222 ผลลัพธ์ สำหรับ *เป็นธรรม*
ภาษา
หรือค้นหา: เป็นธรรม, -เป็นธรรม-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
เป็นธรรม | (v) be fair, See also: be just, be equitable, be impartial, be justified, Syn. ยุติธรรม, ถูกต้อง, เที่ยงธรรม, Ant. ไม่เป็นธรรม, ไม่ยุติธรรม, Example: การตัดสินของคณะกรรมการเป็นธรรมที่สุด |
เป็นธรรมดา | (adv) normally, See also: ordinarily, commonly, usually, generally, typically, regularly, Syn. เป็นปกติ, Example: ใครๆ ก็ต้องเลือกงานสบายๆ เป็นธรรมดา |
ไม่เป็นธรรม | (v) under the belt, Syn. ไม่ยุติธรรม, Ant. ยุติธรรม, Example: ที่ผ่านมาบริษัทไม่เป็นธรรมกับลูกจ้างในเรื่องการปรับค่าจ้าง, Thai Definition: ไม่ชอบด้วยเหตุผล |
ความเป็นธรรม | (n) fairness, See also: justification, Syn. ความยุติธรรม, ความเที่ยงธรรม, Ant. ความไม่เป็นธรรม, ความอยุติธรรม, Example: การตัดสินของศาลมีความเป็นธรรมเสมอ |
เป็นธรรมชาติ | (v) has the natural manner, See also: has an unaffected or spontaneous manner, Example: ท่าทางของเด็กๆ แต่ละคนเป็นธรรมชาติมาก |
เป็นธรรมชาติ | (adv) naturally, See also: spontaneously, Thai Definition: ไม่ได้แสร้งทำ |
ให้ความเป็นธรรม | (v) uphold justice, See also: give fair treatment |
ให้ความเป็นธรรม | (v) uphold justice, See also: give fair treatment |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม | น. ข้อตกลงในสัญญาระหว่างผู้บริโภคกับผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือในสัญญาสำเร็จรูป หรือในสัญญาขายฝากที่ทำให้ผู้ประกอบธุรกิจการค้า หรือวิชาชีพ หรือผู้กำหนดสัญญาสำเร็จรูป หรือผู้ซื้อฝากได้เปรียบคู่สัญญาอีกฝ่ายหนึ่งเกินสมควร. |
เป็นธรรม | ว. ถูกต้อง. |
การจัดรูปที่ดินเพื่อพัฒนาพื้นที่ | น. การดำเนินการพัฒนาที่ดินหลายแปลงโดยการวางผังจัดรูปที่ดินใหม่ ปรับปรุงหรือจัดสร้างโครงสร้างพื้นฐาน และการร่วมรับภาระและกระจายผลตอบแทนอย่างเป็นธรรม ทั้งนี้ โดยความร่วมมือระหว่างเอกชนกับเอกชนหรือเอกชนกับรัฐ เพื่อให้เกิดการใช้ประโยชน์ในที่ดินที่เหมาะสมยิ่งขึ้นในด้านต่าง ๆ. |
เกาะแกะ | ก. พูดพาดพิงเชิงชู้สาว, พูดเชิงเกี้ยวพาราสี, เช่น มันเกาะแกะเกินกํ้าเป็นธรรมดา (ขุนช้างขุนแผน), เคาะแคะ ก็ว่า. |
เจตภูต | (เจดตะพูด) น. สภาพเป็นผู้คิดอ่าน คือ มนัส, ที่เรียกในภาษาสันสกฤตว่า “อาตมัน” เรียกในภาษาบาลีว่า “อัตตา” ก็มี “ชีโว” ก็มี, มีอยู่ในลัทธิว่า “ในโลกนี้ไม่มีอะไรสูญ แม้คนและสัตว์ตายแล้ว ร่างกายเท่านั้นทรุดโทรมไป ส่วนเจตภูตเป็นธรรมชาติไม่สูญ ย่อมถือปฏิสนธิในกำเนิดอื่นสืบไป”, ลัทธินี้ทางพระพุทธศาสนาจัดเป็นสัสตทิฐิ แปลว่า ความเห็นว่าเที่ยง, ตามสามัญที่เข้าใจกัน เจตภูต คือวิญญาณที่สิงอยู่ในตัวคน กล่าวกันว่าออกจากร่างได้ในเวลานอนหลับ. |
ชราธรรม | ว. มีชราเป็นธรรมดา, มีความแก่ความชำรุดทรุดโทรมเป็นธรรมดา. |
ชาติธรรม | (ชาติทำ) ว. มีความเกิดเป็นธรรมดา. |
แตกดับ | ก. สูญสลาย เช่น วิญญาณแตกดับ สังขารย่อมแตกดับเป็นธรรมดา, ตาย ในคำว่า ชีวิตแตกดับ. |
ทัฬหีกรรม | (ทันฮีกำ) น. การกระทำให้มั่นคงขึ้น ได้แก่การที่ทำซํ้าลงไปเพื่อให้มั่นคงในกรณีที่การกระทำครั้งแรกไม่สมบูรณ์ มักใช้ในพิธีสงฆ์ เช่น พระภิกษุที่บวชในฝ่ายมหานิกาย เมื่อไปอยู่ในวัดที่เป็นธรรมยุติกนิกายบางวัดก็ต้องให้ทำทัฬหีกรรม. |
ทาน ๑, ทาน- | สิ่งที่ให้ มักหมายถึงเงินหรือสิ่งของที่คนให้แก่คนยากจน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุและทศพิธราชธรรม. <i> (ดู สังคหวัตถุและทศพิธราชธรรม)</i>. |
ทานมัย | (ทานนะไม) ว. สำเร็จด้วยทาน, แล้วไปด้วยทาน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. |
เที่ยงธรรม | ว. ตั้งตรงด้วยความเป็นธรรม. |
ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ | ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม |
ธรรมกถา | น. การกล่าวธรรม, ถ้อยคำที่เป็นธรรม. |
ธรรมการย์ | น. กิจอันเป็นธรรม, การกุศล, หน้าที่อันสมควร. |
ธรรมจริยา | น. การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม. |
ธรรมปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในธรรม คือ ความเข้าใจสาวหาเหตุในหนหลัง, ความเข้าใจถือเอาใจความแห่งอธิบายนั้น ๆ ตั้งเป็นกระทู้หรือหัวข้อขึ้นได้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ธรรมิก, ธรรมิก- | (ทำมิก, ทำมิกกะ-) ว. ประกอบในธรรม, ประพฤติเป็นธรรม, ทรงธรรม, เช่น ธรรมิกราช สหธรรมิก. |
ธัมมเทสนามัย | (ทำมะเทสะนาไม) ว. สำเร็จด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
ธัมมัสสวนมัย | (ทำมัดสะวะนะไม) ว. สำเร็จด้วยการฟังธรรมศึกษาหาความรู้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
น้อยใจ, น้อยเนื้อต่ำใจ, น้อยอกน้อยใจ | ก. รู้สึกเสียใจที่ไม่ได้รับความเป็นธรรมเป็นต้น. |
น้ำเงิน ๓ | น. ชื่อปลาน้ำจืดไม่มีเกล็ดพวกปลาเนื้ออ่อน ชนิด <i>Phalacronotus apogon</i> (Bleeker) หรือ <i>Micronema apogon</i> (Bleeker) ในวงศ์ Siluridae ปากเชิดขึ้น หนวดที่ขากรรไกรบนยาวไม่ถึงขอบแผ่นปิดเหงือกคล้ายปลาแดง แต่ไม่มีหนวดที่ขากรรไกรล่าง หรือมีเป็นเพียงตุ่มขนาดเล็กมาก และมีกลุ่มฟันที่กระดูกฐานจมูกเรียงเป็นแถบรูปโค้ง ลำตัวมีสีเงินคล้ายตะกั่ว ไม่มีครีบหลัง ครีบก้นมักมีขอบสีดำคล้ำ อาศัยอยู่ตามแม่น้ำ ลำคลอง หรือแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ที่มีความเป็นธรรมชาติ กินสัตว์อื่น ขนาดยาวได้ถึง ๗๗ เซนติเมตร, เนื้ออ่อน นาง หรือ ชะโอน ก็เรียก. |
นิรุตติปฏิสัมภิทา | น. ปัญญาอันแตกฉานในนิรุตติ คือ ความเข้าใจในภาษา รู้จักใช้ถ้อยคำพูดอธิบายให้คนเข้าใจ ตลอดจนรู้ภาษาต่าง ๆ อาจชักนำคนให้เชื่อถือหรือนิยมตามคำพูด, กล่าวสั้น ๆ ว่า เข้าใจพูด, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติ-ปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
บริจาค | (บอริจาก) น. การสละ, การให้, การแจก, ความเสียสละ, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. <i>(ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม)</i>. |
ปฏิภาณปฏิสัมภิทา | (ปะติพานะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในปฏิภาณ คือ ความเข้าใจทำให้สามารถแก้ไขเหตุการณ์ได้ในเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือกล่าวโต้ตอบได้ทันท่วงที, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรม-ปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
ปลาแดง | น. ชื่อปลานํ้าจืดไม่มีเกล็ด พวกปลาเนื้ออ่อน ชนิด <i> Phalacronotus bleekeri</i> (Günther)หรือ <i> Micronema bleekeri</i> (Günther) ปากเชิดขึ้น มีหนวด ๒ คู่ หนวดที่ขากรรไกรบนยาวไม่ถึงขอบแผ่นปิดเหงือก หนวดที่ขากรรไกรล่างสั้นมากคล้ายปลาน้ำเงิน แต่มีกลุ่มฟันที่กระดูกฐานจมูกเรียงเป็นแถบมีมุมแหลมคล้ายหัวลูกศร ลำตัวมีสีเงินอมแดงหรือชมพู ไม่มีครีบหลัง ครีบก้นใสไม่มีสี อาศัยอยู่ตามแม่น้ำลำคลองหรือแหล่งน้ำนิ่งขนาดใหญ่ที่มีความเป็นธรรมชาติ กินสัตว์อื่น, เนื้ออ่อน นาง ชะโอน หรือ เกด ก็เรียก. |
ปัตตานุโมทนามัย | ว. สำเร็จด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
ปัตติทานมัย | (-ทานนะไม) ว. สำเร็จด้วยการเฉลี่ยส่วนแห่งความดีให้แก่ผู้อื่น, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
ปิยวาจา | น. วาจาเป็นที่รัก, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุ. (ป.). <i> (ดู สังคหวัตถุ ประกอบ)</i>. |
ภาวนามัย | ว. สำเร็จด้วยภาวนา, แล้วไปด้วยภาวนา, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. |
มรณธรรม | (มะระนะทำ) ว. มีความตายเป็นธรรมดา. |
มัททวะ | น. ความอ่อนโยน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธ-ราชธรรม. <i>(ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม)</i>. |
เรียกร้อง | ก. ร้องขอแกมบังคับให้ทำหรือให้งดการกระทำ เช่น เรียกร้องขอความเป็นธรรม เรียกร้องขอความเห็นใจ. |
เวนคืนอสังหาริมทรัพย์ | ก. บังคับเอาที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์อื่นของเอกชนคืนมาเป็นของรัฐโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมตามที่กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยรัฐต้องชดใช้ค่าทดแทนที่เป็นธรรม. |
เวยยาวัจจมัย | ว. สำเร็จด้วยการขวนขวายรับใช้, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
โวย | ก. ส่งเสียงแสดงความไม่พอใจเกินกว่าเหตุ เช่น เรื่องเล็กนิดเดียวก็โวยเสียเป็นเรื่องใหญ่โต, ประท้วงด้วยการส่งเสียงเอะอะ เช่น เขาโวยว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม |
ศักราช | (สักกะหฺราด) น. อายุเวลาซึ่งกำหนดตั้งขึ้นเป็นทางการ เริ่มแต่จุดใดจุดหนึ่ง ซึ่งถือว่าเป็นที่หมายเหตุการณ์สำคัญ เรียงลำดับกันเป็นปี ๆ ไป เช่น พุทธศักราช ๑, ๒, ๓, ... จุลศักราช ๑, ๒, ๓, ... (ตามความนิยมที่ใช้เป็นธรรมเนียมกันมา คำ ศักราช ในคำเช่น พุทธศักราช คริสต์ศักราช จะใช้ว่า ศก เป็น พุทธศก คริสต์ศก ก็ได้ แต่คำเช่น มหาศักราช จุลศักราช ไม่นิยมใช้ว่า มหาศก จุลศก ส่วนคำว่า รัตนโกสินทรศก ไม่นิยมใช้ว่า รัตนโกสินทรศักราช), (ปาก) โดยปริยายหมายความว่า ช่วงใดช่วงหนึ่งซึ่งเริ่มต้นเหตุการณ์สำคัญในชีวิตบุคคล เช่น เริ่มศักราชแห่งชีวิตใหม่ พอเรียนหนังสือจบก็เริ่มศักราชของการทำงาน. |
ศีล | (สีน) น. ข้อบัญญัติทางพระพุทธศาสนาที่กำหนดการปฏิบัติกายและวาจา เช่น ศีล ๕ ศีล ๘, การรักษากายวาจาให้เรียบร้อย, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม (ดู ทศพิธราชธรรม) |
สมานัตตตา | (สะมานัดตะ-) น. ความมีตนสม่ำเสมอ, การทำตนเสมอต้นเสมอปลาย, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุ. (ป.). <i>(ดู สังคหวัตถุ)</i>. |
สัตยาเคราะห์ | น. การยึดความจริงเป็นหลักการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคม โดยใช้วิธีดื้อแพ่งไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือคำสั่งที่ไม่ยุติธรรม แต่ไม่ใช้วิธีรุนแรง. |
สีลมัย | (สีละไม) ว. สำเร็จด้วยศีล, แล้วไปด้วยศีล, เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ. |
เสียเลือดเนื้อ, เสียเลือดเสียเนื้อ | ก. บาดเจ็บล้มตาย เช่น ในการสู้รบกัน ย่อมเสียเลือดเสียเนื้อเป็นธรรมดา. |
หมอ ๓ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด <i>Anabas testudineus</i> (Bloch) ในวงศ์ Anabantidae ลำตัวป้อม แนวสันหลังโค้งพอ ๆ กับแนวสันท้อง แบนข้าง ท้องกลม คอดหางกว้าง ตาอยู่ค่อนไปทางปลายหัว ปากกว้างเชิดขึ้นเล็กน้อย ฟันเล็กแต่แข็งแรง ขอบกระดูกแผ่นปิดเหงือกหยักเป็นหนามแข็ง ใช้แถกเพื่อช่วยยึดยันให้เคลื่อนไปบนบกได้ดี ขอบครีบต่าง ๆ กลม ลำตัวและครีบมีสีดำคลํ้า ส่วนปลาขนาดเล็กมีสีจางกว่าและมีลายบั้งพาดลำตัวเป็นระยะ ๆ อาศัยอยู่ในแหล่งนํ้าแทบทุกประเภท พบขึ้นมาบนบกในฤดูฝนเสมอ ซึ่งเป็นธรรมชาติการย้ายถิ่นที่อยู่อาศัยแบบหนึ่ง และยังแสดงให้เห็นความสามารถในการหายใจในที่ดอนได้อีกด้วย ขนาดยาวได้ถึง ๒๕ เซนติเมตร, หมอไทย หรือ สะเด็ด ก็เรียก, อีสานเรียก เข็ง. |
อธรรม | (อะทำ) ว. ไม่เป็นธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่ยุติธรรม. |
อปจายนมัย | ว. ที่สำเร็จด้วยการประพฤติถ่อมตัวต่อผู้ใหญ่ (ใช้แก่บุญ), เป็นธรรมข้อ ๑ ในบุญกิริยาวัตถุ ๑๐. |
อรรถปฏิสัมภิทา | (อัดถะ-) น. ปัญญาอันแตกฉานในอรรถ คือ ความเข้าใจที่สามารถคาดหมายผลข้างหน้าอันจะเกิดสืบเนื่องไปจากเหตุ, ความเข้าใจอธิบายอรรถแห่งภาษิตย่อให้พิสดาร, เป็นธรรมข้อ ๑ ในปฏิสัมภิทา ๔ คือ ๑. อรรถปฏิสัมภิทา ๒. ธรรมปฏิสัมภิทา ๓. นิรุตติปฏิสัมภิทา ๔. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา. |
อวิโรธน์, อวิโรธนะ | (อะวิโรด, อะวิโรทะนะ) น. ความไม่ประพฤติผิดธรรม, ความไม่คลาดจากธรรม, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. <i> (ดู ทศพิธราชธรรม และ ราชธรรม)</i>. |
อวิหิงสา | น. ความไม่เบียดเบียน, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธราชธรรม. <i> (ดู ทศพิธราชธรรม และ ราชธรรม)</i>. |
อักโกธะ | น. ความไม่โกรธ, เป็นธรรมข้อ ๑ ในทศพิธ-ราชธรรม. <i> (ดู ทศพิธราชธรรม หรือ ราชธรรม)</i>. |
อัตถจริยา | น. การประพฤติประโยชน์, เป็นธรรมข้อ ๑ ในสังคหวัตถุ. (ป.). <i> (ดู สังคหวัตถุ)</i>. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
positive discrimination | การเลือกปฏิบัติเชิงบวก, การเลือกปฏิบัติเพื่อความเป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
labour practice, unfair | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
just compensation | ค่าทดแทนอันเป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
just compensation | ค่าสินไหมทดแทนอันเป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
merit rating | การกำหนดอัตราตามความเป็นธรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
compensation, just | ค่าทดแทนอันเป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
deprivation of property | การบังคับเอาทรัพย์ของเอกชนโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair | ๑. งานแสดง (สินค้า)๒. โดยชอบธรรม, ด้วยความเป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair comment | การติชมด้วยความเป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair hearing; fair trial | การพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair market-value | ราคาตลาดที่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair rent | ค่าเช่าที่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
fair trial; fair hearing | การพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
trade practice, unfair | การประกอบการค้าที่ไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unfair competition | การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair competition and practice | การแข่งขันและปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair consumer practice | การปฏิบัติต่อผู้บริโภคโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair dismissal | การไล่ออกโดยไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unfair labour practice | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unfair trade practice | การประกอบการค้าที่ไม่เป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unfair trade practice | การปฏิบัติทางการค้าที่ไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
unjust | ไม่เป็นธรรม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Fair use | การใช้โดยเป็นธรรม, การใช้โดยชอบธรรม, การใช้โดยเป็นธรรม, การใช้โดยชอบธรรม<br /> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Fair use (Copyright) | การใช้โดยเป็นธรรม, การใช้โดยชอบธรรม, Example: <p>การใช้โดยเป็นธรรม หรือ การใช้โดยชอบธรรม (Fair use) เป็นข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ที่สำคัญประการหนึ่ง ที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลทั่วไปมีสิทธิพิเศษที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ โดยไม่ต้องได้รับความยินยอมจากเจ้าของลิขสิทธิ์ หากการใช้นั้นเป็นการใช้ที่เป็นธรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างดุลยภาพระหว่างการปกป้องผลประโยชน์อันชอบธรรมของเจ้าของลิขสิทธิ์ และการรักษาประโยชน์ของสาธารณชนในอันที่จะใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ ซึ่งหลักการว่าด้วยดุลยภาพนี้เป็นหลักการพื้นฐานของกฎหมายลิขสิทิ์ของทุกประเทศ โดยมีความมุ่งหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการสร้างงานที่มีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อสังคม และให้สังคมสามารถใช้งานนั้นได้โดยไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิของผู้สร้างสรรค์งาน <p>การจะเข้าข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์ และเข้าข่ายการใช้โดยเป็นธรรม (Fair use) จะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ 3 ประการ คือ <p>1. เป็นการกระทำเพื่อการวิจัยหรือศึกษางานนั้น <p>2. การกระทำนั้นมิได้เป็นการกระทำเพื่อหากำไร <p>3. การกระทำนั้นไม่ขัดต่อการแสวงหาประโยชน์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์ และไม่กระทบกระเทือนถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Abuse of | การปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Competition, Unfair | การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Fair trial | การพิจารณาคดีด้วยความเป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Fairness | ความเป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Unfair labor practices | การใช้แรงงานอย่างไม่เป็นธรรม [TU Subject Heading] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Bangkok Declaration : Global Dialogue and Dynamic Engagement | ปฏิญญากรุงเทพ : การหารือและการมีส่วนร่วมอย่างมีพลวัตของประชาคมโลก " หนึ่งในสองของเอกสารผลการประชุมอังค์ถัด ครั้งที่ 10 ที่แสดงฉันทามติของประเทศสมาชิกอังค์ถัด 190 ประเทศ เกี่ยวกับผลกระทบของกระแสโลกาภิวัตน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งแสดงเจตนารมณ์ร่วมทางการเมืองของประเทศสมาชิกอังค์ถัดที่จะร่วมมือ กันดำเนินนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศเพื่อทำให้สมาชิกทั้งหมด โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ได้รับประโยชน์จากกระบวนการโลกาภิวัตน์ในด้านการค้า การเงิน การลงทุน และการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้อย่างทั่วถึงและเป็นธรรม อีกทั้งเพื่อให้ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในระบบเศรษฐกิจโลก ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถหลีกเลี่ยงผลกระทบด้านลบของกระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ แม้ปฏิญญากรุงเทพจะไม่มีผลผูกพันทางกฎหมาย แต่ก็เป็นเอกสารที่มีผลผูกพันทางการเมือง เป็นสัญญาประชาคมที่ทุกประเทศสมาชิกอังค์ถัดมีพันธะที่จะต้องปฏิบัติตามแนว นโยบายที่ได้ร่วมกันแถลงไว้ในเอกสารดังกล่าว และเอกสารนี้สามารถใช้เป็นเอกสารอ้างอิงในการเจรจาหารือระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการกำหนดนโยบายเศรษฐกิจระหว่างประเทศในเรื่องของการเงิน การค้า การลงทุน และการพัฒนาได้ " [การทูต] |
Condolences | เมื่อใดที่ประมุขของรัฐผู้รับ หรือบุคคลในครอบครัวของประมุขนั้นถึงแก่กรรม เป็นธรรมเนียมที่ผู้แทนทางการทูตซึ่งได้รับแต่งตั้งให้ ประจำอยู่ในรัฐนั้น หลังจากที่ได้รายงานให้กระทรวงการต่างประเทศของผู้แทนทางการทูตนั้นก่อนทาง โทรเลขหรือโทรสารจะไปเยี่ยมหรือพบกับเจ้าหน้าที่ที่เหมาะสมของรัฐนั้นเพื่อ แสดงความเสียใจในนามของประมุขของรัฐของตน โดยมิต้องรอรับคำสั่งเป็นพิเศษจากกระทรวงการต่างประเทศก่อนตามปกติ โทรเลขหรือโทรสารแสดงความเสียใจนั้นจะส่งจากประมุขของรัฐ ไปยังบุคคลที่เหมาะสมในครอบครัวที่ประสบความทุกข์โศกนั้นโดยตรง [การทูต] |
Multiple Representation | คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] |
Presentation of Credentials | หมายถึง การยื่นสารตราตั้ง เป็นธรรมเนียมปฏิบัติทางการทูตว่า ผู้ใดได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตประจำประเทศใดประเทศหนึ่ง ก่อนที่จะปฏิบัติงานในหน้าที่ จะต้องนำสารตราตั้ง (Credentials) ไปยื่นต่อประมุขของรัฐนั้น ๆ พิธียื่นสารตราตั้งจะกระทำไม่เหมือนกันในแต่ละประเทศ แล้วแต่จะพิจารณาเห็นความเหมาะสม และความเคร่งต่อธรรมเนียมประเพณีที่ปฏิบัติติดต่อกันมาเป็นสำคัญ เช่น อังกฤษเป็นประเทศหนึ่งที่พิธียื่นสารตราตั้งของเอกอัครราชทูตต่อองค์ประมุข ของประเทศค่อนข้างวิจิตรพิสดารมาก ส่วนบางประเทศมีพิธียื่นสารอย่างง่าย ๆ แทบจะไม่มีพิธีรีตองอย่างใดในสหรัฐอเมริกา ณ กรุงวอชิงตันดีซี พิธียื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดีของสหรัฐฯ กระทำอย่างเรียบง่าย กล่าวคือ พอถึงเวลาที่กำหนดในวันยื่นสารตราตั้ง อธิบดีกรมพิธีการทูตหรือผู้แทนของกระทรวงการต่างประเทศสหรัฐฯ จะนำรถยนต์ลีมูซีนสีดำไปยังทำเนียบของเอกอัครราชทูต เพื่อรับเอกอัครราชทูตและครอบครัวไปยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ณ ตึกทำเนียบขาว ( White House)มีข้อน่าสนใจอันหนึ่งคือ ทางฝ่ายสหรัฐฯ จะสนับสนุนให้เอกอัครราชทูตพาภรรยาและบุตรทั้งชายหญิงไปร่วมในการยื่นสารตรา ตั้งนั้นด้วย การแต่งกายของเอกอัครราชทูตก็สวมชุดสากลผูกเน็คไทตามธรรมดา ระหว่างที่ยื่นสารมีการปฏิสันถารกันพอสมควรระหว่างเอกอัครราชทูตกับ ประธานาธิบดีสหรัฐฯมีช่างภาพของทางราชการถ่ายรูปไว้เป็นที่ระลึก และมอบภาพถ่ายให้แก่เอกอัครราชทูตในวันหลัง (ต่างกับพิธีของอังกฤษมาก) เอกอัครราชทูตไม่ต้องพาคณะเจ้าหน้าที่ของสถานเอกอัครราชทูตติดตามไปด้วย หลังจากพบกับประธานาธิบดีสหรัฐฯ แล้ว อธิบดีกรมพิธีการทูตจะนำเอกอัครราชทูตและครอบครัวกลับไปยังทำเนียบที่พักโดย รถยนต์คันเดิม เป็นอันเสร็จพิธียื่นสารตราตั้ง โดยที่ประเทศต่าง ๆ ในโลกต่างมีสถานเอกอัครราชทูตของตนตั้งอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซี ดังนั้น ในวันไหนที่มีการยื่นสารตราตั้งต่อประธานาธิบดี ทางการทำเนียบขาวมักจะกำหนดให้เอกอัครราชทูตใหม่จากประเทศต่าง ๆ เข้ายื่นสารในวันนั้นราว 4-5 ประเทศติดต่อกัน มิใช่วันละคนอย่างที่ปฏิบัติในบางประเทศทันทีที่เอกอัครราชทูตยื่นสารตรา ตั้งต่อประธานาธิบดีเรียบร้อยแล้ว เอกอัครราชทูตจะมีหนังสือเวียนไปยังหัวหน้าคณะทูตทุกแห่งในกรุงวอชิงตันดีซี แจ้งให้ทราบว่าในวันนั้น ๆ เขาได้ยื่นสารตราตั้งต่อประมุขของรัฐ ในฐานะเอกอัครราชทูตเรียบร้อยแล้ว พร้อมกับแสดงความหวังในหนังสือว่าความสัมพันธ์อันดีที่มีอยู่ระหว่างคณะผู้ แทนทางการทูตทั้งสอง ทั้งในทางราชการและทางส่วนตัว จะมั่นคงเป็นปึกแผ่นยิ่งขึ้นอีก จากนั้น เอกอัครราชทูตใหม่ก็จะหาเวลาไปเยี่ยมคารวะเอกอัครราชทูตของประเทศต่าง ๆ ที่ประจำอยู่ในกรุงวอชิงตันดีซีทีละราย กว่าจะเยี่ยมหมดทุกคนก็กินเวลานานอยู่หลายเดือนทีเดียว [การทูต] |
Recall of Diplomats | การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวรเนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] |
Bacteria Indigenous for Man | เชื้อแบคทีเรียที่มีอยู่เป็นธรรมดาในร่างกาย [การแพทย์] |
Ethnology | สภาพที่เป็นธรรมชาติ, ชาติพันธุ์วิทยา [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
การแข่งขันที่ไม่เป็นธรรม | [kān khaengkhan thī mai pen tham] (n, exp) EN: unfair comprtition |
การเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม | [kān loēk jāng dōi mai pen tham] (n, exp) EN: unfair dismissal FR: licenciement abusif [ m ] |
ความเป็นธรรม | [khwām pen tham] (n, exp) EN: justice |
ไม่เป็นธรรม | [mai pen tham] (adj) EN: unfair |
เป็นธรรมดา | [pen thammadā] (v) EN: be natural FR: c'est naturel ; c'est dans na nature des choses |
เป็นธรรมดา | [pen thammadā] (adv) EN: normally ; ordinarily ; commonly ; usually ; generally ; typically ; regularly ; naturally ; in the nature of things FR: normalement ; naturellement ; habituellement |
เป็นธรรมเนียม | [pen thamnīem] (adj) EN: habitual |
อย่างเป็นธรรมเนียม | [yāng pen thamnīem] (adv) EN: habitually |
Longdo Approved EN-TH
essential | (adj) จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นเนื้อแท้, เป็นปัจจัยพื้นฐาน, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง |
in the name of justice | (adv) เพื่อความเป็นธรรม |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
as a duck takes to water | (idm) เป็นธรรมชาติ |
be yourself | (idm) เป็นตัวของตัวเอง, See also: เป็นธรรมชาติ, เป็นปกติ |
constrained | (adj) ที่เค้นออกมา, See also: ที่ไม่เป็นธรรมชาติ |
conventionalise | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalize |
conventionalize | (vt) ทำให้เป็นธรรมเนียม, See also: ทำให้เป็นแบบฉบับ, Syn. conventionalise |
customary | (adj) เป็นธรรมเนียม |
element | (n) สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ, See also: สภาพที่เป็นธรรมชาติ, ธรรมชาติ |
fair | (adj) ยุติธรรม, See also: เป็นธรรม, เที่ยงตรง, ถูกต้อง, ซื่อสัตย์, สมเหตุสมผล, Syn. reasonable, equal |
forced | (adj) ฝืนใจ, See also: ไม่เป็นธรรมชาติ, Syn. unnatural, insincere, false, Ant. natural |
in one's element | (idm) สบายๆ, See also: ไม่กดดัน, เป็นธรรมชาติ |
out of one's element | (idm) ไม่เป็นธรรมชาติ, See also: ไม่อยู่ในท่าสบาย |
second nature to | (idm) ง่าย, See also: ทำได้ง่ายๆเป็นธรรมชาติมาก |
smell of the lamp | (idm) (หนังสือ) ที่ได้รับการปรับปรุงจนไม่เหลือรูปแบบเดิม หรือไม่เป็นธรรมชาติมากนัก |
idiom | (n) การใช้ภาษาอย่างเป็นธรรมชาติของเจ้าของภาษา, See also: สำนวนภาษาแบบเจ้าของภาษา |
idiomatic | (adj) ซึ่งมีสำนวนแบบเจ้าของภาษา, See also: ซึ่งใช้ภาษาได้อย่างเจ้าของภาษา, ซึ่งใช้ภาษาเป็นธรรมชาติ, Syn. informal, natural |
impartial | (adj) ยุติธรรม, See also: เป็นกลาง, ซึ่งให้ความเป็นธรรม, ไม่เข้าข้าง, ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง, Syn. equal, unbiased, unprejudiced, Ant. biased, prejudiced |
inequitable | (adj) ซึ่งไม่เป็นธรรม, See also: ซึ่งอยุติธรรม, Syn. unfair, unjust, Ant. fair |
inequitably | (adv) อย่างไม่เป็นธรรม, See also: อย่างอยุติธรรม, Syn. unfairly, unjustly, Ant. unprejudicedly, justly |
justice | (n) ความยุติธรรม, See also: ความเที่ยงธรรม, ความเป็นธรรม, ความถูกต้อง, Syn. fairness, reasonableness, equity, Ant. unfairness, injustice |
justly | (adv) อย่างเป็นธรรม, See also: อย่างยุติธรรม, Syn. fairly, honestly, Ant. unfairly |
natural | (adj) เป็นธรรมชาติ, See also: ีเกี่ยวกับธรรมชาติ, ตามธรรมชาติ, Syn. intrinsic, original, essential, true, Ant. artificial, unnatural |
naturalise | (vt) ทำให้เป็นธรรมชาติ, See also: ทำให้เหมือนธรรมชาติ |
naturalize | (vt) ทำให้เป็นธรรมชาติ, See also: ทำให้เหมือนธรรมชาติ |
naturalness | (n) ความเป็นธรรมชาติ, Syn. ease, realism |
naturism | (n) ความเชื่อว่าการไม่สวมเสื้อผ้าจะเป็นธรรมชาติและมีสุขภาพที่ดีกว่า, Syn. nudism |
naturist | (n) ผู้ไม่สวมเสื้อผ้าเพราะเชื่อว่าจะเป็นธรรมชาติและมีสุขภาพที่ดีกว่า, Syn. nudist |
right | (adj) เป็นธรรม, See also: ยุติธรรม, ชอบธรรม, Syn. equitable, fair, just |
uneven | (adj) ซึ่งไม่เป็นธรรม, See also: ไม่ยุติธรรม, Syn. one-sided, unfair, Ant. fair |
unjust | (adj) ไม่ยุติธรรม, See also: อธรรม, ไม่เที่ยงธรรม, ไม่เป็นธรรม, Syn. unfair, Ant. fair |
virgin | (adj) ที่ยังไม่ถูกค้นพบโดยมนุษย์, See also: ที่เป็นธรรมชาติ, Syn. natural, raw, untamed |
Hope Dictionary
candid | (แคน'ดิด) adj. เปิดเผย, ตรงไปตรงมา, ปราศจากอคติ, เป็นธรรม, ซื่อตรง, ขาว, ใส, บริสุทธิ์ n. ภาพที่ไม่ได้วางท่า, See also: candidness n. ดูcandid, Syn. impartial |
conventionalize | (คันเวน'?ะเนิลไลซ) vt. ทำให้เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ, เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ., See also: conventionalisation n. ดูconventionalize conventionalization n. ดูconventionalize |
conventionlise | (คันเวน'?ะเนิลไลซ) vt. ทำให้เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ, เป็นธรรมเนียมปฎิบัติ., See also: conventionalisation n. ดูconventionalize conventionalization n. ดูconventionalize |
crucify | (ครู'ซิไฟ) { crucified, crucifying, crucifies } vt. ตรึงให้ตายบนไม้กางเขน, ประหัตประหาร, ทำให้ดับสิ้นด้วยความไม่เป็นธรรม, See also: crucifier n., Syn. torment, torture |
crude | (ครูด) adj. หยาบ, สกปรก, เป็นธรรมชาติ, ยังไม่สุก, ยังไม่ผ่านกรรมวิธี n. น้ำมันดิบ, See also: crudeness n., Syn. coarse, unrefined |
essential | (อะเซน'เชิล) adj. จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นปัจจัย, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำมัน, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง., See also: essentialness n. ดูessential, Syn. funda |
hackney | (แฮค'นี) n. รถม้าให้เช่า, รถให้เช่า, คนที่ถูกว่าจ้างให้ทำงานหนัก, ม้าที่ถูกใช้งานหนัก, รถแท็กซี่. adj. ให้เช่า. vt. ทำให้เป็นธรรมดา, ทำให้เก่าเนื่องจากการถูกใช้, ทำให้เป็นรถเช่า., See also: hackneyism n. |
injustice | (อินจัส'ทิส) n. ความอยุติธรรม, ความไม่เป็นธรรม, การล่วงละเมิดสิทธิของผู้อื่น, การกระทำที่ไม่ยุติธรรม, ความผิด, Syn. grievance |
just | (จัสทฺ) adj. ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม, พอดี, สมควร, พอเหมาะ, สมเหตุสมผล, ถูกต้องแม่นยำ, เล็กน้อย, เท่านั้น, จริง ๆ |
justly | (จัสทฺ'ลี) adv. อย่างยุติธรรม, อย่างซื่อสัตย์, โดยความเป็นธรรม, ตามข้อเท็จจริง, แม่นยำ, แน่ชัด, Syn. honestly, fairly |
normalise | (นอร์'เมิลไลซ) vt. ทำให้ปกติ, ทำให้เป็นมาตรฐาน. vi. กลายเป็นปกติ, กลายเป็นธรรมดา., See also: normalisation n. normalization n. |
normalize | (นอร์'เมิลไลซ) vt. ทำให้ปกติ, ทำให้เป็นมาตรฐาน. vi. กลายเป็นปกติ, กลายเป็นธรรมดา., See also: normalisation n. normalization n. |
orthodox | (ออร์'ธะดอคซฺ) adj. ดั้งเดิม, ขนานแท้, ต้นตำรับ, ถูกต้อง, อย่างปกติชนทั้งหลาย, เป็นธรรมเนียมปฏิบัติ, ซึ่งตกทอดมาจากโบราณกาล, เป็นทางราชการ, เป็นประเพณี. |
rawdeal | n. การกระทำที่ไม่เป็นธรรม |
right | (ไรทฺ) adj. ถูก, ถูกต้อง, ปกติ, เป็นธรรม, ยุติธรรม, (ด้าน) หน้า, (ด้าน) บน, (ข้าง) ขวา, ตรงไป, เป็นมุมฉาก n. ธรรม, ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, สิทธิ, สิทธิตามกฎหมาย, การหันขวา, การเลี้ยวขวา, ฝ่ายที่ถูกต้อง, สมาชิกฝ่ายขวา, สมาชิกรัฐสภาที่นั่งอยู่ทางด้านขวาของประธานสภา vt. ทำให้เรียบร้อย, ทำให่เหทาะสม, แก้แค้น, แก้ไข vi. ทรงตัว, ตั้งตรง adv .เป็นเส้นตรง, อย่างถูกต้อง, แม่นยำ, เหมาะสม |
unfair | (อันแฟร์') adj. ไม่ยุติธรรม, ไม่สมควร, ไม่เป็นธรรม, ไม่ถูกต้อง. |
usance | (ยู'ซันซ) n. การใช้, ความเคยชิน, ประเพณี, ธรรมเนียม, ระยะเวลากำหนดเป็นธรรมเนียมใน การชำระตัวเงินต่างประเทศ |
usual | (ยู'ชวล) adj., n. (สิ่งที่) เป็นธรรมดา, เป็นปกติ, เป็นประจำ, ทุกวัน, as usual ตามปกติ, เหมือนที่เคยปฎิบัติ., See also: usually adv. usualness n., Syn. common, regular |
Nontri Dictionary
equitable | (adj) เสมอภาค, ยุติธรรม, เที่ยงธรรม, เป็นธรรม |
essential | (adj) จำเป็น, สำคัญ, เป็นหัวใจ, เป็นปัจจัย, เป็นเนื้อแท้, เป็นธรรมชาติ |
fairly | (adv) อย่างเป็นธรรม, พอใช้ได้, อย่างเป็นจริง, อย่างเป็นกลาง |
fairness | (n) ความเป็นธรรม, ความเที่ยงธรรม, ความงาม, ความสะอาด |
impartial | (adj) ไม่ลำเอียง, ยุติธรรม, เสมอภาค, เป็นธรรม |
impartiality | (n) ความไม่ลำเอียง, ความยุติธรรม, ความเป็นธรรม |
injustice | (n) ความไม่เป็นธรรม, ความผิด, การล่วงละเมิด |
just | (adj) เที่ยงตรง, เป็นธรรม, ยุติธรรม, ถูกต้อง, สมควร, สมเหตุผล |
rightly | (adv) อย่างยุติธรรม, อย่างถูกต้อง, อย่างเป็นธรรม |
spontaneity | (n) ความคล่อง, ความเป็นปกติวิสัย, ความเป็นธรรมชาติ |
usual | (adj) เช่นเคย, เป็นธรรมเนียม, ตามปกติ, เป็นประจำ |
wrong | (adj) ผิด, เข้าใจผิด, ไม่เป็นธรรม, ไม่เหมาะสม |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Deverbalism (deverbalisme) | (n) (ศัพท์เฉพาะทฤษฎีการแปล) การไม่ยึดติดถ้อยคำในภาษาต้นฉบับ ผู้แปลควรถอยออกห่างจากข้อความแล้วพิจารณาสาระสำคัญของข้อความนั้นๆ ใหม่ ก่อนที่จะแปลให้เป็นธรรมชาติหรือให้เป็นวาทกรรมที่ดีในภาษาปลายทาง |
intuitively | (adj) อย่างเป็นธรรมชาติ, Syn. instinctive |
naturative | [เเนะเชอะระทิฟว] (adj) ซึ่งทําให้เป็นธรรมชาติ, ซึ่งทําให้เกิดนิสัย |
Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
当たり前 | [あたりまえ, atarimae] TH: เป็นธรรมดา EN: usual (an) |
Longdo Approved FR-TH
au revoir! | (phrase) แล้วพบกันใหม่ (เวลาจากกันควรพูดคำลา ซึ่งเป็นธรรมเนียมที่ฝรั่งเศส) |
bon appétit | (phrase) ขอให้เจริญอาหาร ขอให้อร่อย (ใช้พูดก่อนรับประทานอาหาร ซึ่งเป็นธรรมเนียมในฝรั่งเศส) |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0272 seconds, cache age: 4.699 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม