107 ผลลัพธ์ สำหรับ *เขาไม่*
ภาษา
หรือค้นหา: เขาไม่, -เขาไม่-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กระไร | ว. อะไร เช่น เขาไม่ว่ากระไร, อย่างไร เช่น จะทำกระไรดี, เท่าไร เช่น ถูกปรับเพียง ๑๐๐ บาทก็ไม่กระไรนัก, ทำไม, ไฉน, เช่น ข้าแต่นเรศูรสมเด็จพระบิดาเจ้าข้าเอ่ย กระไรเลยไม่ปรานี (ม. ร่ายยาว กุมาร). |
กีดหน้าขวางตา | ก. เกะกะขัดขวางทำให้เขาไม่สะดวกใจ. |
ขบเขี้ยวเคี้ยวฟัน | ก. แสดงอาการโกรธเมื่อยังทำอะไรเขาไม่ได้. |
เคี้ยวฟัน | ก. แสดงอาการโกรธเมื่อยังทำอะไรเขาไม่ได้, มักใช้เข้าคู่กับคำ เข่นเขี้ยว เป็น เข่นเขี้ยวเคี้ยวฟัน. |
ใคร ๒, ใคร ๆ | (ไคฺร) ส. ผู้ใดผู้หนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, (ซึ่งมิได้กำหนดแน่นอนลงไป) เช่น ฉันไม่อยากพึ่งใคร ใคร ๆ ก็ช่วยอะไรเขาไม่ได้. |
เจ๋อ, เจ๋อเจ๊อะ | ก. เสนอหน้าเข้าไปในสถานที่ไม่สมควรเมื่อเขาไม่ต้องการหรือมิได้เรียกหา. |
เจ้าหน้า, เจ้าหน้าเจ้าตา | น. ผู้ชอบทำเอาหน้า, ผู้ชอบเสนอหน้าเข้าไปทำธุระให้คนอื่นโดยเขาไม่ได้ขอร้อง. |
ชั่วโมงบิน | น. ความชำนาญหรือประสบการณ์ในการทำงาน เช่น สู้เขาไม่ได้เพราะชั่วโมงบินเราน้อยกว่า. |
ซ่องแซ่ง | ว. กระย่องกระแย่ง เช่น เขาไม่มีแรง เดินซ่องแซ่ง, กระซ่องกระแซ่ง ก็ว่า. |
ดูดำดูดี | ก. เอาใจใส่ดูแลทั้งในเวลามีทุกข์และมีสุข เช่น จะหวังอะไรให้เขามาดูดำดูดีกับคนอย่างเรา, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น เขาไม่ดูดำดูดีเด็กคนนี้เลย. |
ตาก ๒ | ว. ห่าง, แบะออก, เช่น ควายเขาตาก คือ ปลายเขาไม่รวมเข้าหากัน. |
ตีวัวกระทบคราด | ก. โกรธคนหนึ่งแต่ทำอะไรเขาไม่ได้ ไพล่ไปรังควานอีกคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องและตนสามารถทำได้. |
ถูลู่ถูกัง | ก. อาการที่ลาก ดึง หรือฉุดไปให้ได้โดยไม่ปรานีปราศรัย เช่น ฉุดให้เขาไปด้วย เขาไม่ไป เลยลากถูลู่ถูกังกันไป |
แทะ | ก. เอาฟันหน้ากัดให้หลุดออกมาทีละน้อย ๆ, เล็มกินทีละน้อย ๆ, โดยปริยายหมายถึงอาการที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น เขาไม่ทำมาหากินคอยแต่แทะเงินเพื่อน ๆ. |
แม่สายบัวแต่งตัวค้าง | น. ผู้หญิงที่แต่งตัวคอยผู้มารับออกนอกบ้าน แต่เขาไม่มาตามนัด. |
ยัน ๑ | ยืนยัน เช่น เขายันว่าเขาไม่ได้ทำผิด |
ย่างกราย | ก. เหยียบย่าง (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่ได้ย่างกรายไปไหนเลย เขาไม่ได้ย่างกรายมาเลย. |
ยิ้มเก้อ, ยิ้มค้าง | ก. อาการที่ยิ้มให้เขาแล้วเขาไม่ยิ้มตอบ ทำให้รู้สึกเก้อเขิน. |
ยื่น | โดยปริยายหมายถึงกิริยาของผู้ที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องที่เขาไม่ต้องการให้พูดให้ทำว่า ยื่นปาก ยื่นหน้า. |
แยแส | ก. เอาเป็นธุระ, เกี่ยวข้อง, สนใจ, เอาใจใส่, (มักใช้ในประโยคปฏิเสธ) เช่น เขาไม่แยแสว่าใครจะคิดอย่างไร. |
ระหว่าง | น. ช่องว่างจากที่หนึ่งถึงอีกที่หนึ่ง เช่น ในระหว่างภูเขา ๒ ลูก, ระยะเวลาจากระยะหนึ่งถึงอีกระยะหนึ่ง เช่น ระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นถึงพระอาทิตย์ตก, เวลาช่วงใดช่วงหนึ่ง เช่น ระหว่างสงครามเขายังเรียนหนังสืออยู่, เวลาที่กำลังเป็นไปอยู่ เช่น ระหว่างประชุมฝนตกหนัก ระหว่างนี้เขาไม่ว่าง. |
ราญ, ราญรอน | ก. รบ เช่น นักเลงเขาไม่หาญราญนักเลง. |
รู้เต็มอก, รู้อยู่เต็มอก | ก. รู้ความเป็นไปอย่างดี แต่ไม่อาจพูดออกมาได้ เช่น รู้เต็มอกว่าเขาไม่ซื่อสัตย์ แต่ก็บอกใครไม่ได้. |
ลัก | ก. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย, เช่น ลักทรัพย์, แอบทำ, ลอบทำ, เช่น ลักกินขนมในห้องเรียน ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ. |
ลาม | กระทำกิริยาไม่รู้จักที่ตํ่าที่สูงเรื่อยไปต่อบุคคลเมื่อเห็นว่าเขาไม่ถือ. |
แวว | น. ลักษณะที่แสดงให้เห็นว่าจะเป็นคนชนิดไร, เค้า, ร่องรอย, เช่น เด็กคนนี้มีแววจะเป็นนักปราชญ์ต่อไป เขาไม่มีแววว่าจะสอบได้ |
โวยวาย | ว. อาการที่ส่งเสียงเอะอะเป็นการประท้วงหรือแสดงความไม่พอใจเป็นต้น เช่น เขาไม่ได้เงินเดือนขึ้นก็ส่งเสียงโวยวาย, กระโวยกระวาย ก็ว่า. |
ส่วนได้ส่วนเสีย | น. ประโยชน์ที่ควรได้ควรเสียซึ่งมีอยู่ในส่วนรวม, การได้การเสียร่วมกับคนอื่น, เช่น เขาไม่สนใจงานนี้เพราะไม่มีส่วนได้ส่วนเสียด้วย. |
สันทัด | ก. ถนัด, จัดเจน, เช่น เรื่องนี้เขาไม่สันทัด เขาสันทัดในด้านคำนวณ. |
สีหน้า | น. อารมณ์ที่ปรากฏทางหน้า เช่น วันนี้สีหน้าเขาไม่ดีเลย คงจะโกรธใครมา พอถูกดุก็ทำสีหน้าไม่พอใจ. |
สู้ | ก. เอาชนะกันด้วยกำลังกาย อาวุธ หรือสติปัญญาความสามารถเป็นต้น เช่น ชกสู้เขาไม่ได้จึงยอมแพ้ ทหารสู้กันในสนามรบ เล่นหมากรุกสู้กัน |
สู้ปาก, สู้ฝีปาก | ก. เถียงกัน เช่น สู้ปากเขาไม่ได้, สู้สีปาก ก็ว่า. |
สู้รบตบมือ | ก. ต่อสู้, ทะเลาะวิวาท, เช่น เราจะเอากำลังที่ไหนไปสู้รบตบมือกับคนมีอำนาจอย่างเขา เขาไม่ยอมสู้รบตบมือด้วย. |
เสียดาย | ก. รู้สึกอยากได้สิ่งที่เสียไปพลาดไปเป็นต้น ให้กลับคืนมา เช่น เธอเสียดายแหวนเพชรที่หายไป, รู้สึกว่าพลาดโอกาสที่ควรจะมีจะได้ เช่น เสียดายที่เขาไม่เชิญฉันไปงานนี้ด้วย, รู้สึกไม่อยากให้เสียไปโดยไม่ได้ประโยชน์ เช่น เปิดน้ำเปิดไฟทิ้งไว้ น่าเสียดาย |
เสียว | โดยปริยายหมายความว่า รู้สึกเกรง เช่น เขาไม่ได้ส่งการบ้านเสียวอยู่ตลอดเวลาว่าครูจะเรียกไปลงโทษ. |
หน้าอินทร์หน้าพรหม | น. ผู้มีอำนาจ, ผู้ยิ่งใหญ่, เช่น เขาไม่กลัวหน้าอินทร์หน้าพรหมใด ๆ ทั้งนั้น. |
หาริน, หารี | ว. ถือเอา, นำไป, มักใช้เป็นส่วนท้ายสมาส เช่น อทินหารี ว่า ผู้ถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้. |
หือ ๒ | ก. เถียง, คัดค้าน, เช่น อย่ามาหือนะ เขาไม่กล้าหือ. |
แหะ, แหะ ๆ | ก. ทำเสียงดังเช่นนั้น เช่น เขาไม่พูดอะไรได้แต่แหะ ๆ. |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Niccolo Machiavelli (1469-1527) | คือรัฐบุรุษและปรัชญาเมธีทางการเมืองของสาธารณรัฐ ฟลอเรนส์ (Florence) ระหว่างรับราชการ ท่านดำรงตำแหน่งฝ่ายธุรการหลายตำแหน่งซึ่งไม่สู้มีความสำคัญเท่าใด แต่สิ่งที่ท่านสนใจมากที่สุดได้แก่ศิลปะของการเมือง หนังสือสำคัญ ๆ ที่ท่านประพันธ์ขึ้นไว้คือ The Prince เล่มหนึ่ง อีกเล่มหนึ่งชื่อ The Art of War และอีกเล่มหนึ่งคือ Discourses on the First Ten Books of Livyมีนักเขียนหลายคนวิพากษ์ Machiavelli ที่แสดงความเห็นสนับสนุนว่า รัฐบาลใดก็ตมที่ต้องการรักษาอำนาจการปกครองตนให้เข้มแข็งไว้ ย่อมจะใช้วิถีทางใด ๆ ก็ได้ ถึงแม้หนทางเช่นนั้นจะผิดกฎหมายหรือไร้ศีลธรรมก็ตาม และก็มีนักเขียนอีกหลายคนสนับสนุนท่าน โดยชี้ให้เห็นว่า ท่านเป็นแต่เพียงตีแผ่ให้เห็นพฤติกรรมที่แท้จริงของรัฐบาลประเทศต่าง ๆ ในยุคสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่มากกว่าอย่างอื่น อาทิเช่น ในหนังสือ The Prince ของท่านตอนหนึ่งอ้างว่า การต่อสู้นั้นมีอยู่สองวิธี วิธีแรกเป็นการต่อสู้โดยวิถีทางกฎหมาย อีกวิธีหนึ่งคือการต่อสู้โดยใช้กำลัง (Force) วิธีแรกนั้นเป็นวิธีที่มนุษย์พึงใช้ ส่วนวิธีที่สองเป็นวิธีเยี่ยงสัตว์ป่า แต่การใช้วิธีแรกมักจะไม่ค่อยได้ผลเสมอไป เพราะไม่เพียงพอ ก็ย่อมจะหันเข้าใช้วิธีที่สองได้ ฉะนั้น ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้น ซึ่ง Machiavelli เรียกว่า Prince จึงจำเป็นต้องรู้ดีว่าจะใช้ทั้งวิธีที่มนุษย์จะพึงใช้ และวิธีเยี่ยงสัตว์ป่าอย่างไร ด้วยเหตุนี้ ผู้ปกครองประเทศสมัยนั้นไม่จำเป็นต้องมีสัจธรรม หากการกระทำนั้น ๆ จะทำความเสียหายแก่ผลประโยชน์ของประเทศ ท่านเห็นว่า หากมนุษย์ทุกคนเป็นคนดี กฎเช่นนี้ก็เป็นกฎที่ไม่ถูกต้อง แต่โดยที่มนุษย์ไม่ใช่คนดีทั้งหมด ในเมื่อเขาไม่ยอมให้ความศรัทธาความไว้วางใจในตัวท่าน ก็ไม่มีอะไรที่จะมาห้ามมิให้ท่านเลิกศรัทธากับเขาเหล่านั้นได้ [การทูต] |
upland rice | ข้าวไร่, ข้าวที่ปลูกได้บนที่ดอนหรือบนภูเขาไม่มีน้ำขังในพื้นที่ที่ปลูก [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เขาไม่สู้ฉลาดนัก | [mai sū chalāt nak] (v, exp) EN: not be very clever |
Hope Dictionary
alibi | (แอล' ละไบ) n., (pl. -bis) ความแก้ตัวของจำเลยที่ว่าเขาไม่อยู่ในที่เกิดเหตุ, คำแก้ตัว. |
vindicate | (วิน'ดะเคท) vt. แก้ต่าง, แก้ตัว, กู้, พิสูจน์ว่าเขาไม่ผิด, ป้องกัน, แก้แค้น, ปลดปล่อย., See also: vindicator n., Syn. excuse, extenuate |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
生意気 | [なまいき, namaiki] (adv) อย่างไม่อาย, อย่างหน้าด้านๆ, อย่างใจกล้าหน้าด้าน, อย่างไร้ยางอาย<BR> <BR> Eg.<BR> 彼の生意気態度は我慢できない。<BR> ทนลักษณะท่าทางหน้าด้านของเขาไม่ได้แล้ว<BR> <BR> 生意気を言うようですが、そうしない方がいいでしょう。<BR> ดูเหมือนว่าจะพูดอย่างไม่อายเลยนะ ไม่ทำแบบนั้นน่าจะดีกว่านะ<BR> |
Longdo Approved DE-TH
eben | เป็นคำที่ใช้เสริมเพื่อบ่งว่าต้องยอมรับเหตุการณ์นั้นๆ เช่น Er kann gar nicht schaffen. Er ist eben mein Bruder. เขาไม่เป็นโล้ไม่เป็นพาย อย่างนั้นก็เถอะเขาก็เป็นน้องชายของฉัน, Syn. halt |
frei | (adj, adv) เป็นอิสระ, ว่าง, ไม่ขึ้นกับใคร เช่น Keine Sorge, er ist schon frei von Fieber. ไม่ต้องห่วง เขาไม่มีไข้แล้ว, Ist hier noch frei? ที่ตรงนี้ว่างไหมคะ, Lass den Vogel frei. Im Käfig lebt er nicht wohl. ปล่อยนกเป็นอิสระเถิด ในกรงมันไม่สบายหรอก |
gar nichts | ไม่มีเลย เช่น Er hat gar nichts zu tun. เขาไม่มีอะไรทำเลย |
hier | ที่นี่, ตรงนี้ เช่น Er ist nicht mehr hier. เขาไม่ได้อยู่ที่นี่อีกแล้ว |
ein Risiko eingehen | เสี่ยง เช่น Er geht das Risiko nicht ein, in der Sahara Urlaub zu machen. เขาไม่ขอเสี่ยงไปเที่ยวช่วงหยุดพักร้อนในทะเลทรายซาฮารา |
sich bei jmdm. melden | ติดต่อ เช่น Er hat sich bei mir noch nie gemeldet seit er umgezogen ist. เขาไม่ติดต่อผมเลย ตั้งแต่เขาย้ายบ้านไป |
leider | (adv) น่าเสียดาย, เป็นที่โชคไม่ดี เช่น Leider konnte er nicht kommen. น่าเสียดายที่เขาไม่สามารถมาได้, See also: A. zum Glück |
sich an etw./jmn. anpassen | (vt) ปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์หรือผู้คน เช่น Er hat kein Problem, sich an das Leben in Deutschland anzupassen. เขาไม่มีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับชีวิตในประเทศเยอรมนี |
anscheinend | (adv) เป็นที่เห็นได้ชัด (ตัดสินหรือคาดการณ์จากสิ่งที่เห็นหรือสังเกตได้) เช่น Sein Koffer ist nicht mehr da. Anscheinend ist er schon weggefahren. กระเป๋าเดินทางของเขาไม่อยู่แล้ว เขาคงจะออกเดินทางไปแล้ว, See also: scheinbar, Syn. vermutlich |
verblüffen | (vi, vt) |verblüffte, hat verblüfft| ทำให้ประหลาดใจ โดยที่เขาไม่ได้คาดคิดมาก่อน เช่น Ich habe Mama und Papa mit Informationen über Länder und Leute in Afrika verblüfft. พ่อและแม่ประหลาดใจที่ผมรู้เรื่องเกี่ยวกับประเทศและผู้คนในทวีปแอฟริกา, Syn. überraschen |
durchschauen | (vt) |durchschaute, hat durchschaut| เข้าใจทะลุปรุโปร่ง, เห็นหมด(มักหมายถึงเหตุการณ์ที่ซับซ้อน ซ่อนเงื่อน) เช่น Mich kann er nicht täuschen. Ich habe seine Pläne durchschaut. เขาไม่สามารถหลอกลวงฉันได้ ฉันเข้าใจแผนการณ์ของเขาหมด |
lassen | (vt) |läßt, ließ, hat gelassen, ตามด้วยกิริยาที่ไม่ผันรูป| อนุญาต, ปล่อยให้ทำ เช่น Er läßt mich nicht weiter schlafen. เขาไม่ปล่อยให้ฉันนอนต่อ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0742 seconds, cache age: 36.583 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม