154 ผลลัพธ์ สำหรับ *เอ่ย*
ภาษา
หรือค้นหา: เอ่ย, -เอ่ย-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เอ่ย | (v) utter, See also: pronounce, say, speak, mention, express, articulate, Syn. เอื้อนเอ่ย, Example: เธอเอ่ยขึ้นก่อนที่ผมจะอ้าปากพูดอะไรเสียอีก, Thai Definition: เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด |
เอ่ยถึง | (v) mention, See also: talk about, speak of, refer to, Syn. พูดถึง, กล่าวถึง, Example: ผมรู้ว่าเธอเกลียดผู้ชายคนนี้แค่ไหน ผมจึงไม่เอ่ยถึงให้เธอได้ยินเลย |
เอ่ยปาก | (v) (begin to) speak, See also: say, talk, Syn. พูด, Example: พวกเขายืนเงียบเฉยค่อนข้างนานไม่มีใครเอ่ยปากพูดอะไร |
เอ่ยอ้าง | (v) claim, See also: profess, Example: ข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีข้อกำหนดว่า การอภิปรายจะเอ่ยอ้างถึงพระปรมาภิไธยไม่ได้ |
การเอ่ยถึง | (n) mention, See also: allusion, reference, Syn. การอ้างถึง, การพูดถึง, การกล่าวถึง, Example: ในที่ประชุมได้มีการเอ่ยถึงเรื่องส่วนตัวของเขา, Thai Definition: การพูดพาดพิงถึง |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
เอย ๒, เอ่ย ๑ | คำกล่าวประกอบหลังชื่อ เป็นเชิงปรารภเป็นต้น หรือลงท้ายคำกลอน เช่น แม่เอย แกอย่ามาห้ามข้า ตัวของลูกยาก็ไม่ฟัง (มโนห์รา), เจ้ามัทรีเจ้ามาไยเวลาปานฉะนี้ พระน้องเอ่ย ผิดเวลากาล (ม. ร่ายยาว กุมาร), ทิ้งทุ่งให้มืดมัวทั่วมลฑล และทิ้งตนตัวเปลี่ยวอยู่เดียวเอย (บทดอกสร้อย). |
เอ่ย ๒ | ก. เปล่งเสียงพูด, เริ่มพูด. |
เอ่ย ๒ | ว. คำออกเสียงใช้ในความเพื่อให้ทาย เช่น นกอะไรเอ่ย. |
เอ๊ย | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงอาการว่าพูดผิดไปเป็นต้น. |
เอ๊ย | ว. คำลงท้ายชื่อหรือถ้อยคำเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๋ย ก็ว่า. |
เอ๋ย | ว. คำลงท้ายชื่อหรือถ้อยคำเพื่อบอกให้รู้หรือร้องเรียกด้วยความเอ็นดู, เอ๊ย ก็ว่า |
เอ๋ย | คำที่ใช้ในตอนขึ้นต้นคำกลอนหรือบทดอกสร้อย เช่น กาเอ๋ยกาดำ รถเอ๋ยรถทรง. |
เอื้อนอรรถ, เอื้อนเอ่ย, เอื้อนโอฐ ๒ | ก. ออกปากพูด, พูดข้อความออกมา, มักใช้แก่กิริยาที่ทำทีอิดเอื้อนไม่ใคร่พูดออกมาง่าย ๆ. |
กระจองงอง, กระจองงอง ๆ | ว. เสียงร้องเช่นนั้นพร้อมตีฆ้องป่าวประกาศว่า กระจองงอง ๆ เจ้าข้าเอ๊ย. |
กระแด้แร่ | ว. กระแดะ, ดัดจริต, เช่น อย่าทำดื้อกระแด้แร่เลยแม่เอ๋ย (มณีพิชัย). |
กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กลอักษร | (กน-, กนละ-) น. กลบทที่ซ่อนเงื่อนไว้ให้อ่านฉงน ตัวอย่างว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตก กระไรเลยระกำใจ จะจากไกลไม่เคย ให้อ่านว่า โอ้อกเอ๋ยแสนวิตกโอ้อกเอ๋ย กระไรเลยระกำใจกระไรเลย จะจากไกลไม่เคยจะจากไกล. (กลอักษรงูกลืนหาง). |
กวางเดินดง | ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง เช่น อกเอ๋ยอกประหลาดจริงที่นิ่งเฉย โอ้เอ๋ยผิดคิดไม่เห็นจะเป็นเลย เสียดายเอ๋ยที่พี่เคยสงวนงาม (กลบท). |
กำพร้า ๒ | (-พฺร้า) ว. ไร้บิดาหรือมารดาเลี้ยงดูแต่เด็ก, (โบ) หมายถึง ร้างลูกร้างเมียด้วย เช่น สองจะลีลาสู่ฟ้า ลาแม่เป็นกำพร้า เจ้าแม่เอ้ยปรานี แม่รา (ลอ), (กลอน) ใช้เป็น ก่ำพร้า ก็มี เช่น เจ้าจะละเรียมไว้ ก่ำพร้าคนเดียว (ลอ). |
ขวัญ | เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียกขวัญว่า “ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว” แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามควร เรียกว่า ผูกขวัญ |
ขึ้นชื่อ | ก. ลือชื่อ, เอ่ยถึงบ่อย ๆ |
คำทาย | น. ปัญหาที่ตั้งขึ้นมาเพื่อให้ทายว่าได้แก่อะไร มีคำว่า อะไรเอ่ย อยู่ข้างหน้าเสมอ เช่น อะไรเอ่ย ต้นเท่าครก ใบปกดิน, มักใช้เข้าคู่กับคำ ปริศนา เป็น ปริศนาคำทาย. |
โง่เง่าเต่าตุ่น | ว. โง่ที่สุด เช่น เพราะโง่เง่าเต่าตุ่นพ่อคุณเอ๋ย ผู้ใดเลยจะประสงค์จำนงหมาย (นิ. ทวาราวดี). |
ฉ่า ๒ | ว. เสียงลูกคู่เพลงร้องรับจังหวะพ่อเพลงแม่เพลง มีเสียงต่าง ๆ เช่น ชะฉ่า ชาฉ่า ชัดฉ่า เป็นต้น เช่น ขอพวกกัญญาอย่าเคือง เอ๋ยในใจเอย ฉ่าฉ่าฉ่าชา ชะฉ่าไฮ้, ชะฉ่าชะฉ่า ชะฉ่าไฮ้ เล่นเพลงปรบไก่จนหัวไหล่ยอก (บทเพลงปรบไก่), เอ่ชา เอ๊ชา ชา ฉ่า ชา นอยแม่ (บทเพลงฉ่อย). |
ช่างกระไร | คำกล่าวติเตียน ตัดพ้อ หรือผิดหวัง เช่น เมียเจ้ารูปทองสิบสองหนัก ยศศักดิ์ปึ่งชาจะหาไหน พี่น้องพร้อมพรั่งช่างกระไร แต่จะยกมือไหว้ก็ไม่มี (สังข์ทอง), คำกล่าวแสดงความตื่นเต้น เช่น น้องเอ๋ยรูปร่างช่างกระไร นางในกรุงศรีไม่มีเทียม (ขุนช้างขุนแผน). |
เชยชิด | ก. สัมผัสแนบชิด เช่น ในเพลงปี่ว่าสามพี่พราหมณ์เอ๋ย ยังไม่เคยเชยชิดพิสมัย (อภัย). |
ซากศพ | น. ศพ เช่น แม้นพระองค์ไม่ทรงเลี้ยงมัทรีไว้ จะนิ่งมัธยัสถ์ตัดเยื่อใยไม่โปรดบ้าง ก็จะเห็นแต่กเลวระร่างซากศพของมัทรี (ม. ร่ายยาว มัทรี), เจ้าพี่เอ๋ยอุตส่าห์พาซากศพ มาให้พบผัวรักเมื่อเป็นผี (ตับนางลอย), บางทีเขียนเป็น ทรากศพ ก็มี เช่น พระบาทเจ้าจะได้ทอดทัศนา ซึ่งทรากศพสาธารณนอนตาย (ม. คำหลวง มัทรี), ร่างของคนที่ตายมานานแล้วแต่มีเค้าพอให้สันนิษฐานได้ว่าเป็นผู้ชายหรือผู้หญิงเป็นต้น. |
ดอกไม้พวง | น. ชื่อเพลงยาวกลอักษร ตัวอย่างว่า นิจาเอ๋ยกะไรเลยไม่เคยเห็น นิจาเอ๋ยกะไรน่านํ้าตากระเด็น นิจาเอ๋ยกะไรเปนได้เช่นนี้ (กลบท). |
ดอกสร้อย ๒ | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, บทดอกสร้อย ก็ว่า. |
ตรีพิธพรรณ | (ตฺรีพิดทะพัน) น. ชื่อกลอนกลบทชนิดหนึ่ง กำหนดให้มีคำเดียวกันซ้ำ ๓ ครั้งภายในวรรคเดียวกัน จะเป็นตำแหน่งใดก็ได้ เช่น สังเวชจิตร์เอ๋ยจิตร์จิตร์เราหนอ ไม่เจียมกายกายแก่ทำกายตะกอ ดีแต่ก้ออวดก้อก้อเกินนัก (ประชุมจารึกวัดพระเชตุพน) |
ตุ๊ดตู่ ๔ | น. ชื่อสัตว์ชนิดหนึ่ง เช่น ในบทดอกสร้อยสุภาษิตว่า “ตุ๊ดเอ๋ยตุ๊ดตู่ ในเรี่ยวในรูช่างอยู่ได้...”. |
แถกขวัญ | ก. ทำลายขวัญ, ทำให้กลัว, เช่น นกเอ๋ยนกแสก จับจ้องร้องแจ๊กเพียงแถกขวัญ (กลอนดอกสร้อยรำพึงในป่าช้า พระยาอุปกิตศิลปสาร). |
นักงาน | น. หน้าที่ เช่น อันการสงครามครั้งนี้ ไว้นักงานพี่จะช่วยหัก (รามเกียรติ์ ร. ๑), เจ้าพนักงาน เช่น เหวยนักงานเอ๋ย เร่งรุกเร็วบัดนี้พลัน จงแสดงทุกข์แห่งโอรส ให้ปรากฏโดยคดี ว่าบัดนี้หมู่สีพีลงโทษ โกรธจอมธรรม์ (ม. คำหลวง หิมพานต์). |
บทดอกสร้อย | น. ชื่อกลอนแบบหนึ่ง บทหนึ่งมี ๔ คำกลอน วรรคที่ ๑ มี ๔ คำ มี เอ๋ย เป็นคำที่ ๒ และจบบทด้วยคำว่า เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว...คอยดูอย่างไว้ใส่ใจเอย, ดอกสร้อย ก็ว่า. |
บังอร | เด็ก ๆ ที่กำลังน่ารัก เช่น จึ่งตรัสประภาษไปว่าพราหมณ์เอ่ย อย่าเพ่อน้อยใจแก่เราก่อน เราจะพาสองกุมารบังอรมาให้จงได้ (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
ผูกขวัญ | ก. เอาเส้นด้ายผูกข้อมือเด็กแล้วกล่าวเรียกขวัญว่า “ขวัญเอ๋ย มาอยู่กับเนื้อกับตัว” แล้วกล่าวให้พรต่อไปตามสมควร. |
มือเก่า | ว. มีความชำนาญหรือชํ่าชองมาก เช่น อย่าประมาทมือเก่านะเจ้าเอ๋ย (อภัย). |
สด ๆ, สด ๆ ร้อน ๆ | ซึ่ง ๆ หน้า เช่น เจ้าข้าเอ่ยบุคคลผู้ใดเลย ในโลกนี้ที่น่าจะเจรจาตลบเลี้ยวลดสด ๆ ร้อน ๆ เหมือนเจ้าพระยาเวสสันดรชีไพรเป็นว่าหามิได้นี้แล้วแล (เวสสันดร), โกหกสด ๆ ร้อน ๆ. |
ออเจ้า | ส. คำใช้แทนชื่อผู้ที่เราพูดด้วย เช่น ทชีก็ปรับทุกข์ร้อนทางจะอวดมีว่า ออเจ้าเอ๋ยออเจ้าเราค่อยมั่งมีขึ้นถึงเพียงนี้มีเสียกว่าออเจ้า (ม. คำหลวง ชูชก), เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๒. |
โอ้ ๑ | อ. คำในคำประพันธ์ ใช้ในความรำพึง พรรณนา วิงวอน หรือปลอบ เป็นต้น เช่น โอ้พ่อพลายสายสวาทของน้องเอ๋ย ไม่เคยเลยจะห่างเหเสนหา (ขุนช้างขุนแผน), โอ้ว่า ก็ใช้ เช่น โอ้ว่าน่าเสียดายตัวนัก เพราะเชื่อลิ้นหลงรักจึงชํ้าจิต (อิเหนา). |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อะไรเอ่ย | [arai oēi] (xp) EN: what is it ? |
ลูกเอ๋ย | [lūk oēi] (n, exp) EN: my dear son ; little dear ; my good bot ; darling FR: mon enfant chéri ; mon enfant adoré ; mon petit |
เอ่ย | [oēi] (v) EN: utter ; pronounce ; say ; speak ; mention ; express ; articulate FR: s'exclamer ; proférer |
...เอ๋ย | [… oēi] (x) EN: dear ... ; little … FR: ... chéri ; … adoré |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
advert to | (phrv) พูดถึง, See also: เอ่ยถึง, พูด, บอก, กล่าว, Syn. bring up, mention, talk about |
bring up | (phrv) เอ่ยถึง, See also: พูดถึง, แนะนำ, Syn. come up, fling up, raise with, sling up, throw up |
call over | (phrv) พูด, See also: เอ่ย, Syn. call off |
drop a brick | (idm) เอ่ยถึงสิ่งที่ทำให้อับอาย (คำไม่เป็นทางการ) |
drop a clanger | (idm) เอ่ยถึงสิ่งที่ทำให้อับอาย (คำไม่เป็นทางการ) |
drop someone's name | (idm) เอ่ยชื่อคนสำคัญหรือมีชื่อเสียงอย่างสนิทสนม |
drop the name of someone | (idm) เอ่ยชื่อคนสำคัญหรือมีชื่อเสียงอย่างสนิทสนม |
fetch up | (phrv) เอ่ยถึงอดีตหรือสิ่งที่ไม่น่าพอใจ, Syn. drag up |
go into | (phrv) เอ่ยถึง, See also: พูดถึง |
gambit | (n) การเอ่ยเพื่อเปิดการสนทนา |
goes without saying | (idm) ชัดเจนจนไม่ต้องเอ่ยอะไรอีก |
mention something in passing | (idm) เอ่ยถึงบางสิ่งอย่างน่าเป็นไปได้ |
keep mum | (phrv) ปิดเงียบเกี่ยวกับ (คำไม่เป็นทางการ), See also: เก็บเงียบในเรื่อง, ไม่เอ่ยถึง, Syn. keep dark, keep quiet |
keep off | (phrv) ไม่พูดถึง, See also: ไม่เอ่ยถึง |
let alone | (phrv) อย่าเอ่ยถึง, See also: ไม่ต้องเอ่ยถึง, ไม่ต้องพูดถึง, Syn. leave alone |
make mention of | (idm) เอ่ยถึง |
make play with | (idm) เอ่ยถึงบางสิ่งเพื่อให้เกิดผลบางอย่าง |
mention in | (phrv) เอ่ยถึง, See also: พูดถึง |
mention to | (phrv) เอ่ยถึง, See also: พูดเกี่ยวกับ |
mention | (vi) กล่าวถึง, See also: อ้างถึง, เอ่ยถึง, พูดถึง, Syn. refer, comment, Ant. overlook, disregard |
mention | (vt) กล่าวถึง, See also: อ้างถึง, เอ่ยถึง, พูดถึง, Syn. refer, comment, Ant. overlook, disregard |
mention | (n) การกล่าวถึง, See also: การเอ่ยถึง, การพูดถึง, Syn. notice, specifying |
mouth | (n) การพูด, See also: การเอ่ยปาก, คำพูด |
pass over | (phrv) ไม่สนใจ, See also: ไม่เอ่ยถึง, ไม่แยแส, Syn. pass by, pass up |
refer to | (vt) พูดถึง, See also: เอ่ย, บ่งถึง, Syn. mention, point to |
rake over old ashes | (idm) เอ่ยถึงช่วงเวลาแห่งความสุขในอดีต |
refer back to | (phrv) เอ่ยถึงอีก, See also: เตือนให้นึกถึง |
refer to | (phrv) อ้างถึง, See also: เอ่ยถึง, เขียนถึง, Syn. talk about |
say | (vt) พูด, See also: เล่า, บอก, แจ้ง, กล่าว, เอ่ย, Syn. announce, pronounce, tell, speak, utter, vocalize |
say | (vi) พูด, See also: กล่าว, เอ่ย, แสดงความคิดเห็น, Syn. express |
say nothing of | (idm) ไม่เอ่ยถึง, See also: ไม่รวมถึง |
speak about | (phrv) พูดถึง, See also: พูดเกี่ยวกับ, เอ่ยถึง, Syn. talk about |
speak of | (phrv) เอ่ยถึง, See also: พูดถึง, พูดเกี่ยวกับ, Syn. talk about |
speak on | (phrv) พูดถึง, See also: เอ่ยถึง, คุยเกี่ยวกับ, Syn. talk on |
speak upon | (phrv) พูดถึง, See also: เอ่ยถึง, คุยเกี่ยวกับ, Syn. speak on |
speak with | (phrv) พูดกับ, See also: เอ่ยกับ, Syn. speak to, talk to, talk with |
talk of | (phrv) เอ่ยถึง, Syn. talk about |
unmentionable | (adj) ซึ่งไม่สามารถเอ่ยถึงได้, See also: ซึ่งไม่สมควรพูดถึง, Syn. ignoble, disgraceful, scandalous |
utter | (vt) พูด, See also: กล่าว, เอ่ย, คุย, เล่า, Syn. talk, speak |
Hope Dictionary
breathing | (บรีธ'ธิง) n. การหายใจ, กระบวนการหายใจ, การหายใจอึดหนึ่ง, การหยุดพักหายใจ, การเอ่ยคำ, ความปรารถนา, ชั่วแวบเดียว, การโชยพัดเบา |
forget | (ฟอร์เกท') { forgot, forgotten, forgetting, forgets } vt. ลืม, จำไม่ได้, ลืมเลือน, ลืมเอ่ยถึง, ไม่สนใจ. vi. ลืม. -Phr. (forget oneself ลืมตัว, กระทำสิ่งที่ไม่เหมาะสม) ., See also: forgettable adj. forgetter n., Syn. lose |
hello | (เฮล'โล, ฮีโล') interj. คำอุทานแสดงความประหลาดใจ. n., vi. (การ) เอ่ยคำ"ฮัลโหล" |
mention | (เมน'เชิน) vt. กล่าวถึง, เอ่ยถึง, อ้างอิง, พูดพาดพิง. n. การกล่าวถึง, คำอ้าง -Phr. (not to mention นอกเหนือจาก), See also: mentioner n., Syn. refer, name, cite |
remark | (รีมาร์ค') vt. เอ่ย, พูด, กล่าว, สังเกตเห็น, ให้ข้อคิดเห็น vi. สังเกตเห็น, ให้ข้อคิดเห็น n. การเอ่ย, การพูด, การให้ข้อคิดเห็น, ข้อคิดเห็น, ความเห็น, =remarque (ดู), See also: remarker n., Syn. perceive, observe, heed |
spoken | (สโพ'เคิน) adj. พูด, เอ่ย, เกี่ยวกับภาษาพูด, ทางปาก, เกี่ยวกับคำพูด, Syn. said, uttered, verbal |
tongue | (ทัง) n. ลิ้น, คารม, สำนวนภาษา, ชนชาติ (ซึ่งใช้ภาษาต่างกัน) , แผ่นลิ้นของเครื่องดนตรี, เข็มตาชั่ง, (แผ่นดิน) แหลม, เดือย, เดือยตัวผู้, หมุด vt., vi. เปล่งเสียงจากการกระทบของลิ้น, แตะด้วยลิ้น, ด่า, ดุ, ใช้ลิ้นเลีย, ใช้ลิ้นช่วยในการเป่าเครื่องดนตรี, ทำรางลิ้น, พูด, เอ่ย |
unmentionable | (อันเมน'เชินนะเบิล) adj. เอ่ยถึงไม่ได้, ไม่อาจจะกล่าวถึงได้, พูดไม่ออก, น้ำท่วมปาก n. สิ่งที่ไม่ควรกล่าวถึง. unmentionables กางเกง, เสื้อผ้าชั้นใน |
valediction | (แวลลิดิค'เชิน) n. การอำลา, การเอ่ยคำอำลา, คำอำลา |
vocalise | (โว'คะไลซ) vt., vi. เปล่งเสียง, เอ่ย, พูด, ออกเสียง, ร้องเสียง, ทำให้มีเสียง, เปลี่ยนเป็นเสียงสระ, กลายเป็นเสียงสระ |
vocalize | (โว'คะไลซ) vt., vi. เปล่งเสียง, เอ่ย, พูด, ออกเสียง, ร้องเสียง, ทำให้มีเสียง, เปลี่ยนเป็นเสียงสระ, กลายเป็นเสียงสระ |
Nontri Dictionary
mention | (vt) กล่าวถึง, พาดพิงถึง, อ้างถึง, เอ่ยถึง |
remark | (vt) กล่าว, สังเกต, พูด, เอ่ย, ให้ข้อคิด |
Longdo Approved DE-TH
halten | (vt) |hält, hielt, hat gehalten| ถือ, จับ เช่น Kannst du meine Tasche bitte mal halten? เธอช่วยถือกระเป๋าของฉันหน่อยได้ไหมเอ่ย, See also: festhalten |
der Fall sein | (phrase) ในกรณีนี้ เช่นนี้ (ใช้อ้างถึงสิ่งที่เพิ่งเอ่ยถึง) เช่น Hoffentlich besucht er mich in diesem Sommer. Wenn das der Fall ist, fahren wir in die Schweiz zusammen. หวังว่าเขาจะมาเยี่ยมฉันหน้าร้อนนี้ ถ้าเป็นเช่นนั้น เราจะขับรถไปเที่ยวสวิสเซอร์แลนด์ |
ciao! | เป็นคำเอ่ยลาสำหรับคนที่สนิทกันหรือเพื่อนๆ |
ansprechen | (vt) |sprach an, hat angesprochen| ทัก, เอ่ย, พูดจาทักทาย เช่น Er hat als erstes mich auf der Party angesprochen. เขาเป็นคนแรกที่ทักฉันในงานเลี้ยง |
nennenswert | (adj) ที่น่าเอ่ยถึง, เป็นที่น่าพูดถึง เช่น Diese Woche hat sie keinen nennenswerten Fortschritt. อาทิตย์นี้เธอไม่มีผลงานความก้าวหน้าที่น่าเอ่ยถึงเลย, Syn. erwähnenswert |
einziehen | (vi) |zog ein, ist eingezogen| ย้ายเข้า, ตั้งถิ่นฐาน เช่น In welchem Haus ziehst du denn ein? เธอย้ายเข้าบ้านหลังไหนเอ่ย |
Ja | อืม (เป็นคำใช้เอื้อนเอ่ย หลังจากที่ทิ้งช่วงคิดไปสักพัก) เช่น Wann hast du deinen Schlüssel zum letzten Mal gesehen? - Ja, ich weiß nicht. เธอเห็นลูกกุญแจครั้งสุดท้ายเมื่อไหร่ - อืม ไม่รู้แฮะ |
jedes | |+ คำนามเพศกลาง หรือ เป็นคำแทนนามเพศกลาง รูปประธานและกรรม| ทุกๆ เช่น Hast du jedes Buch schon gelesen? เธออ่านหนังสือทุกเล่มหรือยังเอ่ย |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0307 seconds, cache age: 23.857 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม