ | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความไม่พอใจหรือประหลาดใจเป็นต้น, อุบ๊ะ ก็ว่า. |
บึ้งตึง | ว. อาการที่หน้าบึ้งเพราะโกรธหรือไม่พอใจเป็นต้น. |
บึ้งบูด | ว. อาการที่หน้าเง้าหน้างอแสดงอาการไม่พอใจ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
representation | ๑. การเป็นผู้แทน๒. หนังสือแสดงความไม่พอใจ (เบากว่าประท้วง)๓. การแถลงในนามของรัฐ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
coronary insufficiency | ภาวะเลือดเลี้ยงหัวใจไม่พอ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
cerebral insufficiency | ภาวะเลือดเลี้ยงสมองไม่พอ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
insufficiency, cerebral | ภาวะเลือดเลี้ยงสมองไม่พอ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
insufficiency, coronary | ภาวะเลือดเลี้ยงหัวใจไม่พอ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Agreement for the Application of the Bolivarian Alternative for the Peoples of our America and the People’s Trade Agreements | ความตกลงอัลบา เกิดขึ้นจากแนวความคิดของประธานาธิบดี Hugo Cha'vez แห่งเวเนซุเอลาหลังประกาศถอนตัวจากการเป็นสมาชิกประชาคมแอนเดียนเพื่อแสดง ความไม่พอใจที่โคลัมเบียและเปรูจัดทำความตกลงการค้าเสรีกับสหรัฐฯ ข้อตกลง ALBA จึงเป็นทางเลือกในการจัดทำความตกลงทางการค้าตามแนวสังคมนิยมแทนการจัดทำเขต การค้าเสรีแห่งทวีปอเมริกา (FTAA) ปัจจุบันมีประเทศสมาชิก 3 ประเทศ ได้แก่ เวเนซุเอลา คิวบา และโบลิเวีย [การทูต] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Unfavorable variance | ผลต่างที่ไม่พอใจ [การบัญชี] |
Acidosis, Respiratory | กรดจากการหายใจ; ภาวะไม่สมดุลย์ของกรดและด่าง; กรดในเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากการหายใจ; ความเป็นกรดในร่างกาย; ภาวะกรดสาเหตุจากการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจไม่พอ; อะศิโดสิสการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจ; กรดมากจากโรคปอด, ภาวะ; อะซิโดซิสจากการหายใจ; เลือดเป็นกรดจากการหายใจ; การเป็นกรดเนื่องจากการหายใจ [การแพทย์] |
Angina Pectoris | อาการปวดเค้นอก; แอนจินาเพ็คตอริส; แอนไจนา เพกตอริส, โรค; แอนไจนา เพกตอริส; โรคหัวใจขาดเลือด; เจ็บหน้าอก; โรคเจ็บหน้าอก; การเจ็บหน้าอก; แองไจนาเพคทอริส; โรคหลอดเลือดหัวใจหดตัว; กล้ามเนื้อหัวใจมีเลือดมาเลี้ยงไม่พอ; แองไจน่าเพคตอริส; กลุ่มอาการปวดเค้นอก; กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด [การแพทย์] |
Asynchronus Fashion | อัตราส่วนไม่พอเหมาะ [การแพทย์] |
Coronary Insufficiency | โรคหลอดเลือดเลี้ยงหัวใจอุดตัน, โลหิตมาเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจไม่พอ, หลอดเลือดโคโรนารี่ไม่ทำงาน [การแพทย์] |
Deficiency, Primary and Secondary | การขาดเพราะกินไม่พอหรือเพราะมีโรคอื่นๆด้วย [การแพทย์] |
Dissatisfaction | ความไม่พอใจ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การนอนไม่พอ | [kān nøn mai phø] (n, exp) EN: lack of sleep FR: manque de sommeil [ m ] |
ความไม่พอใจ | [khwām mai phøjai] (n) EN: discontent ; dissatisfaction ; unhappiness ; discontentment ; frustration FR: mécontement [ m ] |
หลักฐานไม่พอ | [lakthān mai phø] (x) EN: lack of evidence ; want proof |
ไม่พอ | [mai phø] (adj) EN: insufficient ; inadequate FR: insuffisant |
ไม่พอดี | [mai phødī] (adj) EN: ill-fitting ; not right |
ไม่พอใจ | [mai phøjai] (v, exp) EN: be pungent ; be angry FR: être insatisfait ; être mécontent |
ไม่พอใจ | [mai phøjai] (adj) FR: mécontent |
ไม่พอเพียง | [mai phøphīeng] (adj) FR: inadéquat |
ไม่พอที่ | [mai phø thī] (v, exp) EN: it is to be regretted ; it is regrettable FR: il est regrettable |
พยานหลักฐานไม่พอ | [phayān lakthān mai phø] (n, exp) EN: insufficient evidence |
เพราะหลักฐานไม่พอ | [phrǿ lakthān mai phø] (xp) EN: due to lack of evidence ; for want of proof |
รู้สึกไม่พอใจ | [rūseuk mai phøjai] (v, exp) EN: be displeased |
รู้สึกไม่พอใจ เป็นอย่างมาก(กับ) | [rūseuk mai phøjai pen yāng māk (kap)] (xp) EN: be very displeased (with) |
ทำให้ไม่พอใจ | [thamhai mai phøjai] (v, exp) EN: displease FR: mécontenter |
Longdo Approved EN-TH
Cancel Culture | [แคน'เซิล คัล'เชอะ] (n) การแบนหรือคว่ำบาตรคนดัง ศิลปิน องค์กร หรือใครก็ตามแต่ที่แสดงความคิดเห็น สนับสนุน หรือมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมลงในโซเชียลมีเดีย ที่ทำให้คนทั่วไปไม่พอใจหรือผิดหวังในตัวคนคนนั้น |
bossumer | (n, jargon) พฤติกรรมของ “ลูกค้า” ที่มีลักษณะเหมือนเจ้านายมากขึ้น คือ เอาแต่ใจ ขี้บ่น จู้จี้จุกจิก หากไม่พอใจแบรนด์หรือสินค้าก็จะโพสต์บ่นบนโซเชียลทันที เกิดดราม่าบนโลกออนไลน์ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abbreviated | (adj) ไม่พอเพียง |
allergic | (adj) ไม่ชอบ (ไม่เป็นทางการ), See also: ไม่พอใจ |
allergy | (n) ความไม่พอใจ, See also: ความไม่ชอบ, ความเกลียด |
asleep | (adj) ชา, See also: ไม่มีความรู้สึกเนื่องจากมีเลือดไปเลี้ยงไม่พอ |
argue back | (phrv) เถียงกลับ (อย่างไม่พอใจหรือหยาบคาย) |
as far as it goes | (idm) เท่าที่จะเป็นได้ (มักใช้กล่าวถึงสิ่งที่มีไม่พอ) |
bad | (adj) ไม่มีความสุข, See also: ไม่พอใจ, ผิดหวัง, Syn. unfavorable, unfortunate, Ant. favorable, pleasant |
bad blood | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. hatred, Ant. affection |
bad feeling | (n) ความเกลียดชัง, See also: ความไม่พอใจ, ความรู้สึกไม่ดีต่อกัน, Syn. bad blood |
bare | (adj) น้อยมาก, See also: แทบจะไม่พอ |
barely | (adv) เกือบไม่พอ, See also: น้อยมาก, Syn. hardly, Ant. greatly |
blasted | (adj) ใช้กล่าวเมื่อไม่พอใจบางสิ่ง |
blasted | (adv) ใช้กล่าวเมื่อไม่พอใจบางสิ่ง |
bummer | (n) สถานการณ์ที่น่าผิดหวังหรือไม่พอใจ |
be pressed for | (phrv) มี (เงิน, เวลาฯลฯ) ไม่พอ, Syn. press hard, push for |
be pushed for | (phrv) แทบจะมีไม่พอ, See also: ไม่เพียงพอ, Syn. press for, press hard |
bear a grudge against | (idm) ขุ่นเคือง (แต่เก็บไว้ในใจ) ต่อ, See also: ไม่พอใจ, Syn. have against, have it in for, be revengeful, resent |
blow up | (phrv) โกรธ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ไม่พอใจ, Syn. tell off |
boil over | (phrv) โกรธ (คำไม่เป็นทางการ), See also: ไม่พอใจ |
break into | (phrv) ใช้เงินอย่างไม่พอใจ, See also: ไม่อยากใช้เงิน, Syn. cut into |
bridle at | (phrv) ขุ่นเคือง, See also: ไม่พอใจ |
bridle up | (phrv) ขุ่นเคือง, See also: ไม่พอใจ, Syn. bristle up |
bristle up | (phrv) รำคาญ, See also: หงุดหงิด, รู้สึกถูกรบกวน, ไม่พอใจ, เคือง, Syn. bridle up |
cash-strapped | (adj) ที่มีเงินไม่พอ |
complaint | (n) ข้อที่ไม่พอใจ, Syn. grievance |
complaint | (n) ความไม่พอใจ |
complain about | (phrv) บ่นเกี่ยวกับ, See also: ไม่พอใจในเรื่อง, บ่นว่าในเรื่อง, Syn. bitch about, complain of, gripe about |
complain to | (phrv) ตำหนิ, See also: แสดงความไม่พอใจ |
curl up | (phrv) ไม่พอใจ, See also: ไม่ชอบ |
dissatisfy at | (phrv) ไม่พอใจในเรื่อง |
dissatisfy with | (phrv) ไม่พอใจกับ, See also: ไม่ยินดีกับ |
frown at | (phrv) ขมวดคิ้ว (ไม่พอใจหรือไม่เห็นด้วย) |
frown down | (phrv) ทำให้หน้าถมึงทึง, See also: ทำให้ไม่พอใจ |
deficient | (adj) ขาด, See also: ขาดแคลน, ไม่ครบ, ไม่พอเพียง, Syn. incomplete, inadequate |
deplore | (vt) คัดค้าน, See also: ตำหนิ, ติเตียน, ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, Syn. condemn, disapprove |
dirty | (adj) ไม่พอใจ, See also: ขุ่นเคือง |
disagreeable | (adj) ซึ่งมีอารมณ์เสีย, See also: ไม่พอใจ, Syn. unpleasant, Ant. pleasant, agreeable |
discontent | (n) ความไม่พอใจ, Syn. dissatisfaction, unhappiness |
discontent | (vt) ทำให้ไม่พอใจ |
discontented | (adj) ซึ่งไม่พอใจ, Syn. dissatisfied, disgrantled |
discontentedly | (adv) ด้วยความไม่พอใจ |
discontentment | (n) ความไม่พอใจ, Syn. dissatisfaction, unhappiness |
disgruntle | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, See also: ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้หงุดหงิด, Syn. discontent, disenchant, Ant. satisfy, fulfil |
disgruntled | (adj) ซึ่งทำให้ไม่พอใจ, See also: ซึ่งทำให้ขุ่นเคือง, Syn. grumpy, discontented |
disgruntlement | (n) ความไม่พอใจ, See also: ความหงุดหงิด, ความขุ่นเคือง, Syn. discontentment, disgruntlement |
displease | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, See also: ทำให้โกรธ |
displeasure | (n) ความไม่พอใจ, See also: ความโกรธ |
dissatisfaction | (n) ความไม่พอใจ, See also: ความขุ่นเคือง, Syn. grievance, gripe, grumble, Ant. compliment |
dissatisfied | (adj) ซึ่งไม่พอใจ, See also: ขุ่นเคือง, Syn. discontented, unhappy, disappointed, Ant. happy, contented, pleased |
dissatisfy | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, See also: ทำให้ขุ่นเคือง, Syn. discontent, dishearten, Ant. satisfy, gratify |
Hope Dictionary
abbreviated | (อะบรี' วิเอเทด) adj .สั้น, ทำให้สั้นเข้า, หายาก, ไม่พอเพียง, Syn. shortened |
allergy | (แอล' เลอจี) n. โรคภูมิแพ้ (เช่น ไข้ละ-อองฟาง, หอบ, หืด, ภาวะผิวหนังเป็นผื่น) , ความไม่พอใจ -allergic adj. (hypersensitivity) |
antipathetic | (al) (แอนทีพาเธท' ทิค, -เคิล) adj. เป็นปรปักษ์ต่อ, ไม่ชอบ, ไม่ลงรอยต่อ, เกลียด, ไม่พอใจกับ, ทำให้มีความรู้สึกดังกล่าว (averse) |
antipathy | (แอนทิพ' พะธี) n. ความไม่ลงรอย, ความไม่พอใจ, ความเกลียด, สิ่งที่ไม่ลงรอย, สิ่งที่ไม่ชอบ, Syn. hostility, hatred, enmity |
aversion | (อะเวอ'เชิน) n. ความรังเกียจ, ความไม่ชอบ, คำไม่พอใจ. -aversive adj. |
chide | (ไชดฺ) { chided, chiding, chides } vt. ติเตียน, ตำหนิ, ด่า, ดุ, ตะเพิด, พัดเสียงดัง (ลม) , คำราม, แสดงความไม่พอใจ, Syn. rebuke |
deficiency | (ดิฟิช'เชินซี) n. ภาวะที่ขาดแคลน, ความขาดแคลน, ความไม่สมบูรณ์, ความไม่เพียงพอ, ปริมาณที่ขาดแคลน, ส่วนที่ไม่พอ, Syn. lack |
disaffection | (ดิสอะเฟค'เชิน) n. ความไม่พอใจ, ความไม่ซื่อสัตย์, ความบาดหมาง, ความเหินห่าง |
disapproval | (ดิสอะพรู'เวิล) n. ความไม่เห็นด้วย, การไม่อนุญาต, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ, สีหน้าความรู้สึกหรือคำพูดที่ไม่เห็นด้วย, Syn. blame |
disapprove | (ดิสอะพรูฟว') vt. ไม่เห็นด้วย, ไม่พอใจ, รังเกียจ, ไม่อนุญาต., See also: disapprover n. ดูdisapprove, Syn. criticize |
discommend | (ดิสคะเมนดฺ') vt. แสดงความไม่พอใจ, ไม่เห็นด้วย |
discontent | (ดิสคันเทนทฺ') adj. ไม่พอใจ. n. ความไม่พอใจ vt. ทำให้ไม่พอใจ |
discontented | (ดิสคันเทน'ทิด) adj. ลำบากใจ, ไม่พอใจ, ไม่สบายใจ., Syn. dissatisfied, frustrated, Ant. contented |
disgruntle | (ดิสกรัน'เทิล) ว vt. ทำให้ไม่พอใจ, ทำให้ไม่สบายใจ., See also: disgruntlement n. |
displease | vt. vi., vt. ไม่พอใจ, ทำให้ไม่พอใจ., See also: displeasingly adv. ดูdisplease, Syn. vex |
displeasing | adj. ซึ่งไม่พอใจ, กริ้ว, น่าเกลียด, Syn. disagreeable |
displeasure | n. ความไม่พอใจ, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่สบายใจ, สิ่งที่ทำให้ไม่พอใจ vt. ไม่พอใจ, ทำให้ไม่พอใจ |
dissatisfaction | n. ความไม่พอใจ, ความไม่อิ่ม, Syn. discontent |
dissatisfied | (ดิสแซท'ทิสไฟดฺ) adj. ไม่พอใจ, ไม่อิ่ม, Syn. discontented, displeased, Ant. contented |
distaste | (ดิสเทส') n. ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ. vt. ไม่ชอบ, ไม่พอใจ, รังเกียจ, Syn. aversion, dislike, Ant. liking, taste |
distasteful | (ดิสเทส'ฟูล) adj. ไม่พอใจ, น่ารังเกียจ, น่าเบื่อหน่าย, ไม่ถูกรส., See also: distastefulness n., Syn. disgusting, repugnant |
dysphoria | (ดิสโฟ'เรีย) n. อาการไม่พอใจกังวลใจ |
fie | (ไฟ) interj. คำอุทานที่แสดงความไม่พอใจ |
frown | (เฟราน) vi. คิ้วขมวด, ทำหน้านิ่วคิ้วขมวด, บึ้ง, แสดงความไม่พอใจ, ถมึงตึง. vt. ทำหน้านิ่วคิ้วขมวด. n. หน้านิ่วคิ้วขมวด., See also: frowner n. frowningly adv., Syn. sulk, scowl |
glower | (โกล'เออะ) vi. จ้องเขม็งอย่างถมึง n. หน้าตาที่แสดงความไม่พอใจหรือความโกรธ., See also: gloweringly adv., Syn. scowl, frown, lower |
grievance | (กรี'เวินซฺ) n. ความไม่พอใจ, ความข้องใจ, ข้อข้องใจ, Syn. affliction, injury |
groan | (โกรน) n., v. (ส่ง) เสียงครวญคราง, เสียงพึมพำแสดงความไม่พอใจหรืออื่น ๆ , ปรารถนา, ถูกบีบคั้น, รับน้ำหนักมากเกินไป, See also: groaner n. groaningly adv., Syn. lament, moan |
grouch | (เกราชฺ) vi. บ่น, แสดงความไม่พอใจ n. คนขี้บ่น, คนที่มีอารมณ์บูดบึ้ง, Syn. complain |
grouchy | (เกรา'ชี) adj. บูดบึ้ง, ไม่พอใจ, คับอกคับใจ, อารมณ์ไม่ดี., See also: grouchily adv. grouchiness n., Syn. ill-tempered, sulky |
grunt | (กรันทฺ) vi., vt. ทำเสียงทางจมูกแสดงความไม่พอใจ, ทำเสียงฮึดฮัด, บ่น. n. เสียงฮึดฮัดแสดงความไม่พอใจ, ทหารราบ., See also: gruntingly adv., Syn. grumble |
grunter | (กรัน'เทอะ) n. หมู, สัตว์ที่ทำเสียงทางจมูก, คนที่ทำเสียง ทางจมูกแสดงความไม่พอใจ |
half-baked | adj. ซึ่งปิ้งหรือย่างไม่เพียงพอ, ซึ่งตระเตรียมไม่พอ, ไม่น่าเชื่อถือ, พิลึกพิกล, บ้า |
hard space | (ฮาร์ดสเปซ) หมายถึงที่ว่างที่ถือเสมือนไม่ใช่ที่ว่าง ใช้เฉพาะในโปรแกรมประมวลผลคำ ในกรณีที่พิมพ์คำบางคำที่มีที่ว่างระหว่างคำ เช่น World War II หรือ พิมพ์วันที่ เช่น May 7 เช่นนี้ ถ้าบังเอิญพิมพ์คำนี้มาถึงปลายบรรทัด แต่ไม่มีที่ว่างพอจะพิมพ์ทั้งคำ คอมพิวเตอร์จะแยกนำคำหลังช่องว่างมาขึ้นบรรทัดใหม่ ซึ่งจะเป็นการไม่ถูกต้อง เราจึงต้องกำหนดให้ที่ว่างที่เห็นนั้นเป็นฮาร์ดสเปซ เพื่อให้โปรแกรมไม่แยกเป็นคนละบรรทัด ถ้าที่ไม่พอในบรรทัดบน ก็จะนำลงมาบรรทัดใหม่ทั้งคำ |
hiss | (ฮิล) n., v. (เปล่งเสียง) เสียงฟู่, เสียงฟ่อ, เสียงเดือด, เสียงไม่พอใจ, See also: hisser n. hissingly adv. |
hoot | (ฮูท) v., n. (เสียง) ร้องเสียงอย่างนกเค้าแมว, ตะโกนออกอย่างไม่เห็นด้วยหรือเย้ยหยัน, ขับออก, ไล่. interj. คำอุทานแสดงความไม่พอใจ, See also: hooter n., Syn. jeer |
humor | (ฮิว'เมอะ) n. ความตลกขบขัน, อารมณ์ขัน -Phr. (out of humo (u) r ไม่พอใจ, เคือง, ฉุน) . vt. ทำให้พึงพอใจ, ยอมตาม, ปรับตัวเข้ากับ., See also: humorful, humourful adj., Syn. pleasantry, wit |
humour | (ฮิว'เมอะ) n. ความตลกขบขัน, อารมณ์ขัน -Phr. (out of humo (u) r ไม่พอใจ, เคือง, ฉุน) . vt. ทำให้พึงพอใจ, ยอมตาม, ปรับตัวเข้ากับ., See also: humorful, humourful adj., Syn. pleasantry, wit |
indignant | (อินดิก' เนินทฺ) adj. เดือดดาล, ไม่พอใจมาก, ขุ่นเคือง, Syn. incensed, irate |
indignation | (อินดิกเน' เชิน) n. ความเดือดดาล, ความไม่พอใจมาก, ความขุ่นเคือง, Syn. wrath |
indisposed | (อินดิสโพซทฺ) adj. ป่วย, ไม่สบาย, ไม่เต็มใจ, ไม่สมัครใจ, ไม่พอใจ, ไม่ชอบ., See also: indisposedness n., Syn. unwell, ailing, Ant. healthy, well, fit |
indisposition | (อินดิสพะซิซ'เชิน) n. ความป่วย, ความไม่สบาย, ความไม่พอใจ, ความไม่เต็มใจ |
inordinate | (อินออร์'ดิเนท) adj. ไม่พอควร, มากเกิน, เกินควร, ไม่มีการบังคับตัวเอง, ไม่เป็นระเบียบ., See also: inordinateness n. |
malcontent | (แมล`คันเทนทฺ) adj. ไม่พอใจ |
meager | (มี'เกอะ) adj. ขาดแคลน, น้อย, ไม่พอเพียง, ยากจน, ผอม, See also: meagerness n. meagreness n., Syn. poor, scanty |
meagre | (มี'เกอะ) adj. ขาดแคลน, น้อย, ไม่พอเพียง, ยากจน, ผอม, See also: meagerness n. meagreness n., Syn. poor, scanty |
mediocre | (มีดิโอ'เคอะ) adj. เกี่ยวกับคุณภาพปานกลาง, ไม่ดีไม่เลว, สามัญ, เกือบไม่พอ |
mediocrity | (มีดีออค'ริที) n. คุณภาพที่ปานกลาง, ความสามัญ, ความไม่ดีไม่เลว, ความเกือบไม่พอ |
narrow | (แน'โร) adj. แคบ, จำกัด, คับแคบ, เกือบไม่สำเร็จ, เกือบไม่พอ, ระมัดระวัง, ประหยัด, ขี้เหนียว vi. กลายเป็นแคบลง vt. ทำให้แคบลง |
offend | (อะเฟนดฺ') n. กระทำผิด, ละเมิด, รุกราน, ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ., See also: offendable adj. offendible adj. offender n., Syn. fault, vice, attack |
offensive | (อะเฟน'ซิฟว) adj. ซึ่งทำให้ไม่พอใจ, ซึ่งทำให้ขุ่นเคือง, ก้าวร้าว, ไม่พอใจ, ล่วงละเมิด, น่ารังเกียจ, เกี่ยวกับการละเมิด, เกี่ยวกับการละเมิด, เกี่ยวกับการกระทำผิด., See also: offensiveness n. |
Nontri Dictionary
deficient | (adj) ขาดแคลน, บกพร่อง, ไม่พอ |
disaffected | (adj) ไม่เป็นมิตร, ไม่ซื่อสัตย์, ไม่พอใจ, เหินห่าง |
disaffection | (n) ความไม่เป็นมิตร, ความไม่ซื่อสัตย์, ความไม่พอใจ, ความเหินห่าง, ความบาดหมาง |
disapprove | (vt) ไม่พอใจ, ไม่ชอบ, ไม่อนุญาต, รังเกียจ |
discontent | (n) ความไม่พอใจ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่สบอารมณ์ |
discontent | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, ทำให้ไม่ถูกใจ, ทำให้ไม่สบอารมณ์ |
disfavour | (n) ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่เห็นด้วย |
disfavour | (vt) ไม่พอใจ, ไม่โปรด, กริ้ว, ไม่ชอบ, ไม่ถูกใจ, ไม่เห็นด้วย |
displease | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, ไม่ชอบ, ไม่ถูกใจ, โกรธ, ไม่เห็นด้วย |
displeasure | (n) ความไม่พอใจ, ความไม่ชอบ, ความไม่ถูกใจ, ความไม่สบายใจ |
dissatisfaction | (n) ความไม่พอใจ, ความไม่จุใจ, ความไม่อิ่ม, ความไม่ถูกใจ |
dissatisfy | (vt) ทำให้ไม่พอใจ, ทำให้ไม่จุใจ, ทำให้ไม่อิ่ม, ทำให้ไม่ถูกใจ |
distaste | (n) ความไม่ถูกใจ, ความไม่พอใจ, ความรังเกียจ |
frown | (n) การขมวดคิ้ว, ความถมึงทึง, การถลึงตา, ความบึ้งตึง, ความไม่พอใจ |
grievance | (n) ความเศร้าโศก, ข้อข้องใจ, ความไม่พอใจ |
grouch | (vi) ไม่สบายใจ, มีใจคอหงุดหงิด, บ่น, ไม่พอใจ |
grouchy | (adj) หงุดหงิด, พร่ำบ่น, ไม่สบายใจ, ไม่พอใจ, อารมณ์ไม่ดี |
immoderate | (adj) มากเกินไป, เลยเถิด, เกินเลย, ไม่พอเหมาะ |
inadequacy | (n) ความไม่เพียงพอ, ความไม่พอ |
inadequate | (adj) ไม่พอเพียง, ไม่เพียงพอ, ไม่พอ |
indigent | (adj) ยากจน, ขัดสน, ไม่พอใช้, ขาดแคลน |
indignant | (adj) ไม่พอใจ, ขุ่นเคือง, เดือดดาล |
indignation | (n) ความไม่พอใจ, ความขุ่นเคือง, ความเดือดดาล |
indispose | (vt) ทำให้ไม่เต็มใจ, ทำให้ไม่พอใจ, ทำให้ไม่สบาย, ทำให้ไม่สามารถ |
indisposed | (adj) ไม่เต็มใจ, ป่วย, ไม่พอใจ, ไม่ชอบ |
indisposition | (n) ความไม่เต็มใจ, อาการป่วย, ความไม่ชอบ, ความไม่พอใจ |
insufficiency | (n) ความไม่เพียงพอ, ความไม่พอเพียง, ความขาดแคลน |
insufficient | (adj) ไม่เพียงพอ, ไม่พอเพียง, ขาดแคลน |
lack | (vt) ไม่มี, ขาดแคลน, บกพร่อง, ไม่พอ |
malcontent | (adj) ไม่พอใจ, ไม่สบายใจ |
meagre | (adj) น้อย, ผอม, ขาดแคลน, ไม่พอเพียง |
offend | (vt) ทำให้ขุ่นเคือง, ทำให้ไม่พอใจ, รุกราน, ละเมิด, ทำผิด |
repine | (vi) โอดครวญ, เศร้าใจ, บ่น, ไม่พอใจ |
reproach | (n) ความไม่พอใจ, คำติเตียน, การต่อว่า, การตำหนิ, การประณาม |
reproach | (vt) ไม่พอใจ, ติเตียน, ต่อว่า, ตำหนิ, ดุด่า, ประณาม |
resent | (vt) ไม่พอใจ, โกรธ, ขุ่นเคือง, แค้นใจ |
resentful | (adj) ไม่พอใจ, โกรธ, ขุ่นเคือง, แค้นใจ |
sour | (adj) ไม่มีรสชาติ, เปรี้ยว, ไม่พอใจ, บูดบึ้ง, ขุ่นเคือง |
undernourished | (adj) ได้อาหารไม่พอเพียง, ได้อาหารน้อย, ขาดอาหาร |
unwelcome | (adj) ไม่พึงปรารถนา, ไม่พอใจ, ไม่ต้อนรับ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
tut! | (n, vi) คำอุทานแสดงความไม่พอใจ ดูหมิ่นหรืออื่นๆ n.คำอุทาน "tut".-vi.คำอุทานคำว่า "tut", See also: shucks!; phew!; pshaw!; fie, Syn. shucks!; phew!; pshaw!; fie!; tsk!; hang it all! |
zeng | เป็นคำที่แสดงถึงอาการเซ็ง ไม่พอใจ, Syn. zeng hiahia |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
品薄 | [しなうす, shinausu] TH: สินค้ามีน้อยจนดูท่าทางไม่พอกับความต้องการ |
Longdo Approved DE-TH
langen | (vi, slang) |langte, hat gelangt| เพียงพอ เช่น 20 Euro langt mir nicht. ยี่สิบยูโรไม่พอสำหรับฉัน, Syn. reichen |
Longdo Approved FR-TH
pas assez | (adv) ไม่พอ เช่น ce n'est pas assez cuit. นี่มันยังสุกไม่พอ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0586 seconds, cache age: 3.47 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม