447 ผลลัพธ์ สำหรับ *โต้*
ภาษา
หรือค้นหา: โต้, -โต้-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
โต้ | (n) kind of chopping knife, Syn. อีโต้, Example: ผมชำเลืองมองแม่ครัวสาวเห็นกำลังนั่งลับอีโต้ พลิกตำราหาลู่ทางอย่างขะมักเขม้น, Count Unit: เล่ม, Thai Definition: มีดชนิดหนึ่ง สันหนา หัวโต |
โต้ | (v) buffet, See also: counter, Syn. ต้าน, ทวน, สวน, Example: วัดริมหาด ตั้งตระหง่านอยู่ริมทะเล โต้คลื่นลมมาเป็นเวลากว่า 1 พันปี |
โต้ง | (n) big cock, Example: ไอ้โต้งโก่งคอขันดังกังวานทั่วหุบเขา ด้วยหลงเวลา, Count Unit: ตัว, Thai Definition: ไก่อู ไก่ตะเภาตัวผู้ขนาดใหญ่ หรือเอี่ยวพญาของไพ่ตองไทย |
โต้ง | (adj) big, See also: overgrown, Syn. ใหญ่, เบิ้ม, Ant. จิ๋ว, เล็ก, เจียด, Thai Definition: โตใหญ่ในพวก |
ตีโต้ | (v) counterattack, See also: strike back, make a counterattack, retaliate, hit back, Syn. ตอบโต้, โต้กลับ, ตีกลับ, บุกกลับ, Example: ตชด.ตีโต้ทหารต่างชาติที่บุกเข้ามาให้พ้นชายแดน, Thai Definition: ตีกลับไป |
อีโต้ | (n) chopping knife, Syn. มีดโต้, ปังตอ, Count Unit: เล่ม |
โต้งๆ | (adv) clearly, See also: vividly, obviously, Syn. ชัดๆ, จะๆ, ชัดแจ้ง, Example: เขาเห็นโต้งๆ ว่าเธอทำผิด, Thai Definition: อย่างชัดๆ |
โต้โผ | (n) head of an entertaining group, See also: director, producer of the play, Syn. ตั้วโผ, Example: พวกเขาเหล่านั้นตกลงกับโต้โผว่าเสร็จจากนี่ให้ไปเล่นต่อให้หน่อยที่หน้าศาลเจ้าพ่อ, Thai Definition: หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, Notes: (จีน) |
โต้โผ | (n) lead, Syn. ตั้วโผ, หัวแรง, หัวเรี่ยวหัวแรง, Example: ลูกชายใหญ่เป็นโต้โผจัดงานวันเกิดให้พ่อ, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้เป็นกำลังสำคัญในการทำกิจการต่างๆ, Notes: (จีน), (ปาก) |
ตอบโต้ | (v) retort, See also: rebut, refute, confute, fight back, hit back, counterattack, strike back, Syn. โต้ตอบ, แก้แค้น, สวนตอบ, โต้กลับ, Ant. นิ่งเฉย, Example: รัฐบาลไทยตอบโต้การรุกรานของเขมรแดงด้วยการยิงปืนใหญ่กลับไปยังฝั่งกัมพูชา, Thai Definition: โต้กลับไป, ตอบแทนการกระทำของฝ่ายตรงข้าม |
โต้ตอบ | (v) reply, See also: answer, respond, Example: แม้ผมต้องใช้เวลาโต้ตอบกับเขาทั้งๆ ที่เขียนอังกฤษได้ช้า แต่ก็ได้ความรู้เพิ่มขึ้น, Thai Definition: มีหนังสือไปมา, ตอบกันไปมาในเรื่องนั้นๆ |
โต้ตอบ | (v) counter, See also: respond, oppose, react, retaliate, Syn. ตอบโต้, Ant. เฉย, เฉยเมย, เฉยชา, Example: ถึงจะเจ็บปวดอย่างไร พี่ก็ไม่คิดจะโต้ตอบน้องชาย, Thai Definition: ทำต่ออีกฝ่ายหนึ่งเช่นเดียวกัน |
โต้กลับ | (v) respond, See also: react, Syn. ตอบโต้กลับ, Example: คู่กรณีโต้กลับอย่างมั่นใจในความถูกต้องของฝ่ายตน, Thai Definition: ตอบกลับไปหรือแย้งกลับไปยังฝ่ายนั้น |
โต้กลับ | (v) counterattack, See also: retaliate, Example: ทั้งคู่โต้กลับกันไปมาอย่างไม่มีใครยอมแพ้ใคร, Thai Definition: ตีลูกกลับไปให้ฝ่ายตรงข้าม (ใช้ในกีฬา) |
โต้คารม | (v) argue, See also: dispute, debate, Syn. ปะทะคารม, ประคารม, Example: กว่าจะเข้าวาระที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน ต้องเสียเวลาโต้คารมคารมระหว่างส.ส.พรรคฝ่ายค้านและส.ส.พรรครัฐบาล 2 ชั่วโมง, Thai Definition: พูดโต้ตอบกันไปมาด้วยถ้อยคำลึกซึ้ง |
โต้รุ่ง | (adj) night, Example: บางลำพูมีร้านค้าขายเสื้อผ้า ของกิน เป็นตลาดโต้รุ่ง, Thai Definition: เกี่ยวกับลักษณะที่มี ทำ หรือเป็นอยู่ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า, Notes: (ปาก) |
โต้รุ่ง | (adv) until dawn, See also: till the morning, through the night, Example: คืนนี้เอาเหล้ามากินให้โต้รุ่งเลย, Thai Definition: ลักษณะที่มี ทำ หรือเป็นอยู่ตลอดคืนจนถึงรุ่งเช้า, Notes: (ปาก) |
โต้วาที | (n) debate, Syn. การโต้วาที, Example: โต้วาทีนัดนั้นสนุกมาก, Count Unit: นัด, ครั้ง, Thai Definition: แสดงคารมโดยมีฝ่ายเสนอและฝ่ายค้าน ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง |
โต้แย้ง | (v) argue, See also: counter, oppose, contradict, dispute, Ant. เห็นด้วย, คล้อยตาม, Example: สถาปนิกโต้แย้งวิศวกรอย่างเอาจริงเอาจัง, Thai Definition: แสดงความเห็นขัดแย้งกัน |
กล่าวโต้ | (v) retort, See also: reply, answer, respond, counter, Syn. โต้, ตอบกลับ, โต้ตอบ, Example: เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่ออกมากล่าวโต้ข้อกล่าวหาและชี้แจงข้อเท็จจริง |
โต้คลื่น | (v) counter waves, See also: ride the waves (boat, ship), Thai Definition: ฟันฝ่าคลื่น |
โต้เถียง | (v) argue, See also: debate, dispute, Example: ผมเป็นคนค่อนข้างดื้อเอาการอยู่ ถึงแม้จะมีนิสัยค่อนข้างสงบ ไม่ชอบโต้เถียงกับใคร แต่ผมก็ถือว่าเรื่องนี้ค่อนข้างสำคัญ, Thai Definition: เถียงกันไปมา |
โต้เเย้ง | (v) dispute, See also: argue, debate, quarrel, controvert, Syn. โต้เถียง, แย้ง |
โล้งโต้ง | (adj) naked, See also: nude, bare, Syn. โล่งโต้ง, โล่งโจ้ง, ล่อนจ้อน, เปล่าเปลือย, Example: เขาพากายโล้งโต้งวิ่งไปทั่วห้องอย่างไม่สนใจสายตานับสิบคู่ที่มองมา, Thai Definition: เปิดเผยชัดเจน, โล่งจนเห็นได้ทั่ว |
การตอบโต้ | (n) retort, See also: reprisal, response, refutation, rebuttal, counterattack, Syn. การโต้ตอบ, การแก้แค้น, การตอกกลับ |
การโต้ตอบ | (n) conversation, See also: talk, discussion, debate, Example: ระบบยูนิกซ์ได้สร้างคำสั่งในรูปแบบของการโต้ตอบสนทนากันระหว่างผู้ใช้ 2 คน, Thai Definition: การตอบกันไปมาในเรื่องนั้นๆ |
การโต้ตอบ | (n) counter, See also: response, reply, retort, return, counterattack, Syn. การโต้เถียง, Example: ฝ่ายรัฐบาลเตรียมรับการโต้ตอบจากฝ่ายค้านในการอภิปราย |
ไม่โต้ตอบ | (v) have no reaction, See also: be cold, be passive, be indifferent, Syn. เฉยเมย, เฉย, ไม่ตอบโต้, Ant. โต้ตอบ, Example: ฝ่ายรัฐบาลไม่โต้ตอบนักข่าวแต่อย่างใด, Thai Definition: ไม่แสดงปฏิกริยาตอบ |
ข้อโต้แย้ง | (n) argument, See also: dispute, debate, controversy, Syn. ข้อพิพาท, ข้อโต้เถียง, Example: ฝ่ายค้านมีข้อโต้แย้งที่จะขอคัดค้านฝ่ายเสนอ, Count Unit: ข้อ, Thai Definition: เนื้อหาสาระของการโต้แย้ง |
การโต้เถียง | (n) controversy, See also: dispute, disputation, debate, argument, discussion, Syn. การถกเถียง, การเถียง, การโต้แย้ง, Example: การโต้เถียงกันของผู้ใหญ่เป็นตัวอย่างที่ไม่ดีกับเด็กๆ |
ตลาดโต้รุ่ง | (n) 24-hour market, Example: ในย่านสุขุมวิทมีตลาดโต้รุ่งอยู่เป็นจำนวนมาก, Thai Definition: ตลาดที่ขายอาหารตลอดคืน |
กระดานโต้คลื่น | (n) surfboard, Example: พ่อเล่นกระดานโต้คลื่นในทะเลอย่างสนุกสนาน, Count Unit: แผ่น, Thai Definition: กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่น โดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป |
ปฏิกิริยาตอบโต้ | (n) respond, See also: react, Syn. ปฏิกิริยาโต้ตอบ, Example: รัฐบาลอินเดียมีปฏิกิริยาตอบโต้การทดลองนิวเคลียร์ของปากีสถานอย่างรุนแรง, Thai Definition: การกระทำโต้กลับไป, การกระทำตอบสนองกลับไป |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระดานโต้คลื่น | น. กระดานที่มีลักษณะแคบและยาว ใช้เล่นบนคลื่นโดยผู้เล่นยืนทรงตัวบนแผ่นกระดานแล้วให้คลื่นหนุนเคลื่อนไป. (อ. surfboard), เรียกการเล่นเช่นนั้น ว่า การเล่นกระดานโต้คลื่น. |
กะโต๊ก | ว. เสียงไก่ตัวผู้ร้องเมื่อตกใจ. |
กะโต้งโห่ง | ว. เสียงนกยูงร้อง. |
กินโต๊ะ | ก. กินเลี้ยงด้วยอาหารอย่างดีแบบนั่งโต๊ะ, โดยปริยายหมายความว่า รุมทำร้าย. |
ขึ้นโต๊ะ | ว. เรียกลักษณะของสิ่งที่ดีมีราคา, (ปาก) เรียกลักษณะของสิ่งที่ไม่มีราคาแต่ยกย่องให้เป็นสิ่งที่มีราคา. |
ช้อนโต๊ะ | น. ช้อนด้ามยาวขนาดใหญ่ ใช้ตักอาหารสำหรับเสิร์ฟ, มาตราตวงมีขนาดจุ ๑๕ มิลลิลิตร เช่น ยานี้กินครั้งละ ๑ ช้อนโต๊ะ. |
ดะโต๊ะยุติธรรม | น. ข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมซึ่งได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้มีอำนาจและหน้าที่ในการวินิจฉัยชี้ขาดข้อกฎหมายอิสลาม. |
เดินโต๊ะ | ก. ยกอาหารและเครื่องดื่มมาให้ผู้นั่งโต๊ะกิน. |
ตอบโต้ | ก. โต้กลับไป, ตอบแทนการกระทำของฝ่ายตรงข้าม, แก้แค้น. |
ตั้งโต๊ะ | ก. จัดโต๊ะอาหาร |
ตั้งโต๊ะ | จัดโต๊ะหมู่บูชา. |
ตีโต้ | ก. ตีกลับไป. |
โต้ ๑ | น. ชื่อมีดชนิดหนึ่ง สันหนา หัวโต, อีโต้ ก็เรียก. |
โต้ ๒ | ก. ต้าน เช่น โต้คลื่น โต้ลม, ตอบกลับไป เช่น เขาตีลูกเทนนิสมา ก็ตีโต้กลับไป. |
โต้คารม | ก. แสดงคารมตอบกันไปมา. |
โต้ตอบ | ก. มีหนังสือไปมา, ตอบกันไปมาในเรื่องนั้น ๆ. |
โต้เถียง | ก. เถียงกันไปมา. |
โต้แย้ง | ก. แสดงความเห็นแย้งกัน. |
โต้รุ่ง | ว. อยู่ตลอดคืนจนกระทั่งเช้า. |
โต้วาที | ก. แสดงคารมโดยมีฝ่ายเสนอและฝ่ายค้านในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. |
โต่ง | น. ที่สุดของสิ่งที่เป็นแถวเป็นแนว เช่น ปลายโต่ง ท้ายโต่ง สุดโต่ง |
โต่ง | ท่อนไม้ที่ผูกติดอยู่บนแพสุดท้าย สำหรับต๋งกับหลักบนริมฝั่งเพื่อยึดแพไม่ให้น้ำพัดลอยไป. |
โต้ง | ว. โตใหญ่ในพวก. |
โต้ง | น. เรียกไก่อูไก่ตะเภาตัวผู้ขนาดใหญ่ หรือเอี่ยวพญาของไพ่ตองไทย ว่า อ้ายโต้ง. |
โต้ง ๆ | ว. อย่างชัด ๆ เช่น เห็นโต้ง ๆ. |
โต๊ด | น. ผู้หรือวิธีรับกินรับใช้ในการพนันแข่งม้าเป็นต้น. |
โต้โผ | น. หัวหน้าคณะมหรสพ มีละคร งิ้ว เป็นต้น, ตั้วโผ ก็เรียก, โดยปริยายหมายถึงหัวหน้าหรือหัวเรี่ยวหัวแรงในการทำกิจกรรมต่าง ๆ. |
โต้หลง | ก. สงเคราะห์, ช่วย. |
โต๊ะ ๑ | น. สิ่งที่ทำด้วยไม้เป็นต้น พื้นราบ เป็นรูปต่าง ๆ มีขาสำหรับเป็นที่เขียนหนังสือ ตั้งเครื่องบูชา หรือ วางสิ่งของต่าง ๆ เรียกชื่อต่าง ๆ ตามวัตถุที่ทำ เช่น โต๊ะหิน โต๊ะมุก ตามรูปร่าง เช่น โต๊ะกลม โต๊ะสี่เหลี่ยม ตามวัตถุประสงค์ที่ใช้ เช่น โต๊ะเขียนหนังสือ โต๊ะประชุม, ลักษณนามว่า ตัว ถ้าเป็นโต๊ะอาหารจีนเป็นชุด ลักษณนามว่า โต๊ะ. |
โต๊ะโขก | น. แบบการจัดโต๊ะตั้งเครื่องบูชาอย่างจีนแบบหนึ่ง. |
โต๊ะแชร์ | น. การสังสรรค์ของผู้เล่นแชร์เพื่อเปียแชร์โดยการกินโต๊ะ ตามปรกติผู้เปียแชร์ได้จะเป็นผู้จ่ายค่าอาหาร. |
โต๊ะหมู่, โต๊ะหมู่บูชา | น. ที่ตั้งเครื่องบูชา ประกอบด้วยม้า ๔ ขาหลายตัวคุมกันเป็นหมู่ มีหมู่ ๓ หมู่ ๔ หมู่ ๕ หมู่ ๗ หมู่ ๙ และหมู่ ๑๑, เดิมเรียกว่า ม้าหมู่บูชา. |
โต๊ะ ๒ | น. ภาชนะมีเชิงสูงรูปคล้ายพาน มีพื้นตื้นสำหรับวางหรือใส่สิ่งของ มักทำด้วยโลหะ เช่น เงิน ทองคำ ทองเหลือง, โตก ก็ว่า, ลักษณนามว่า ใบ หรือ ลูก. |
โต๊ะเท้าช้าง | น. ภาชนะโลหะชนิดหนึ่งคล้ายโตก มีขาใหญ่หนาเทอะทะ ๓ ขา. |
โต๊ะ ๓ | น. คำเรียกคนสูงอายุหรือคนที่ได้รับความนับถือ. |
โต๊ะครู | น. ผู้อาวุโสที่มีความรู้ทางศาสนาอิสลาม. |
โต๊ะอิหม่าม | (-หฺม่าม) น. ผู้อาวุโสที่เป็นผู้นำในพิธีทางศาสนาอิสลาม และมักเป็นหัวหน้าชุมชนด้วย. |
โต๊ะครึม | น. การละเล่นบูชาครูหมอตายายเพื่อให้มาเข้าทรงเมื่อมีคนเจ็บไข้ได้ป่วย เพราะเชื่อว่าการป่วยนั้นเกิดจากตายายที่ล่วงลับไปแล้วมาทำโทษ. |
ใต้โต๊ะ | ว. เรียกเงินที่แอบให้กันโดยมิชอบ โดยปรกติจะให้กันใต้โต๊ะ. |
ท้ายโต่ง | น. ท้ายที่สูงโด่งขึ้นไป (ใช้แก่เรือ). |
ประชุมโต๊ะกลม | น. การประชุมปรึกษาหารือหรืออภิปราย ซึ่งจัดที่นั่งล้อมกันเป็นวงกลม ไม่มีประธาน ทุกคนมีสิทธิ์เสนอความคิดเห็นเท่าเทียมกัน. |
พระยาโต๊ะทอง | น. ข้าราชการที่ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยา และได้รับพระราชทานโต๊ะทอง (พานก้นตื้น) เป็นเครื่องสำหรับยศ, ผู้ที่ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ตระกูลจุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ มีบรรดาศักดิ์เสมอตำแหน่งที่ได้รับโต๊ะทอง. |
มีดโต้ | น. มีดขนาดใหญ่ กลาง และเล็ก ใบมีดมีรูปร่างคล้ายน้ำเต้าผ่าเสี้ยว หัวโต สันหนา โคนมีดแคบ ด้ามทำด้วยไม้เป็นบ้องต่อออกไปจากตัวมีด ขนาดสั้นพอมือกำ มีดโต้ขนาดใหญ่และกลาง ใช้ฟันหรือผ่าทั่วไป ขนาดเล็กใช้กรีดหรือผ่าทุเรียนเป็นต้น, พร้าโต้ หรือ อีโต้ ก็เรียก. |
มีดโต๊ะ | น. มีดขนาดกลางและเล็ก ใช้ตัดหรือเฉือนอาหาร เช่น เนื้อ ปลา ในเวลารับประทานอาหารแบบฝรั่ง. |
ล้มโต๊ะ | ก. กินแล้วหาเรื่องไม่จ่ายทรัพย์. |
เลี้ยงโต๊ะ | ก. เลี้ยงแขกอย่างกินโต๊ะ. |
โล่งโต้ง, โล้งโต้ง | ว. ล่อนจ้อน, เปล่าเปลือย, เช่น เดินเปลือยกายโล่งโต้ง ถอนขนห่านเสียโล้งโต้ง ย่านซื่อซื่อว่าบ้าน ย่านยาว เหนแต่ชุมนุมลาว ล่อนโล้ง ลากอวนส่วนหนุ่มสาว เสียงแซ่ แม่เอย เท่าแก่แลโล้งโต้ง ต่างหล้อนห่อนอาย (นิ. สุพรรณ), โล่งโจ้ง ก็ว่า. |
สุดโต่ง | ว. ไกลมาก, ปลายไกลสุด, เช่น บ้านของเขาอยู่สุดโต่ง ไปมาลำบาก แถวลูกเสือยาวเหยียดลูกผมยืนอยู่เสียสุดโต่ง เลยมองไม่เห็น |
สุดโต่ง | มากเกินขอบเขตที่ควรเป็น, ตึงหรือหย่อนเกินไป, เช่น การปฏิบัติสุดโต่ง. |
สุดท้ายปลายโต่ง | ว. หลังสุด, ท้ายสุด, (มักใช้ในเชิงตำหนิหรือเย้ยหยัน), เช่น ทำไมมาเสียสุดท้ายปลายโต่ง ไหนเคยคุยว่าเก่ง ทำไมถึงสอบได้ที่สุดท้ายปลายโต่ง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
reprisal | การตอบโต้, การปฏิบัติตอบโต้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reprisal | การตอบโต้, การปฏิบัติตอบโต้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retaliation | การแก้แค้น, การทำตอบโต้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rebut | โต้แย้ง, หักล้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
react | โต้, แสดงปฏิกิริยา, ร่วมปฏิกิริยา, ทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reactant | ตัวโต้, สารร่วมปฏิกิริยา, ตัวทำปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reaction | การโต้, ปฏิกิริยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reaction time | เวลาตอบโต้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
repartee | คำโต้กลับ [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
refute | โต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
retaliatory law | กฎหมายตอบโต้ (กฎหมายของประเทศอื่น) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
second strike | การตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
second strike capability | สมรรถภาพที่จะตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
argument | การให้เหตุผล, การถกเถียง, ข้อโต้แย้ง [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argument | ๑. คำแถลงการณ์ (ป. วิ. แพ่ง)๒. ข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
argumentation | การโต้แย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
jurisdictional dispute | ข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
joinder of issue | การกำหนดประเด็นข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
massive retaliation | การตอบโต้อย่างขนานใหญ่ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
capability, second strike | สมรรถภาพที่จะตอบโต้การโจมตี [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
contention | การต่อสู้คดี, ข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conditional appearance | การมาศาลโดยมีข้อโต้แย้ง (อำนาจศาล) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
countervailing duty | อากรตอบโต้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
controversy | ข้อโต้เถียง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
controversy | การโต้เถียง, การโต้แย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
CD-I (compact disc interactive) | ซีดีไอ (แผ่นซีดีเชิงโต้ตอบ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compact disc interactive (CD-I) | แผ่นซีดีเชิงโต้ตอบ (ซีดีไอ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
counter-vailing duty | อากรตอบโต้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
duty, counter-vailing | อากรตอบโต้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dialog; dialogue | คำโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dialog; dialogue | คำโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
dispute | ๑. ข้อพิพาท๒. โต้แย้ง, ค้าน [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dispute presumption | ข้อสันนิษฐานที่ยังมีข้อโต้แย้ง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
dispute, jurisdictional | ข้อโต้แย้งเรื่องเขตอำนาจ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
interactive television | โทรทัศน์เชิงโต้ตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interaction diagram | แผนภาพแสดงการโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interactive | เชิงโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interactive | เชิงโต้ตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
interactive mode | ภาวะเชิงโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interactive processing | การประมวลผลแบบโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
interactive processing | การประมวลผลแบบโต้ตอบ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
incontestable clause | ข้อกำหนดไม่โต้แย้ง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
time, reaction | เวลาตอบโต้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
no contest clause | ข้อกำหนดว่าต้องไม่มีการโต้แย้ง (ในพินัยกรรม) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
undisputable fact | ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจโต้แย้งได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Interactive multimedia | สื่อประสมเชิงโต้ตอบ, ส่วนมากใช้ สื่อประสมปฏิสัมพันธ์ [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Countervailing duty | อากรตอบโต้ [เศรษฐศาสตร์] |
Interactive program | โปรแกรมแบบโต้ตอบ [คอมพิวเตอร์] |
interactive learning | การเรียนแบบโต้ตอบสองทาง, การเรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ ผู้เรียนสามารถควบคุมสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการเรียนการสอนตามความต้องการของตนเอง ตรงข้ามกับการสอนในชั้นเรียนซึ่งมักจะเป็นการสื่อสารข้างเดียว [Assistive Technology] |
interactive media | สื่อเชิงโต้ตอบ, สื่อที่ผู้ใช้สามารถมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบได้ เช่น หยุด เล่นซ้ำ หาหัวเรื่องใหม่ ตอบคำถามเพื่อเดินเรื่องไปตามจังหวะที่ผู้รับต้องการ เหมาะสำหรับการเรียนรู้ และการศึกษารายบุคคลตามความถนัดและความสนใจ [Assistive Technology] |
Adobe Photoshop | อะโดเบ โฟโต้ชอป [TU Subject Heading] |
Adobe Photoshop Lightroom | อะโดเบ โฟโต้ชอป ไลต์รูม [TU Subject Heading] |
Autoscore (Computer file) | ออโต้สคอร์ (แฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์) [TU Subject Heading] |
Corel Photo-paint | คอเรล โฟโต้-เพ้นต์ [TU Subject Heading] |
Debate poetry | กวีนิพนธ์โต้ตอบ [TU Subject Heading] |
Debate poetry, Thai | กวีนิพนธ์โต้ตอบไทย [TU Subject Heading] |
Debates and debating | โต้วาทีและการโต้วาที [TU Subject Heading] |
Legal correspondence | การโต้ตอบทางกฎหมาย [TU Subject Heading] |
Microsoft PhotoDraw | ไมโครซอฟต์ โฟโต้ดรอว์ [TU Subject Heading] |
Records and correspondence | บันทึกและการโต้ตอบ [TU Subject Heading] |
Retorrsion | การโต้ตอบ [TU Subject Heading] |
Surfboards | กระดานโต้คลื่น [TU Subject Heading] |
War on Terrorism, 2001- | สงครามตอบโต้การก่อการร้าย ค.ศ. 2001- [TU Subject Heading] |
Anti-dumping duty | ภาษีตอบโต้การทุ่มตลาดที่เรียกเก็บจากผู้นำเข้าสินค้า จากต่างประเทศ เนื่องจากผู้ส่งออกในต่างประเทศได้ส่งสินค้านั้นเข้ามา เพื่อประโยชน์ในทางพาณิชย์ในราคาที่ต่ำกว่าราคาจำหน่ายในประเทศของตน หรือในราคาที่ต่ำกว่าต้นทุนการผลิต [การทูต] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Cobra Gold | การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์ เป็นการฝึกทางทหารที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งกองทัพไทยและกองกำลังสหรัฐอเมริกาภาคพื้นแปซิฟิก (USPACOM) ร่วมกันเป็น เจ้าภาพจัดการฝึกในประเทศไทยเป็นประจำทุกปี การฝึกคอบร้าโกลด์พัฒนามาจากการฝึกผสมยกพลขึ้นบกระหว่างกองทัพเรือไทยกับกอง ทัพเรือสหรัฐอเมริกาและกองกำลังนาวิกโยธินสหรัฐอเมริกา ซึ่งทำการฝึกร่วมกันมาตั้งแต่ พ.ศ. 2499 ต่อมาใน พ.ศ. 2525 ได้รวมการฝึกหลายอย่างเข้าด้วยกันแล้วกำหนดชื่อรหัสการฝึกขึ้นใหม่ว่า "การฝึกร่วม/ผสมคอบร้าโกลด์" ปัจจุบัน มีประเทศที่ร่วมฝึกรวม ทั้งร่วมสังเกตการณ์หลายประเทศ รวมทั้งได้ขยายการฝึกครอบคลุมการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม การตอบโต้การก่อการร้ายด้วย [การทูต] |
Consular office Declared ?Non grata? | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลจะถูกประกาศว่าไม่พึงปรารถนา หรือไม่พึงโปรดได้ ดังข้อ 23 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติไว้ด้วยข้อความดังนี้?1. รัฐผู้รับอาจบอกกล่าวแก่รัฐผู้ส่งในเวลาใดก็ได้ว่าพนักงานฝ่ายกงสุลเป็น บุคคลที่ไม่พึงโปรด หรือบุคคลอื่นใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลเป็นที่ไม่พึงยอมรับได้ ในกรณีนั้นรัฐผู้ส่งจะเรียกบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้นกลับ หรือเลิกการหน้าที่ของผู้นั้นต่อสถานที่ทำการทางกงสุล แล้วแต่กรณี2. ถ้ารัฐผู้ส่งปฏิเสธหรือไม่นำพาภายในเวลาอันสมควรที่จะปฏิบัติตามพันธกรณีของ ตนตามวรรค 1 ของข้อนี้ รัฐผู้รับอาจเพิกถอนอนุมัติบัตรจากบุคคลที่เกี่ยวข้องนั้น หรือเลิกถือว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลก็ได้ แล้วแต่กรณี3. รัฐผู้รับอาจประกาศว่า บุคคลหนึ่งบุคคลใดซึ่งได้รับแต่งตั้งเป็นบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล เป็นผู้ที่ไม่อาจยอมรับได้ ก่อนที่บุคคลนั้นจะมาถึงอาณาเขตของรัฐผู้รับ หรืออยู่ในรัฐผู้รับแล้ว แต่ก่อนเข้ารับหน้าของตนต่อสถานที่ทำการทางกงสุลก็ได้ ในกรณีใด ๆ เช่นว่านั้น รัฐผู้ส่งจะเพิกถอนการแต่งตั้งบุคคลนั้น4. ในกรณีที่ได้บ่งไว้ในวรรค 1 และ 3 ของข้อนี้ รัฐผู้รับไม่มีพันธะที่จะต้องให้เหตุผลในการวินิจฉัยของตนแก่รัฐผู้ส่ง?การ ที่รัฐผู้รับปฏิเสธที่จะออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตรหลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วนั้น เป็นสิทธิของรัฐผู้รับอันจะถูกโต้แย้งมิได้ ประเด็นที่เป็นปัญหาก็คือ รัฐผู้รับมีพันธะที่จะต้องอธิบายเหตุผลอย่างใดหรือไม่ ในการที่ปฏิเสธไม่ยอมออกอนุมัติบัตร หรือเพิกถอนอนุมัติบัตร หลังจากที่ได้ออกให้ไปแล้วข้อนี้ น้ำหนักของผู้ทรงอำนาจหน้าที่ดูแลจะเห็นคล้อยตามทรรศนะที่ว่า รัฐผู้รับไม่จำเป็นต้องแสดงเหตุผลใด ๆ ทั้งสิ้นในการกระทำดังกล่าวเหตุผลของการไม่ยอมออกอนุมัติบัตรให้นั้นคือว่า ผู้ที่ไม่เห็นด้วย หรือไปแสดงสุนทรพจน์อันมีข้อความเป็นที่เสื่อมเสียแก่รัฐผู้รับ หรือเคยมีส่วนร่วมในการก่อการกบฏต่อรัฐผู้รับหรือเข้าไปแทรกแซงกิจการการ เมืองภายในของรัฐผู้รับ เป็นต้น [การทูต] |
countermeasures | มาตรการตอบโต้ [การทูต] |
Diplomatic Pouch | ถุงเมล์ทางการทูตที่บรรจุหนังสือโต้ตอบทางราชการ ระหว่างกระทรวงการต่างประเทศของรัฐบาล กับสถานเอกอัครราชทูตต่าง ๆ ใน ต่างประเทศ ถุงเมล์ทูตจะถูกปิดประทับตราของทางราชการ และผู้ใดจะล่วงละเมิดมิได้ แม้แต่เจ้าหน้าที่ศุลกากรก็ขอตรวจไม่ได้ คือได้รับการละเว้นจากการแทรกแซงใด ๆ ทั้งสิ้นเรื่องถุงเมล์ทางการทูตนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ว่า?1. ในรัฐผู้รับจะอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ทั้งมวลในการติดต่อกับคณะรัฐบาลและกับคณะผู้แทน และสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่งไม่ว่าตั้งอยู่ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางเหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้สื่อสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการทูตของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการทูตหมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงเมล์ทางการทูตจะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูตจะต้องมีเครื่องหมายติดไว้ภายนอกที่เห็น ชัดเจน แสดงลักษณะของถุงทางการทูตและอาจบรรจุเอกสารหรือสิ่งของทางการทูต ซึ่งได้เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่านั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการ แสดงสถานภาพของตนและจำนวนหีบห่อ ซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ และจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ในกรณีที่ ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการ แสดงจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุง แต่ไม่ให้ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางการทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรงและโดย เสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน?คำว่าถุงทางการทูตนี้ กระทรวงการต่างประเทศอังกฤษเรียกว่า ?Diplomatic bag? ส่วนในภาษาฝรั่งเศสใช้คำว่า ?Valise Diplomatique? [การทูต] |
Freedom of Communication | เสรีภาพในการติดต่อและสื่อสาร ถือเป็นสิทธิทางกฎหมาย (ไม่ใช่เพียงเอกสิทธิ์เท่านั้น) ที่สำคัญอันหนึ่งของนักการทูตย่อมจะเห็นได้ชัดว่า คณะทูต จะไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างพึงพอใจ นอกจากจะมีอิสระอย่างสมบูรณ์ในการที่จะมีหนังสือหรือวิถีทางอื่นๆ เพื่อติดต่อกับรัฐบาลของตน หรือจะส่งและรับจดหมาย หรือหนังสือต่างๆ โดยเจ้าหน้าที่ถือสารพิเศษ หรือโดยถุงทางการทูต (Diplomatic pouch) สำหรับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในข้อ 27 ดังนี้?1. ให้รัฐผู้รับอนุญาตและคุ้มครองการสื่อสารโดยเสรีในส่วนของคณะผู้แทน เพื่อความมุ่งประสงค์ในทางการทั้งมวลเพื่อการติดต่อกับรัฐบาล และกับคณะผู้แทนและสถานกงสุลอื่นของรัฐผู้ส่ง ไม่ว่าตั้งอยู่ ณ ที่ใด คณะผู้แทนอาจใช้วิถีทางที่เหมาะสมทั้งมวลได้ รวมทั้งผู้ถือสารทางการทูต และสารเป็นรหัสหรือประมวล อย่างไรก็ดี คณะผู้แทนอาจติดตั้งและใช้เครื่องส่งวิทยุได้ด้วยความยินยอมของรัฐผู้รับ เท่านั้น 2. หนังสือโต้ตอบทางการของคณะผู้แทนจะถูกละเมิดมิได้ หนังสือโต้ตอบทางการ หมายถึง หนังสือโต้ตอบทั้งมวลที่เกี่ยวกับคณะผู้แทนและภารกิจหน้าที่ของคณะผู้แทน 3. ถุงทางการทูต (Diplomatic Pouch) จะไม่ถูกเปิดหรือถูกกักไว้ 4. หีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางการทูต จะต้องมีเครื่องหมายภายนอกที่เห็นได้ชัดเจน สามารถแสดงลักษณะของถุงทางการทูต ซึ่งอาจบรรจุเพียงเอกสารหรือสิ่งของทางการทูตที่เจตนาเพื่อใช้ในทางการเท่า นั้น 5. ผู้ถือสารทางการทูต (Diplomatic courrier) จะได้รับเอกสารทางการแสดงสถานภาพของตน และจำนวนหีบห่อซึ่งรวมเป็นถุงทางทูตนั้น ให้ได้รับความคุ้มครองจากรัฐผู้รับ ในการปฏิบัติการตามหน้าที่ของตน ให้ผู้ถือสารทางการทูตได้อุปโภคความละเมิดมิได้ ส่วนบุคคลจะต้องไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด 6. รัฐผู้ส่งหรือคณะผู้แทนอาจแต่งตั้งผู้ถือสารทางการทูตเฉพาะกรณีได้ ในกรณีที่ว่านี้ให้นำบทแห่งวรรค 5 ของข้อนี้มาใช้ด้วย เว้นแต่ว่าความคุ้มกันที่กล่าวไว้ในวรรคนั้นให้ยุติไม่ใช้ เมื่อผู้ถือสารนี้ได้ส่งถุงทางการทูตในหน้าที่ของตนให้แก่ผู้รับแล้ว 7. ถุงทางการทูตอาจจะมอบหมายไว้แก่ผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์ ซึ่งได้มีพิกัดจะลง ณ ท่าเข้าเมืองที่ได้รับอนุญาตแล้วได้ ให้ผู้บังคับบัญชาของเครื่องบินพาณิชย์รับเอกสารทางการแสดงจำนวนหีบห่อซึ่ง รวมเป็นถุง แต่ไม่ใช่ถือว่าผู้บังคับการของเครื่องบินพาณิชย์เป็นผู้ถือสารทางทูต คณะผู้แทนอาจส่งบุคคลหนึ่งในคณะผู้แทนไปรับมอบถุงทางการทูตได้โดยตรง และโดยเสรีจากผู้บังคับการของเครื่องบิน? [การทูต] |
Inviolability | หมายถึง ความละเมิดมิได้ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ตัวแทนทางการทูตต้องได้รับการคุ้มครองมากยิ่งกว่าบุคคล ธรรมดา มีการกล่าวกันว่า ตัวเอกอัครราชทูตนั้นจะได้รับการเคารพยกย่องพอ ๆ กับตัวประมุขของรัฐทีเดียว การให้ความคุ้มครองเช่นนี้จะขยายไปถึงสิ่งของทุกชิ้นที่เป็นของเอกอัคร ราชทูตบุคคลในครอบครัว บริวาร คนใช้ เครื่องเรือน เอกสาร และจดหมายโต้ตอบของเอกอัครราชทูต เป็นต้น [การทูต] |
Inviolability of Residence and Property of Diplomatic Agents | หมายถึง ความละเมิดมิได้ของทำเนียบและทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูต ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 30 ว่า ?1. ให้ที่อยู่ส่วนตัวของตัวแทนทางการทูต ได้อุปโภคความละเมิดมิได้และความคุ้มครอง เช่นเดียวกับสถานที่ของคณะผู้แทน 2. ให้กระดาษเอกสาร หนังสือโต้ตอบ และยกเว้นที่ได้บัญญัติไว้ในวรรค 3 ของข้อ 31 ทรัพย์สินของตัวแทนทางการทูตได้อุปโภคและละเมิดมิได้เช่นกัน?วรรค 3 ของข้อ 31 ในอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า มาตรการบังคับคดีไม่อาจดำเนินได้ในส่วนที่เกี่ยวกับตัวแทนทางการทูต (เว้นแต่ในกรณีซึ่งอยู่ภายใต้อนุวรรค (ก) (ข) และ (ค) ของวรรค 1 ของข้อนี้ และโดยเงื่อนไขว่า มาตรการที่เกี่ยวข้องอาจดำเนินไปได้ โดยปราศจาการละเมิด) หรือที่อยู่ของตัวแทนทางการทูต [การทูต] |
North Atlanitc Treaty Organization | องค์การนาโต้ หรือองค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ ซึ่งได้ลงนามกันเมื่อวันที่ 4 เมษายน ค.ศ. 1949 ประเทศสมาชิกขณะเริ่มตั้งองค์การครั้งแรก ได้แก่ ประเทศเบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส ไอซ์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ต่อมาประเทศกรีซและตรุกีได้เข้าร่วมเป็นภาคีของสนธิสัญญาเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1952 และเยอรมนีตะวันตก ( ในขณะนั้น) เมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1955 สนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือเริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1949ในภาคอารัมภบทของสนธิสัญญา ประเทศภาคีได้ยืนยันเจตนาและความปรารถนาของตน ที่จะอยู่ร่วมกันโดยสันติกับประเทศและรัฐบาลทั้งหลาย ที่จะปกป้องคุ้มครองเสรีภาพมรดกร่วม และอารยธรรมของประเทศสมาชิกทั้งมวล ซึ่งต่างยึดมั่นในหลักการของระบอบประชาธิปไตย เสรีภาพส่วนบุคคลหลักนิติธรรม ตลอดจนจะใช้ความพยายามร่วมกันเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันเพื่อป้องกันประเทศ และเพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงในสนธิสัญญาดังกล่าว บทบัญญัติที่สำคัญที่สุดคือข้อ 5 ซึ่งระบุว่า ประเทศภาคีสนธิสัญญาทั้งหลายต่างเห็นพ้องต้องกันว่า หากประเทศภาคีหนึ่งใดหรือมากกว่านั้น ในทวีปยุโรปหรือในอเมริกาเหนือ ถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ จักถือว่าเป็นการโจมตีต่อประเทศภาคีทั้งหมด ฉะนั้น ประเทศภาคีจึงตกลงกันว่า หากมีการโจมตีด้วยกำลังอาวุธเช่นนั้นเกิดขึ้นจริง ประเทศภาคีแต่ละแห่งซึ่งจะใช้สิทธิในการป้องกันตนโดยลำพังหรือร่วมกัน อันเป็นที่รับรองตามข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติ จะเข้าช่วยเหลือประเทศภาคีแห่งนั้นหรือหลายประเทศซึ่งถูกโจมตีด้วยกำลัง อาวุธในทันทีองค์กรสำคัญที่สุดในองค์การนาโต้เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากประเทศภาคีสนธิสัญญานาโต้ คณะมนตรีนี้จะจัดตั้งองค์กรย่อยอื่น ๆ หลายแห่ง รวมทั้งกองบัญชาการทหารสูงสุดฝ่ายสัมพันธมิตรภาคพื้นยุโรปและภาคพื้น แอตแลนติก สำนักงานใหญ่ขององค์การนาโต้ตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
Pacific Charter | คือกฎบัตรแปซิฟิค ซึ่งประกาศ ณ กรุงมะนิลา เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ในโอกาสที่มีการตกลงกันทำสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( Southeast Asia Defense Treaty-SEATO ) ประเทศที่ลงนามเป็นภาคีในสนธิสัญญา คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาสาระสำคัญในสนธิสัญญาดังกล่าว หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า SEATO (ซีโต้) นั้นคือ ทุกประเทศภาคีจะร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม เพื่อส่งเสริมให้พลเมืองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีมาตรฐานการครอง ชีพสูงขึ้น มีความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ และมีสวัสดิภาพสังคมที่ดี แต่จุดมุ่งหมายที่สำคัญที่สุดคามสนธิสัญญาคือ บรรดาประเทศภาคีตกลงที่จะป้องกันหรือตอบโต้ความพยายามใด ๆ ที่จะล้มล้างเสรีภาพที่มีอยู่ในเขตสนธิสัญญา หรือทำลายอธิปไตยหรือบูรณภาพแห่งเขตแดนของประเทศภาคี พูดอย่างสั้น ๆ ก็คือฝ่ายโลกเสรีอันมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นำ ต้องการกีดกันมิให้ประเทศฝ่ายคอมมิวนิสต์เข้าไปมีอำนาจครอบงำดินแดนเขต เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ระหว่างสงครามเย็น (Cold War ) โดยวิธีรุกรานหรือวิธีอื่นใดก็ตาม [การทูต] |
persona non grata | บุคคลทางการทูตที่รัฐผู้รับไม่ยอมรับ เช่น กรณีนักการทูตทำผิดกฎหมายหรือข้อบังคับทางศาสนาในประเทศที่พำนักอยู่ จนทางรัฐบาลของประเทศนั้นไม่อาจยอมรับได้และต้องให้เดินทางกลับออกนอกประเทศ นั้น อย่างไรก็ตาม นักการทูตอาจถูกรัฐบาลของรัฐผู้รับให้ออกนอกประเทศเป็น persona non grata ด้วยเหตุผลของการดำเนินการโต้ตอบทางการเมืองระหว่างรัฐผู้รับและรัฐผู้ส่งก็ เป็นได้ โดยที่นักการทูตผู้นั้นมิได้กระทำผิดกฎหมายของรัฐผู้รับหรือกระทำผิดทาง ศาสนาของรัฐผู้รับแต่อย่างใด [การทูต] |
Regional Organizations | คือองค์การส่วนภูมิภาค ในเรื่องนี้ ข้อ 51 ของกฎบัตรสหประชาชาติได้บัญญัติไว้ว่า ?ไม่มีข้อความใดในกฎบัตรฉบับปัจจุบัน อันจักริดรอนสิทธิประจำตัวในการป้องกันตนเองโดยลำพังหรือโดยร่วมกัน หากการโจมตีโดยกำลังอาวุธบังเกิดแก่สมาชิกของสหประชาชาติ จนกว่าคณะมนตรีความมั่นคงจะได้ดำเนินมาตรการที่จำเป็น เพื่อธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ มาตรการที่สมาชิกได้ดำเนินไปในการใช้สิทธิป้องกันตนเองนี้ จักต้องรายงานให้คณะมนตรีความมั่นคงทราบโดยทันที และจักไม่กระทบกระเทือนอำนาจและความรับผิดชอบของคณะมนตรีความมั่นคงภายใต้กฎ บัตรฉบับปัจจุบันแต่ทางหนึ่งทางใด ในอันที่จักดำเนินการเช่นที่เห็นจำเป็น เพื่อธำรงไว้หรือสถาปนากลับคืนมา ซึ่งสันติภาพความมั่นคงระหว่างประเทศ?จะเห็นได้ว่า ประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคเดียวกันมักจะทำข้อตกลงกันในส่วนภูมิภาค โดยอาศัยสนธิสัญญา และโดยที่อาศัยอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ใกล้เคียงกัน ( Geographical Propinquity ) หรือมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด และมีวัตถุประสงค์ที่จะอำนวยความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการเมืององค์การส่วนภูมิภาคแห่งหนึ่งที่พอจะหยิบยก มาเป็นตัวอย่างได้ คือ องค์การสนธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEATO) ซึ่งบัดนี้ได้ยุบเลิกไปแล้วเพราะหมดความจำเป็น องค์การรัฐอเมริกัน (Organization of American States-OAS) องค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ หรือนาโต้ (NATO) องค์การร่วมมือระหว่างออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และสหรัฐอเมริกา (ANZUS) เป็นต้น องค์การภูมิภาคเหล่านี้ตั้งขึ้นโดยอาศัยข้อ 51 ของกฎบัตร สหประชาชาติ ซึ่งกล่าวถึงสิทธิของประเทศสมาชิกที่จะทำการป้องกันตนเองโดนลำพังหรือโดย ร่วมกัน หากถูกโจมตีด้วยกำลังอาวุธ [การทูต] |
reprisal | การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งเป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ กล่าวคือเป็นการตอบโต้การกระทำที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่นกัน [การทูต] |
retortion | การตอบโต้การกระทำของรัฐอื่นซึ่งมิได้เป็นความผิดในทาง กฎหมายระหว่างประเทศ แต่มีลักษณะที่ไม่เป็นมิตร [การทูต] |
right of reply | สิทธิโต้ตอบ [การทูต] |
Southeast Asia Collective Defense Treaty (Mahila Pact) | สนธิสัญญาซีโต้ สนธิสัญญานี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ เมื่อวันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 1954 ประเทศที่ลงนามในสนธิสัญญามีประเทศออสเตรเลีย ฝรั่งเศส นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ประเทศไทย อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สนธิสัญญาได้มีผลใช้บังคับเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1955ในภาคอารัมภบทของสัญญานี้ บรรดาประเทศสมาชิกต่างแสดงความปรารถนาที่จะประสานความพยายามของตนที่จะ ป้องกันร่วมกัน เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคง โดยเฉพาะข้อ 4 ของสนธิสัญญาเป็นข้อสำคัญที่สุด คือ แต่ละประเทศภาคีคู่สัญญาตกลงเห็นพ้องกันว่า หากดินแดนของประเทศใดถูกรุกรานจาการโจมตีด้วยกำลังอาวุธ ประเทศภาคีทั้งหมดที่เหลือจะถือว่าเป็นอันตรายร่วมกัน และจะปฏิบัติการเพื่อเผชิญหน้ากับอันตรายร่วมกัน หรือถ้าหากพื้นที่ภายในเขตครอบคลุมของสนธิสัญญาถูกคุกคามด้วยประการใด ๆ ประเทศภาคีทั้งหมดจะปรึกษากันในทันที เพื่อตกลงในมาตรการเพื่อการป้องกันร่วมกันสำนักงานใหญ่ขององค์การซีโต้ตั้ง อยู่ในกรุงเทพมหานคร โดยที่สถานการณ์ทางการเมืองของโลกได้เปลี่ยนไปมากทำให้องค์การซีโต้หมดความ จำเป็น และได้ยุบเลิกไปนานแล้ว [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
โปรแกรมดูเว็บ | web browser, โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลหรือโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่นภาษาเอชทีเอ็มแอล [อื่นๆ] |
Clonal Expansion | แรงตอบโต้แนวเดียวกัน, การห้ามการขยายตัว [การแพทย์] |
Complex Interaction | กระบวนการตอบโต้ซึ่งกันและกัน [การแพทย์] |
Controversial Issue | กรณีโต้แย้ง [การแพทย์] |
Debate | การโต้วาที [การแพทย์] |
Excitability | ถูกกระตุ้น, การรับรู้ต่อสิ่งเร้า, การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น, ภาวะที่ไวต่อการเร่งเร้าหรือถูกกระตุ้น, สภาวะที่ไวต่อการกระตุ้น, การไวต่อการกระตุ้น, ตื่นเต้นตกใจง่าย, การตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น, ความไว, การแสดงอาการโต้ตอบสิ่งเร้า, การไวต่อการกระตุ้น [การแพทย์] |
Forceps, Mosquito | ปากคีบมอสคีโต้ [การแพทย์] |
telephone | โทรศัพท์, ระบบสื่อสารที่ผู้ส่งและผู้รับโต้ตอบเป็นคำพูดโดยอาศัยกระแสไฟฟ้า [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
full duplex transmission | การสื่อสารสองทางเต็มอัตรา, การสื่อสารที่สามารถส่งข้อมูลได้สองทางโดยที่ผู้รับและผู้ส่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ในเวลาเดียวกัน เช่น การสนทนาทางโทรศัพท์คู่สนทนาคุยโต้ตอบได้ในเวลาเดียวกัน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
real-time communication | การสื่อสารในเวลาจริง, การสื่อสารระหว่างบุคคลที่สามารถโต้ตอบกลับได้ทันที ผ่านเครือข่ายการสื่อสาร สามารถส่งเป็นข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง ไปยังผู้รับ ในการสื่อสารนี้ผู้ใช้จะต้องเข้าใช้ระบบในเวลาเดียวกัน และข้อความจะถูกส่งจากผู้ใช้คนหนึ่งไปยังผู้ใช้ทุกคนในกลุ่มได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
parity bit | บิตพาริตี, บิตข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบความผิดพลาดของการรับสัญญาณที่ปลายทาง หรือสายที่ควบคุมการโต้ตอบ เพื่อควบคุมจังหวะของการรับ-ส่งข้อมูลแต่ละชุด [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Hashitoxicosis | โรคฮาชิโมโต้ [การแพทย์] |
Inhibition, Feed Back | การยับยั้งโต้กลับ, วิธียับยั้งแบบย้อนกลับ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อัศวิน โต๊ะกลม | [Atsawin Toklom] (n, prop) EN: Knights of the Round Table FR: Les chevaliers de la Table ronde [ mpl ] |
ฉบับประจำโต๊ะ | [chabap prajam to] (n, exp) EN: desk edition |
เช็ดโต๊ะ | [chet to] (v, exp) FR: nettoyer la table ; essuyer la table |
ช้อนโต๊ะ | [chønto] (n, exp) EN: tablespoon FR: cuillère à soupe [ f ] |
ช้อนโต๊ะพูน | [chønto phūn] (n, exp) EN: heaping tablespoon FR: cuillerée à soupe [ f ] |
ช้อนโต๊ะพูน ๆ | [chønto phūn-phūn] (n, exp) EN: heap tablespoon |
เดินโต๊ะ | [doēnto] (v) EN: serve at the table ; serve ; wait on a table FR: servir à table |
โดยไม่โต้แย้ง | [dōi mai tōyaēng] (adv) EN: without contradiction |
อีโต้ | [ītō] (n) EN: chopping knife ; hacking knife FR: couteau à découper [ m ] ; hachoir [ m ] ; tranchoir [ m ] |
จัดโต๊ะ | [jat to] (v, exp) FR: mettre la table |
จดหมายโต้ตอบ | [jotmāi tōtøp] (n, exp) EN: correspondence FR: correspondance [ f ] |
การมีปฏิกิริยาโต้ตอบแรงเกินไป | [kān mī patikiriyā tōtøp raēng koēnpai] (n, exp) EN: overreaction |
การพูดโต้ตอบ | [kān phūt tōtøp] (n, exp) EN: retort |
การประชุมโต๊ะกลม | [kān prachum toklom] (n, exp) EN: round-table meeting |
การโต้เถียง | [kān tōthīeng] (n) EN: controversy ; dispute ; disputation ; debate ; argument ; discussion ; exchange FR: discussion [ f ] |
การโต้เถียงกัน | [kān tōthīeng kan] (n, exp) FR: dispute [ f ] |
การโต้เถียงอย่างรุนแรง | [kān tōthīeng yāng runraēng] (n, exp) EN: catfight ; controversy |
การโต้ตอบ | [kān tōtøp] (n) EN: retaliation ; reaction |
การโต้วาที | [kān tōwāthī] (n) EN: debate FR: débat [ m ] |
การโต้แย้ง | [kān tōyaēng] (n) EN: argument |
การโต้แย้งด้วยเหตุผล | [kān tōyaēng dūay hētphon] (n, exp) EN: dialectic FR: dialectique [ f ] |
การโต้แย้งข้อกล่าวหา | [kān tōyaēng khøklāohā] (n, exp) EN: rebuttal |
เก้าอี้โต๊ะเกรื่องแป้ง | [kao-ī to khreūang paēng] (x) EN: stool FR: tabouret de toilette [ m ] |
เก็บโต๊ะ | [kep to] (v, exp) EN: clear the table FR: débarasser la table |
โคมไฟตั้งโต๊ะ | [khōmfai tang to] (n, exp) EN: table lamp FR: lampe de bureau [ f ] ; lampe de chevet [ f ] |
คนเดินโต๊ะ | [khon doēn to] (n, exp) EN: waiter |
ข้อเท็จจริงที่ไม่อาจโต้แย้งได้ | [khøthetjing thī mai āt tōyaēng dāi] (n, exp) EN: indisputable fact |
ข้อโต้เถียง | [khø tōthīeng] (n, exp) EN: dispute ; argument ; controversy ; point of contention FR: point de désaccord [ m ] |
ข้อโต้เถียงกัน | [khø tōthīeng kan] (n, exp) EN: point at issue |
ข้อโต้แย้ง | [khøtōyaēng] (n) EN: argument ; counter-argument ; objection ; point in opposition ; opposing view ; dispute ; disagreement ; contention |
กอตโต้ | [Køttō] (tm) EN: Cotto FR: Cotto |
กระดานโต้คลื่น | [kradān tō khleūn] (x) EN: surfboard FR: planche de surf [ f ] |
ลิ้นชักโต๊ะ | [linchak to] (n, exp) EN: desk drawer FR: tiroir de bureau [ m ] |
นกโต้คลื่น | [nok tō khleūn] (n) EN: Hydrobatidae |
นกโต้คลื่นสีคล้ำ | [nok tō khleūn sī khlam] (n, exp) EN: Swinhoe's Storm-Petrel FR: Océanite de Swinhoe [ m ] ; Pétrel de Swinhoe |
ปฏิกิริยาตอบโต้ | [patikiriyā tøptō] (n, exp) EN: respond ; react |
ผ้าปูโต๊ะ | [phāpūto] (n) EN: tablecloth FR: nappe [ f ] |
ปอร์โต้ | [Pøtō] (tm) EN: Porto FR: FC Porto [ m ] |
แรงโต้ตอบ | [raēng tōtøp] (n, exp) EN: reaction |
รถยนต์เกียร์ออโต้ | [rotyon kīa øtō] (n, exp) EN: automatic transmission car |
ร่วมโต๊ะ | [ruam to] (v, exp) EN: sit at the same table (with) |
สโต๊ก ซิตี้ | [Sátōk Sitī] (tm) EN: Stoke City FR: Stoke City [ m ] |
ใต้โต๊ะ | [tāi to] (n, exp) EN: bribery ; illegal payment FR: pot-de-vin [ m ] ; dessous de table [ m ] |
ตลาดโต้รุ่ง | [talāt tō rung] (n, exp) EN: all-night market ; 24-hour market |
ตั้งโต๊ะ | [tang to] (v, exp) EN: set the table ; lay the table FR: mettre la table |
โต๊ะ | [to] (n) EN: table ; desk FR: table [ f ] |
โต๊ะ | [to] (n) EN: headman ; man learned in Islamic lore ; dato = datoh ; imam ; imaum |
โต้ | [tō] (v) EN: argue ; refute ; contradict ; dispute ; oopose ; back ; contend ; counter ; reply FR: résister ; riposter ; répliquer ; réfuter ; s'opposer |
โต๊ะอาหาร | [to āhān] (n, exp) EN: dining table FR: table de cuisine [ f ] |
โต๊ะบูชา | [tobūchā] (n) EN: altar ; altar table ; incense burner table FR: autel [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
dissemination | (n) การเปิดประเด็นเพื่อการถกเถียงและโต้แย้งอย่างกว้างขวาง |
rrts | (n) หน่วยยุทธการโต้ตอบฉับพลัน, Syn. Rapid Response Tactical Squad |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
accepted | (adj) ี่ที่ไม่สามารถคัดค้านได้, See also: ที่ไม่สามารถโต้แย้งได้, ที่ไม่สามารถปฏิเสธได้ |
airtight | (adj) ไม่มีจุดอ่อน, See also: ที่ไม่มีจุดให้โต้ตอบ |
ammunition | (n) วิธีการโต้ตอบ |
answer | (n) การโต้ตอบ, Syn. defense, counterclaim |
answer | (vt) โต้ตอบ |
answer | (vi) โต้ตอบ |
answer | (n) สิ่งที่โต้ตอบ, See also: สิ่งที่ตอบสนอง |
answer back | (v) สวนตอบ, See also: ตอบโต้, โต้, สวน, ย้อนกลับ, เถียง, สวนกลับ, Syn. talk back |
antiphon | (n) เพลงที่ร้องโต้ตอบ |
arbitrate | (vt) ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง |
arbitrate | (vi) เป็นผู้ตัดสิน, See also: ชี้ขาด, ยุติการโต้แย้ง, Syn. settle peacefully, smooth out |
argue | (vi) โต้เถียง, See also: โต้แย้ง, เถียง, Syn. quarrel, dispute |
argument | (n) การโต้แย้ง, See also: การแย้ง, การโต้เถียง, Syn. dispute, debate |
argumentative | (adj) ที่เกี่ยวกับการโต้แย้ง, Syn. controversial |
answer back | (phrv) เถียงกลับ, See also: โต้กลับ, ย้อนกลับ |
argue about | (phrv) โต้เถียงเรื่อง, See also: เถียงกันเรื่อง, ทุ่มเถียงเรื่อง |
argue out | (phrv) โต้เถียงเรื่อง, See also: ถกเถียงเรื่อง |
argue over | (phrv) ทะเลาะกันเรื่อง, See also: ถกเถียงเรื่อง, โต้เถียงเรื่อง, Syn. argue about |
back | (adv) ตอบกลับ, See also: ตอบรับ, ตอบโต้ |
barney | (n) เสียงทะเลาะ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เสียงโต้เถียงกัน |
barrage | (n) การโต้แย้ง, See also: การวิจารณ์ |
bicker | (vi) โต้เถียง, Syn. squabble |
bone of contention | (n) ต้นเหตุที่ทำให้เกิดการโต้เถียง, See also: สาเหตุที่ทำให้ทะเลาะกัน, Syn. controversy |
bust-up | (n) การโต้เถียงรุนแรง |
bandy with | (phrv) ทะเลาะกับ, See also: โต้ตอบกันไปมา ด้วยอารมณ์โกรธ |
be at loggerheads | (idm) โต้แย้งกันอย่างแรง, See also: โต้เถียงกันอย่างแรง |
bury the hatchet | (idm) หยุดต่อสู้, See also: เลิกโต้เถียง |
catfight | (n) การโต้เถียงอย่างรุนแรง (โดยเฉพาะระหว่างผู้หญิง), Syn. quarrel |
combatant | (n) คนที่เถียงกัน, See also: คนที่โต้แย้งกัน |
comeback | (n) การโต้ตอบทันควัน, Syn. riposte, answer, retortion |
con | (n) ข้อโต้แย้ง |
contend | (vi) โต้เถียง, Syn. argue, debate, fence |
contention | (n) การโต้แย้ง, See also: การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, Syn. argument, controversy, disagreement |
contention | (n) ความคิดเห็นในการโต้แย้ง |
contentious | (adj) ซึ่งโต้เถียงกัน, See also: ซึ่งเป็นที่ถกเถียงกัน, Syn. quarrelsom, argumentative |
contradict | (vt) โต้แย้ง, Syn. disclaim, deny |
contravene | (vt) โต้แย้ง |
controversial | (adj) ซึ่งก่อให้เกิดการโต้แย้ง, See also: เกี่ยวกับการโต้เถียง, Syn. arguable, controvertible, debatable |
controversial | (adj) ซึ่งชอบโต้แย้ง, See also: ซึ่งชอบโต้คารม, ซึ่งชอบสำบัดสำนวน |
controversialist | (n) คนที่ชอบโต้แย้ง, Syn. disputant |
controversy | (n) การโต้เถียงอย่างรุนแรง, Syn. contention, debate, quarrel |
controvert | (vt) โต้แย้ง, See also: โต้เถียง, Syn. refute, rebut |
converse | (vi) คุยโต้ตอบกับคอมพิวเตอร์ |
correspond | (vi) ติดต่อกันทางจดหมาย, See also: โต้ตอบจดหมาย |
counter | (adj) ที่โต้ตอบออกไป |
counter | (vt) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ |
counter | (vi) พูดแย้ง, See also: พูดค้าน, พูดโต้ตอบ |
counterattack | (n) การโต้กลับ, See also: การตอบโต้, Syn. countermove, attack |
counterattack | (vi) โต้กลับ, See also: ตอบโต้ |
counterattack | (vi) โต้กลับ, See also: ตอบโต้ |
Hope Dictionary
airing | (แอ' ริง) n. การตาก, การสนทนาโต้แย้ง (ข้อ คิดเห็น, ข้อเสนอ) , การเดินหรือขับรถในที่โล่งแจ้ง |
allies | (แอล' ไลซ, อะไลซ') n. พหูพจน์ของ ally, พันธมิตร -Allies ชาติพันธมิตร, สมาชิกสนธิสัญญานาโต้ (NATO) |
analogize | (อะแนล'โชไจซ) vt., vt. ใช้วิธีการอุปมาเปรียบเทียบในการอธิบายหรือโต้เถียง, ทำการอุปมาในลักษณะเหมือนกัน |
antiphon | (แอน' ทิฟอน) n. เพลงหรือโคลงกลอนที่ร้องตอบ, เพลงสวด หรือโคลงสรรเสริญที่ร้องตอบโต้ลับกัน, โคลงกลอนนำหรือส่งท้าย (chant) |
antiphonal | (แอนทีโฟ' นัล) adj. เกี่ยวกับ antiphons หรือ antiphony; ตอบโต้ |
antiphony | (แอนทิฟ' โฟนี) n. การขับร้องสลับกันในหมู่นักร้อง, โคลงกลอนที่ร้องสลับกัน, antiphon, การขับร้องตอบโต้กัน. -antiphonic (al) adj. (singing, antiphon) |
apodeictic | (แอพพะดิค'ทิค) adj. ไม่เป็นที่สงสัย, ยืนยันอย่างเด็ดขาด, ไม่สามารถโต้แย้งได้ (incontestable) |
aquaplane | (แอค'วะเพลน) n. แผ่นกระดานโต้คลื่นที่มีเรือลาก. -vi. โต้คลื่นแผ่นกระดานที่มีเรือลาก. -aquaplaner n. |
argue | (อาร์'กิว) vt., vi. ถกเถียง, เถียง, โต้คารม, อ้างเหตุผล, อภิปราย, พูดให้ยอม, โต้แย้งพิสูจน์ว่า, แสดงให้เห็นว่า-arguer n., Syn. debate |
argument | (อาร์'กิวเมินทฺ) n. การโต้เถียง, การโต้คารม, การอ้างเหตุผล, ขบวนการให้เหตุผล, ข้อโต้เถียง, เรื่อง, ข้อสรุป, หลักฐาน, ข้อพิสูจน์ |
argumentation | (อาร์กิวเมนเท'เชิน) n. ขบวนการโต้เถียงการให้เหตุผล, การอภิปราย, การถกเถียง, บทความเชิงอภิปราย, ข้อพิสูจน์, ข้อสรุป, ข้ออนุมาน, Syn. discussion |
argumentative | (อาร์กิวเมนเท'ทิฟว) adj. ชอบโต้เถียง, เกี่ยวกับโต้เถียง, ขัดแย้ง, Syn. disputatious, contentious, Ant. amenable |
authoring system | ระบบการเขียนโปรแกรมหมายถึง ระบบการเขียนโปรแกรมโดยที่ผู้เขียนไม่จำเป็นต้องมีความรู้ทางด้านโปรแกรมเลย ผู้เขียนเพียงแต่ใช้ภาษาง่าย ๆ ในรูปแบบเชิงโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับคอมพิวเตอร์เท่านั้น |
bicker | (บิค'เคอะ) { bickered, bickering, bickers } vt., n. (การ) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง, เคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว, สั่น, ระยิบระยับ, See also: bicker n. ดูbicker |
chop | (ชอพ) v.ตัด, ผ่า, สับ, โค่น, ฟัน, ถาง, ฟัน, ตัดขาด, เปลี่ยนทิศทางอย่างฉับพลัน, โต้เถียง -n. การตัด, การผ่า, ชิ้นที่ตัดออก, ชิ้นเนื้อ, การสับเปลี่ยน -Phr. (chop chop adv., interj. เร็ว !.เร็วเข้า !) |
choplogic | n. การโต้เถียงที่อ้างเหตุผลผิด ๆ |
con | (คอน) 1. { conned, conning, cons } v. ต่อต้าน, แย้ง, เรียนรู้, ศึกษา, ตรวจสอบอย่างระมัดระวัง, จำไว้, นำเรือ, ถือพวงมาลัยเรือ n. การต่อต้าน, การโต้เถียง, ผู้คัดค้าน, ผู้ลงบัตรคัดค้าน, นักโทษ, วัณโรค adj. ซึ่งหลอกให้เชื่อ 2. ย่อมาจากคำว่า CONsole ซึ่งศัพท์บัญญัติฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ส่วนเฝ้าคุม ในวงการคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึง อุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ส่วนที่เป็นแป้นพิมพ์และจอภาพ เป็นต้นว่า คำสั่ง COPY CON:autoexec.bat เป็น คำสั่งที่นำมาใช้เมื่อต้องการนำข้อความที่เราพิมพ์จากแป้นพิมพ์และมองเห็นบนจอภาพ (โดยไม่ต้องใช้โปรแกรมประมวลผลคำ) คัดลอกเข้าไปเก็บไว้เป็นแฟ้มข้อมูลแฟ้มหนึ่ง ชื่อว่า autoexec.bat เมื่อพิมพ์ข้อความที่ต้องการเสร็จแล้ว ให้กด CTRL+Z หลังจากนั้น ในคอมพิวเตอร์ก็จะมีแฟ้มข้อมูลชื่อ autoexec.bat ซึ่งบรรจุข้อความที่พิมพ์ไว้นั้น |
contend | (คันเทนดฺ') { contended, contending, contends } vi. แข่งขัน, ต่อสู้ vt. ยืนยัน, โต้เถียง., See also: contendingly adv. ดูcontend |
contention | (คันเทน'เชิน) n. การแข่งขัน, การดิ้นรนต่อสู้, การโต้เถียง, Syn. struggle |
contentious | (คันเทน'เชิส) adj. ชอบทะเลาะ, ชอบโต้เถียง, ชอบต่อสู้., See also: contentiousness n. ดูcontentious |
contest | (n. คอน'เทสทฺ, -v. คันเทสทฺ') n. การต่อสู้กัน, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง. vt. ต่อสู้, ดิ้นรน, โต้แย้ง, โต้เถียง. vi.แข่งขัน, โต้เถียง, See also: contester n., Syn. strive |
contestation | (คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง |
contradict | (คอนทระดิคทฺ') { contradicted, contradicting, contradicts } vt. โต้แย้ง, เถียง, ปฏิเสธ. vi. กล่าวแย้ง., See also: contradicter n. ดูcontradict contradictor n. ดูcontradict |
contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน |
controversial | (คันทระเวอ'เชิล) adj. เกี่ยวกับการโต้เถียง, เกี่ยวกับการขัดแย้ง, , See also: controversialism n. controversialist n., Syn. disputatious |
controversy | (คอน'ทระเวอซี) n. การโต้เถียง, การโต้ความ, การทะเลาะวิวาท, Syn. discussion |
controvert | (คอน'ทระเวิร์ท) vt. โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย., See also: controverter n. ดูcontrovert controvertible adj. ดูcontrovert, Syn. oppose, deny |
counteract | (เคา'เทอะแอคทฺ) vt. ต่อต้าน, ขัดขวาง, โต้ตอบ, ตีโต้, See also: counteraction n. ดูcounteract counteractive adj. ดูcounteract, Syn. resist, oppose |
counterattack | (เคา'เทอะอะแทค) n. การโต้ตอบ, การตีโต้ vt., vi. โต้ตอบ, ตีโต้ |
countermeasure | (เคา'เทอะเมส'เชอะ) n. วิธีการตอบโต้, มาตรการตอบโต้, วิธีการรับมือ |
countermine | (เคา'เทอะไมน์) n. ทุ่นระเบิดทำลายทุ่นระเบิดข้าศึก, แผนตอบโต้, |
counteroffensive | (เคา'เทอะออฟเฟน'ซิฟว) n. การรุกกลับ, การโจมตีข้าศึกที่กำลังรุกเข้ามา, สงครามตอบโต้ |
deraign | (ดิเรน') vt. โต้เถียง |
desensitise | (ดิเซน'ซิไทซ) vt. ทำให้ไม่ไวต่อ, ขจัดปฎิกิริยาโต้ตอบ, ทำให้ความรู้สึกเฉื่อยชา, ขจัดอาการภูมิแพ้, ลดหรือขจัดการแพ้แสง., See also: desensitization n. ดูdesensitize desensitisation n. ดูdesensitize desensitiser n. ดูdesensitize desensitizer n. ด |
desensitize | (ดิเซน'ซิไทซ) vt. ทำให้ไม่ไวต่อ, ขจัดปฎิกิริยาโต้ตอบ, ทำให้ความรู้สึกเฉื่อยชา, ขจัดอาการภูมิแพ้, ลดหรือขจัดการแพ้แสง., See also: desensitization n. ดูdesensitize desensitisation n. ดูdesensitize desensitiser n. ดูdesensitize desensitizer n. ด |
dialectics | n. วิธีการโต้แย้งด้วยเหตุผล |
disagree | (ดิสอะกรี') { disagreed, disagreeing, disagrees } vi. ไม่เห็นด้วย, ไม่เห็นพ้อง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, ไม่เหมาะ, ทำความเสียหายแก่, Syn. dissent, quarrel |
disagreement | (ดิสอะกรี'เมินทฺ) n. ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่เห็นพ้อง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง, Syn. rift |
discuss | (ดิสคัส') { discussed, discussing, discusses } vt. อภิปราย, โต้ตอบ, สาธยาย., See also: discusser n. ดูdiscuss, Syn. debate, argue |
discussion | (ดิสคัส'เชิน) n. การอภิปราย, การโต้แย้งหาเหตุผล |
disproof | n. การพิสูจน์ว่าผิด, การพิสูจน์หักล้าง, การโต้กลับ, การโต้แย้ง |
disputable | (ดิสพิว'ทะเบิล) adj. ซี่งโต้แย้งได้, เถียงได้, เป็นปัญหา., See also: disputability n. |
disputant | (ดิสพิว'เทินทฺ) n.ผู้โต้เถียง, ผู้โต้แย้ง, ผู้อภิปราย. -adj. ซึ่งโต้เถียง, ซึ่งโต้แย้ง |
disputation | n. การโต้เถียง, การอภิปราย, การทะเลาะ, Syn. dispute |
disputatious | (ดิสพิวเท'ชัส) adj. ซึ่งเป็นการโต้เถียง, ชอบโต้เถียง. |
dispute | (ดิสพิวทฺ') vi., vt., n. (การ) โต้เถียง, โต้แย้ง, ทะเลาะ, See also: disputer n. ดูdispute, Syn. debate, argument |
exchange | (อิคซฺเชนจฺ') v., n. (การ) แลกเปลี่ยน, แลกเงินตรา, โต้ตอบ., See also: exchanger n. ดูexchange exchangeable adj. ดูexchange exchangeability n. ดูexchange exchangeably adv. ดูexchange |
fence | (เฟนซฺ) { fenced, fencing, fences } n. รั้ว, เครื่องกั้น, คอกล้อม, พะเนียด, ศิลปะหรือกีฬาฟันดาบ, ความชำนาญในการโต้แย้ง, บุคคลผู้รับและจำหน่ายของโจร, สถานที่รับและจำหน่ายของโจร. -Phr. (sit on the fence เป็นกลาง, ไม่เข้าข้างฝ่ายใด) . vi. เล่นหรือฝึกฝนการฟันดาบ, ล้อมรั้ว, |
flagrant | (เฟล'เกรินทฺ) adj. เด่นชัด, โจ่งแจ้ง, โต้ง ๆ , ฉาวโฉ่, ลุกไหม้, เผาไหม้., See also: flagrancy, flagrance, flagrantness n. flagrantly adv. |
flak | (แฟลคฺ) n. การยิงปืนต่อสู้อากาศยาน, การวิจารณ์ที่รบกวน, การต่อต้านที่รบกวน, การโต้เถียงอย่างเผ็ดร้อน, การอภิปรายอย่างเผ็ดร้อน., Syn. flack |
Nontri Dictionary
argue | (vi, vt) โต้แย้ง, เถียง, ถกเถียง, โต้เถียง, โต้คารม |
argument | (n) การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การโต้คารม, การถกเถียง |
argumentative | (adj) ชอบโต้แย้ง, ชอบโต้เถียง, ชอบเถียง, ชอบขัดแย้ง |
bandy | (vt) ส่งไปส่งมา, โต้ตอบ |
bicker | (n) การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง |
bicker | (vi) ทะเลาะวิวาท, โต้เถียง |
clash | (vt) ปะทะกัน, ชนกัน, กระทบกัน, ขัดแย้งกัน, โต้แย้งกัน, ทะเลาะกัน |
con | (adv) ตรงข้าม, แย้ง, ต่อต้าน, โต้แย้ง |
con | (n) ความตรงข้าม, การแย้ง, การโต้แย้ง, การต่อต้าน, ผู้คัดค้าน |
contend | (vt, vi) ต่อสู้, ยืนยัน, โต้แย้ง, ชิงชัย, แข่งขัน |
contention | (n) การทะเลาะวิวาท, การโต้เถียง, การต่อสู้, การแข่งขัน |
contentious | (adj) ชอบทะเลาะวิวาท, ชอบต่อสู้, ชอบโต้เถียง, ชอบแย้ง |
contest | (n) การต่อสู้, การต่อกร, การแข่งขัน, การโต้แย้ง, การโต้เถียง |
contest | (vt) ต่อสู้, ต่อกร, แข่งขัน, โต้แย้ง, โต้เถียง |
contradict | (vt) เถียง, แย้ง, โต้แย้ง |
contradiction | (n) การโต้แย้ง, การเถียง, การแย้ง, ความตรงกันข้าม |
controversial | (adj) ซึ่งแย้งกัน, ที่เถียงกัน, เกี่ยวกับการโต้เถียง |
controversy | (n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม |
controvert | (vi, vt) แย้งกัน, โต้เถียง, คัดค้าน, อภิปราย |
correspond | (vi) โต้ตอบทางจดหมาย, ตรงกัน, ลงรอยกัน, มีลักษณะเช่นเดียวกัน |
correspondence | (n) การโต้ตอบทางจดหมาย, ความเกี่ยวพัน, ความเหมือนกัน |
correspondent | (n) ผู้โต้ตอบจดหมาย, ลูกค้า, ผู้สื่อข่าว, นักข่าว, สิ่งที่คู่กัน |
counter | (vt) ตอบโต้, โต้แย้ง, ต่อต้าน, สวน, ฝ่าฝืน, เป็นปรปักษ์ |
counteract | (vt) ตอบโต้, ขัดขวาง, ถ่วง, แก้, ต่อต้าน |
debate | (n) การถกเถียง, การอภิปราย, การโต้แย้ง, การโต้วาที |
debate | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, ต่อต้าน, ชิงชัย, โต้วาที, อภิปราย |
debater | (n) ผู้ถกเถียง, ผู้อภิปราย, ผู้โต้วาที |
disagree | (vi) ไม่เห็นด้วย, ไม่ตกลงกัน, ทะเลาะกัน, โต้แย้ง |
discuss | (vt) อภิปราย, สาธยาย, พิจารณา, โต้เถียง, โต้ตอบ, สนทนา |
discussion | (n) การอภิปราย, การพิจารณา, การสนทนา, การโต้เถียง, การโต้ตอบ |
disputable | (adj) ยังเป็นปัญหาอยู่, โต้แย้งได้, เถียงได้, แย้งได้ |
disputant | (n) ผู้โต้แย้ง, ผู้ถกเถียง, ผู้โต้เถียง |
disputation | (n) การโต้เถียง, การโต้แย้ง, การถกปัญหา, การอภิปราย |
dispute | (vt) โต้เถียง, แย้ง, ค้าน, ทะเลาะ, ต่อต้าน, อภิปราย |
exchange | (vt) แลกเปลี่ยน, ปริวรรต, สับเปลี่ยน, โต้ตอบ |
flagrant | (adj) โต้งๆ, ชัดๆ, ฉาวโฉ่, โจ่งแจ้ง, ร้อน |
gainsay | (vt) แย้ง, โต้แย้ง, คัดค้าน, ต้าน, ต่อต้าน |
incontrovertible | (adj) โต้แย้งไม่ได้, เปลี่ยนไม่ได้, เถียงไม่ได้ |
indefensible | (adj) ป้องกันไม่ได้, โต้แย้งไม่ได้, แก้ตัวไม่ได้ |
indisputable | (adj) โต้แย้งไม่ได้, เถียงไม่ได้, โต้ตอบไม่ได้ |
jangle | (n) เสียงห้าว, การทะเลาวิวาท, การโต้เถียง |
jangle | (vt) วิวาท, ทะเลาะ, โต้เถียง, พูดเสียงห้าว |
moot | (vi, vt) โต้เถียง, เสนอปัญหา, ถกเถียง, ดำริ |
objection | (n) ข้อขัดข้อง, การคัดค้าน, การท้วงติง, การโต้แย้ง |
offset | (vt) ชดเชย, ตอบแทน, ตอบโต้, วางเคียงกัน |
orator | (n) ผู้ปราศรัย, ผู้แสดงสุนทรพจน์, นักพูด, นักโต้วาที, โจทก์ |
outspoken | (adj) โผงผาง, ขวานผ่าซาก, ตรงๆ, เปิดเผย, โต้งๆ |
passive | (adj) ไม่โต้ตอบ, อยู่เฉยๆ, ซึ่งถูกกระทำ |
polemic | (n) การโต้เถียง, การถกเถียง, การทะเลาะ, การโต้แย้ง |
polemical | (adj) โต้เถียง, ถกเถียง, ทะเลาะ, โต้แย้ง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
bodyboarding | (n) การเล่นกระดานโต้คลื่น |
conferral | (n, vt) การโต้แย้ง |
contest | (vt) ถกเถียง, โต้แย้ง, See also: dispute, Syn. argue |
counterintuitive | (n) การโต้ตอบตามสัญชาตญาณ |
msn | [เอ็มเอสเอ็น] โปรแกรม Messenger สำหรับสนทนาระหว่าง อีเมลล์ ของ Hotmail และอื่นๆ สามารถโต้ตอบโดยผ่านสื่อได้หลายสื่อ เช่น กล้องเว็บแคม , ไมโครโฟน , Text , Short sound ฯลฯ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
パレート図 | [ぱれーとず, paretozu] แผนภูมิพาเลโต้ (พาเลโต้=ชื่อคน) |
加藤 | [かとう, katou] (name) คาโต้ |
議論 | [ぎろん, giron] (n) การอภิปราย การโต้แย้ง การถกเถียง |
口論 | [こうろん, kouron] (n) การโต้เถียงกัน การทะเลาะกัน |
争い | [あらそい, arasoi] โต้เถียง, ขัดแย้ง, โต้แย้ง, ทะเลาะ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
争う | [あらそう, arasou] TH: โต้เถียง EN: to dispute |
対話 | [たいわ, taiwa] TH: การสนทนาพูดตอบโต้ EN: interactive |
Longdo Approved DE-TH
widersprechen | (vi) |widersprach, hat widersprochen| โต้แย้ง, ไม่เห็นด้วย |
sich verhören | (vt) |verhörte sich, hat sich verhört| ฟังผิด เช่น Sagtest du 'Autobahn' oder habe ich mich verhört? เธอพูดว่าออโต้บาน หรือว่าฉันฟังผิดนะ |
argumentieren | (vi) |argumentierte, hat argumentiert, gegen/für etw.| โต้เถียง, ให้เหตุผล, ถกเถียง |
Auseinandersetzung | (n) |die, pl. Auseinandersetzungen, über eine Sache| การอภิปรายถกเถียง, การโต้แย้ง, การเถียงกัน, See also: Streit, Syn. Diskussion |
Longdo Approved FR-TH
en train de (+ verbe) | (phrase) กำลังกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งอยู่ เช่น Otto est en train de regarder une jolie fille. = อ๊อตโต้กำลังมองสาวสวยคนหนึ่งอยู่ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0714 seconds, cache age: 7.848 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม