375 ผลลัพธ์ สำหรับ *อาชีพ*
ภาษา
หรือค้นหา: อาชีพ, -อาชีพ-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N | [มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: N] (n, vi, vt, modal, verb, aux, verb, adj, adv, prep, conj, pron, phrase, jargon, slang, colloq, vulgar, abbrev, name, o) มาริลิน มอนโร (อังกฤษ: Marilyn Monroe) หรือชื่อเกิด นอร์มา จีน มอร์เทนสัน (อังกฤษ: Norma Jeane Mortenson) เกิดวันที่ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1926 – 5 สิงหาคม ค.ศ. 1962) เป็นอดีตนักแสดง นักร้อง นางแบบชาวอเมริกัน มีชื่อเสียงจากบทบาท "dumb blonde" เธอกลายเป็นสัญลักษณ์ทางเพศที่ได้รับความนิยมในคริสต์ทศวรรษ 1950 เป็นสัญลักษณ์ของทัศนคติที่มีต่อเพศแห่งยุค แม้ว่าเธอได้เป็นนักแสดงระดับต้น ๆ เพียงแค่หนึ่งทศวรรษ ภาพยนตร์ของเธอทำรายได้ได้ 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐก่อนที่เธอจะเสียชีวิตอย่างไม่คาดคิดใน ค.ศ. 1962[ 1 ] เธอยังถือว่าเป็นสัญรูปของวัฒนธรรมสมัยนิยมหลัก ๆ นับแต่นั้นมา[ 2 ] มอนโรเกิดและเติบโตในลอสแอนเจลิส วัยเด็กเธออาศัยอยู่ในบ้านรับเลี้ยงเด็ก และสถานเด็กกำพร้า และสมรสครั้งแรกเมื่ออายุ 16 ปี ขณะทำงานในโรงงานเป็นส่วนหนึ่งของกำลังสงคราม ใน ค.ศ. 1944 เธอพบกับช่างภาพคนหนึ่ง และเริ่มทำอาชีพนางแบบ งานของเธอทำให้เธอได้เซ็นสัญญากับภาพยนตร์ขนาดสั้น 2 เรื่องกับค่ายทเวนตีท์เซนจูรีฟอกซ์ (1946-1947) และโคลัมเบียพิกเจอส์ (1948) หลังจากรับบทย่อยในภาพยนตร์จำนวนหนึ่ง เธอเซ็นสัญญาใหม่กับฟอกซ์ใน ค.ศ. 1951 เธอกลายเป็นนักแสดงที่ประสบความสำเร็จอย่างรวดเร็วด้วยบทบาทตลกขบขันหลายบทบาท เช่นในเรื่อง แอสยังแอสยูฟีล (1951) และมังกีบิสเนส (1952) และในภาพยนตร์ดรามาเรื่อง แคลชบายไนต์ (1952) และ โดนต์บาเดอร์ทูน็อก (1952) มอนโรเผชิญหน้ากับข่าวลือหลังจากมีการเปิดเผยว่าเธอเคยถ่ายแบบเปลือยก่อนมาเป็นนักแสดง แต่แทนที่จะทำลายอาชีพเธอ มันกลับทำรายได้ให้กับบอกซ์ออฟฟิศ ก่อน ค.ศ. 1953 มอนโรเป็นหนึ่งในดาราฮอลลิวูดที่มีบทบาทนำในภาพยนตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ ฟิล์มนัวร์ เรื่อง ไนแอการา (ภาพยนตร์ ค.ศ. 1953)|ไนแอการา ซึ่งมุ่งจุดสนใจที่เสน่ห์ทางเพศของเธอ และภาพยนตร์ตลกเรื่อง เจนเทิลเม็นพรีเฟอร์บลอนส์ และ ฮาวทูแมร์รีอะมิลเลียนแนร์ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ให้เธอเป็น "dumb blonde" แม้ว่าเธอจะมีบทบาทสำคัญในการสร้างและจัดการภาพลักษณ์สาธารณะของเธอตลอดอาชีพการทำงาน เธอรู้สึกผิดหวังต่อสตูดิโอที่ไทป์แคสต์ และการให้ค่าตัวเธอต่ำไป เธอถูกพักงานเป็นช่วงสั้น ๆ ในต้นปี ค.ศ. 1954 เนื่องจากเธอปฏิเสธโครงการทำภาพยนตร์เรื่องหนึ่ง แต่กลับมาเป็นดาราในภาพยนตร์เรื่องที่ประสบความสำเร็จที่สุดเรื่องหนึ่งคือ เดอะเซเวนเยียร์อิตช์ (1955) เมื่อสตูดิโอยังลังเลที่จะเปลี่ยนแปลงสัญญาของเธอ มอนโรก่อตั้งบริษัทผลิตภาพยนตร์ใน ค.ศ. 1954 ชื่อ มาริลิน มอนโร โพรดักชันส์ (MMP) ขณะก่อสร้างบริษัท เธอเริ่มศึกษาการแสดงที่แอกเตอส์สตูดิโอ ในปลายปี ค.ศ. 1955 ฟอกซ์มอบฉันทะให้เธอควบคุมและให้เงินเดือนสูงขึ้น หลังจากได้รับคำสรรเสริญจากการแสดงในเรื่อง บัสสต็อป (1956) และการแสดงในภาพยนตร์อิสระเรื่องแรกของบริษัท MMP เรื่อง เดอะพรินซ์แอนด์เดอะโชว์เกิร์ล (1957) เธอได้รับรางวัลลูกโลกทองคำจากเรื่อง ซัมไลก์อิตฮอต (1959) ภาพยนตร์เรื่องสุดท้ายของเธอที่ถ่ายทำจนเสร็จคือเรื่อง เดอะมิสฟิตส์ (1961) |
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปในงานอาชีพ | (n, phrase) Computer Package at Work |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
งานอาชีพ | (n) occupation, See also: profession, job, Syn. งานประจำ, งานหลัก, Ant. งานอดิเรก, งานว่าง, Example: นอกจากงานอาชีพที่ต้องทำเป็นประจำทุกวันแล้ว ยังมีอีกหลายคนที่หารายได้พิเศษจากงานอดิเรก, Count Unit: งาน |
กลุ่มอาชีพ | (n) occupational class, See also: occupational class, Example: สังคมใหญ่ก็จะมีสังคมย่อยๆ อีกมากมาย เช่น สังคมของกลุ่มอาชีพเดียวกัน สังคมชาวพุทธ สังคมของผู้หญิง เป็นต้น, Count Unit: กลุ่ม |
อาชีพอิสระ | (n) freelance |
นักมวยอาชีพ | (n) professional boxer, See also: pugilist, prizefighter, Ant. นักมวยสมัครเล่น, Example: นักมวยสมัครเล่น ในที่สุดก็กลายเป็นนักมวยอาชีพ, Count Unit: คน |
ประกอบอาชีพ | (v) earn a living, See also: make a living, Syn. เลี้ยงชีพ, มีอาชีพ, ยังชีพ, ดำรงชีพ, Example: เขาประกอบอาชีพเป็นทนายความ |
ผู้ประกอบอาชีพ | (n) one who earns his/her living, See also: one who supports himself/herself, Example: การทำโครงการของเรานั้น เราต้องเข้าไปสัมภาษณ์ผู้ประกอบอาชีพนั้นด้วยตนเอง, Count Unit: คน, ราย, Thai Definition: ผู้ที่ทำงานหารายได้เลี้ยงชีพ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
อาชีพ, อาชีว-, อาชีวะ | น. การเลี้ยงชีวิต, การทำมาหากิน |
อาชีพ, อาชีว-, อาชีวะ | งานที่ทำเป็นประจำเพื่อเลี้ยงชีพ. |
กรมนา | น. กรมใหญ่กรมหนึ่งในจตุสดมภ์ มีเสนาบดีเป็นผู้บังคับบัญชา มีอำนาจหน้าที่ดูแลรักษานาหลวง เก็บหางข้าวขึ้นฉางหลวง ทำนุบำรุงอาชีพเกษตรกรรมและเก็บค่าภาษีอากรเกี่ยวกับการนั้น รวมทั้งบังคับบัญชาศาลในสังกัดซึ่งมีอำนาจพิจารณาคดีพิพาทเกี่ยวกับที่นาและโคกระบือเป็นต้น |
กักกัน | น. เป็นวิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างหนึ่งตามประมวลกฎหมายอาญา ใช้ในการควบคุมผู้กระทำความผิดติดนิสัยไว้ภายในเขตกำหนด เพื่อป้องกันการกระทำความผิด เพื่อดัดนิสัยและเพื่อฝึกหัดอาชีพ. |
การปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม | น. การปรับปรุงเกี่ยวกับสิทธิ และการถือครองในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม รวมตลอดถึงการจัดที่อยู่อาศัยในที่ดินเพื่อเกษตรกรรมนั้น โดยรัฐนำที่ดินของรัฐ หรือที่ดินที่รัฐจัดซื้อหรือเวนคืนมาจัดให้แก่เกษตรกรผู้ยากจน โดยรัฐให้ความช่วยเหลือในการพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม. |
คหกรรมศาสตร์ | (คะหะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวข้องกับความรู้ทางวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ โดยมุ่งพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดการทรัพยากรบุคคล วัสดุและสิ่งแวดล้อม เพื่อพัฒนาอาชีพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความมั่นคงของสถาบันครอบครัวและสังคม. |
โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานที่ดินและพระราชทรัพย์สำหรับจัดทำแปลงเกษตรผสมผสาน สนับสนุนปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามแนวทางเกษตรทฤษฎีใหม่ เพื่อทดลองค้นคว้าหารูปแบบการประกอบอาชีพของชุมชนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม และเป็นสถานที่ฝึกอบรมการเกษตรภาคปฏิบัติให้นักศึกษาและประชาชนที่สนใจนำไปประยุกต์ใช้ เช่น โครงการพัฒนาส่วนพระองค์เขาหินซ้อน อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา โครงการพัฒนาส่วนพระองค์ชุมพร อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. |
โครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงศึกษาทดลองงานทางด้านการเกษตร ภายในบริเวณสวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ข้อมูลที่ได้จากการทดลองนำมาเป็นแบบอย่างสำหรับปฏิบัติตามหรือปรับปรุงแก้ไขในการประกอบอาชีพของราษฎร แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ โครงการไม่ใช่ธุรกิจ เช่น บ่อเพาะเลี้ยงปลานิล ป่าไม้สาธิต นาข้าวทดลอง และโครงการกึ่งธุรกิจ เช่น โรงงานผลิตและแปรรูปนมสดครบวงจร โรงสีข้าว. |
โครงการหลวง | น. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานอาชีพทางเลือกใหม่แก่ชาวไทยภูเขาในภาคเหนือ ซึ่งเดิมปลูกฝิ่นและทำไร่เลื่อนลอย ให้หันมาปลูกไม้ดอก ไม้ผล พืชผักเมืองหนาว และเลี้ยงปศุสัตว์เพื่อบริโภคและจำหน่าย สร้างรายได้ทดแทนการปลูกฝิ่น ทำให้ลดปัญหายาเสพติด ช่วยพิทักษ์รักษาป่าต้นน้ำ และสามารถพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน. |
จรรยาบรรณ | (จันยาบัน) น. ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้. |
ชาว | น. กลุ่มชนที่มีเชื้อชาติเดียวกัน เช่น ชาวไทย ชาวจีน หรืออยู่ในถิ่นฐานเดียวกัน เช่น ชาวเมือง ชาวชนบท หรือมีอาชีพอย่างเดียวกัน เช่น ชาวไร่ ชาวนา ชาวประมง หรือนับถือศาสนาร่วมกัน เช่น ชาวพุทธ ชาวคริสต์ หรืออยู่ในแวดวงเดียวกัน เช่น ชาวอักษร ชาวค่าย. |
ชาวเล | คนที่อาศัยอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล มีอาชีพทำประมง. |
ทัณฑสถาน | (ทันทะ-) น. เรือนจำพิเศษประเภทหนึ่ง ซึ่งใช้เป็นที่ควบคุมกักขังผู้ต้องขังเฉพาะแต่ละประเภทให้เหมาะสมกับประเภทผู้ต้องขังนั้น ๆ เช่น ทัณฑสถานวัยหนุ่ม เป็นสถานที่ควบคุมกักขังและฝึกอาชีพแก่ผู้ต้องขังที่อยู่ในวัยหนุ่ม. |
ที่ | น. แหล่ง, ถิ่น, เช่น ที่ประกอบอาชีพ ที่ทำมาหากิน, สถานที่ เช่น ที่ประชุม ที่พัก, ตำแหน่งแห่งที่ เช่น เอาของวางไว้ให้ถูกที่ |
ทุบหม้อข้าว | ก. ตัดอาชีพ, ทำลายหนทางทำมาหากิน. |
ธุรกิจ | น. การงานประจำเกี่ยวกับอาชีพค้าขาย หรือกิจการอย่างอื่นที่สำคัญและที่ไม่ใช่ราชการ |
นัก ๑ | น. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้กระทำเป็นปรกติ เช่น นักเรียน นักดื่ม นักท่องเที่ยว, ผู้ชำนาญ เช่น นักเทศน์ นักดนตรี นักคำนวณ นักสืบ, ผู้มีอาชีพในทางนั้น ๆ เช่น นักกฎหมาย นักแสดง นักเขียน. |
นักท่องเที่ยว | น. บุคคลที่เดินทางจากท้องที่อันเป็นถิ่นที่อยู่โดยปรกติของตนไปยังท้องที่อื่นเป็นการชั่วคราวด้วยความสมัครใจ และด้วยวัตถุประสงค์อันมิใช่เพื่อไปประกอบอาชีพหรือหารายได้ เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การศึกษาหาความรู้ การบันเทิง. |
นิคม | น. หมู่บ้านขนาดใหญ่, ถิ่นฐานหรือชุมชนที่เกิดขึ้นจากการตั้งหลักแหล่ง, หมู่บ้านใหญ่หรือตำบลที่ประชาชนเข้าไปตั้งถิ่นฐานอยู่เพื่อประกอบอาชีพเป็นหลักฐาน เช่น นิคมสร้างตนเอง นิคมอุตสาหกรรม. |
นิคมที่ดิน | น. ที่ดินที่รัฐจัดสรรให้ประชากรอพยพครอบครัวเข้าไปตั้งถิ่นฐานเพื่อประกอบอาชีพและอยู่อาศัยอย่างเป็นระเบียบ โดยมีการวางแผนเพื่อพัฒนาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ สังคม และวิชาชีพ รวมทั้งบริการสาธารณูปโภคต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้า. |
นิคมสร้างตนเอง | น. บริเวณที่ดินของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นนิคมสร้างตนเอง เพื่อให้ราษฎรที่ขาดแคลนที่ดินทำกินได้มีที่ตั้งเคหสถานและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักแหล่งในที่ดินนั้น. |
นิคมสหกรณ์ | น. บริเวณที่ดินของรัฐที่มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเป็นนิคมสหกรณ์ เพื่อให้ราษฎรที่ขาดแคลนที่ดินทำกินได้มีที่ตั้งเคหสถานและประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลักแห่งในที่ดินนั้น โดยให้มีการก่อตั้งสหกรณ์ขึ้น. |
ประกอบ | ทำ เช่น ประกอบอาชีพ ประกอบธุรกิจ |
ผีเสื้อราตรี | น. เรียกผู้หญิงที่มีอาชีพให้บริการในสถานบันเทิงในเวลากลางคืน. |
พวก | น. คน สัตว์ หรือสิ่งต่าง ๆ ที่รวมกันเข้าเป็นกลุ่มเป็นหมู่ตามอาชีพหรือชนิดเป็นต้น เช่น พวกนักเรียน พวกพ่อค้า พวกกรรมกร พวกนก พวกกา พวกเครื่องมือ พวกเครื่องเขียน. |
พื้นเพ | น. หลักแหล่ง เช่น พื้นเพเป็นคนนครปฐม, อาชีพของวงศ์ตระกูล เช่น พื้นเพเป็นพ่อค้า. |
เพื่อน ๑ | น. ผู้ชอบพอรักใคร่กัน, ผู้สนิทสนมคุ้นเคยกัน, เช่น เขามีเพื่อนมาก, ผู้ร่วมสถาบันหรือร่วมอาชีพเป็นต้น เช่น เพื่อนร่วมโรงเรียน เพื่อนร่วมรุ่น เพื่อนข้าราชการ เพื่อนกรรมกร, ผู้ร่วมธุระ เช่น อยู่เป็นเพื่อนกันก่อน ไปเป็นเพื่อนกันหน่อย, ผู้อยู่ในสภาพเดียวกัน เช่น เพื่อนมนุษย์ เพื่อนร่วมโลก. |
มหาดไทย | น. ชื่อกรมที่ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือในสมัยโบราณ มีสมุหนายกเป็นประธาน, ชื่อกระทรวงที่มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการปกครองท้องที่ บำบัดทุกข์บำรุงสุข การพัฒนาชนบทและชุมชน การส่งเสริมการศึกษาและการประกอบอาชีพ การรักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน การป้องกันสาธารณภัย การผังเมือง การโยธา และการราชทัณฑ์. |
มิคลุท, มิคลุทกะ | (-ลุด, -ลุดทะกะ) น. พรานเนื้อ, คนที่เที่ยวฆ่าสัตว์ในป่าเป็นอาชีพ. |
มิจฉาชีพ | น. การหาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, อาชีพที่ผิดกฎหมาย, เช่น เขาประกอบมิจฉาชีพ. |
มิจฉาชีพ | ว. ที่หาเลี้ยงชีวิตในทางผิด, ที่ประกอบอาชีพผิดกฎหมาย, เช่น พวกมิจฉาชีพ. |
แมยิสเตร็ด | น. ผู้ทำหน้าที่ตุลาการในศาลชั้นต้นของต่างประเทศซึ่งอาจจะเป็นผู้พิพากษาอาชีพหรืออาสาสมัครก็ได้. |
วงการ | น. กลุ่มบุคคลที่มีอาชีพหรือความสนใจอย่างเดียวหรือในแนวเดียวกัน เช่น วงการธุรกิจ วงการบันเทิง วงการครู. |
วิชาชีพ | น. วิชาที่จะนำไปใช้ในการประกอบอาชีพ เช่น วิชาแพทย์ วิชาช่างไม้ วิชาช่างยนต์. |
วิธีการเพื่อความปลอดภัย | น. มาตรการตามกฎหมายอาญาเพื่อป้องกันมิให้บุคคลกระทำความผิดหรือกระทำความผิดอีก อันได้แก่ วิธีการกักกัน ห้ามเข้าเขตกำหนด เรียกประกันทัณฑ์บน คุมตัวไว้ในสถานพยาบาล หรือห้ามการประกอบอาชีพบางอย่าง. |
ศิลปศาสตร์ | น. วิชาต่าง ๆ ซึ่งไม่ใช่วิชาทางเทคนิค หรือทางอาชีพ เช่น ภาษาศาสตร์ ปรัชญา ประวัติศาสตร์ |
สร้างฐานะ | ก. ประกอบอาชีพจนมีทรัพย์สินเป็นหลักฐานมั่นคง. |
สัมมาชีพ | น. อาชีพที่สุจริต, อาชีพที่ชอบธรรม, เช่น การทำไร่ทำนานับว่าเป็นสัมมาชีพอย่างหนึ่ง. |
สายสนกลใน | น. เลศนัยสลับซับซ้อน (มักใช้ในทางไม่บริสุทธิ์) เช่น เรื่องนี้มีสายสนกลในมาก ต้องใช้นักสืบมืออาชีพสืบดู. |
สินส่วนตัว | น. ทรัพย์สินที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีอยู่ก่อนสมรส หรือที่เป็นเครื่องใช้สอยส่วนตัว เครื่องแต่งกาย หรือเครื่องประดับกายตามควรแก่ฐานะ หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่จำเป็นในการประกอบอาชีพหรือวิชาชีพของคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งได้มาระหว่างสมรสโดยการรับมรดก หรือโดยการให้โดยเสน่หา หรือทรัพย์สินที่เป็นของหมั้น. |
หมองูตายเพราะงู | น. ผู้ที่ชำนาญในการเอางูเห่ามาเลี้ยงเป็นอาชีพก็อาจถูกงูเห่ากัดตายเพราะความประมาทได้, โดยปริยายหมายถึงผู้ที่มีความรู้อาจตายหรือพลาดท่าเสียทีเพราะความรู้ของตนก็ได้. |
หมอตำแย | น. หญิงที่มีอาชีพทำคลอดตามแผนโบราณ. |
หลักฐาน | น. พื้นเพมั่นคง เช่น พ่อแม่เขาเป็นคนมีหลักฐาน, ความมั่นคงอันเป็นพื้นที่ตั้ง เช่น เขามีอาชีพการงานเป็นหลักฐาน |
หากิน | ก. ทำงานเลี้ยงชีวิต, หาเลี้ยงชีพ, เช่น เขาหากินด้วยการประกอบอาชีพสุจริต, มักใช้เข้าคู่กับคำ ทำมา เป็น ทำมาหากิน, หาอาหาร เช่น ให้แต่ที่พัก หากินเอาเอง. |
อาวุโส | น. ความมีอายุมากกว่าหรือมีประสบการณ์ในอาชีพมากกว่าเป็นต้น เช่น เขามีอาวุโสในการทำงาน ผู้มีอาวุโสทางการเมือง. |
อิสร-, อิสระ | (อิดสะหฺระ-) ว. เป็นใหญ่, เป็นไทแก่ตัว, เช่น อิสรชน, ที่ปกครองตนเอง เช่น รัฐอิสระ, ไม่ขึ้นแก่ใคร, ไม่สังกัดใคร, เช่น อาชีพอิสระ นักเขียนอิสระ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
professional reinsurer | ผู้รับประกันภัยต่ออาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
professional spasm; spasm, occupation | ภาวะหดเกร็งเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rehabilitiation, vocational | การฟื้นฟูอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
representation, functional | การเป็นผู้แทนตามกลุ่มอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
spasm, occupation; spasm, professional | ภาวะหดเกร็งเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
spasm, professional; spasm, occupation | ภาวะหดเกร็งเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
socialism, guild | สังคมนิยมแบบสมาคมอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupation | ๑. การยึดครอง, การครอบครอง๒. อาชีพ, งานอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupation | อาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
occupational disease | โรคภัยเนื่องจากอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational disease | โรคจากงานอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational extra | ส่วนเพิ่มเนื่องจากอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational group | กลุ่มอาชีพ [ ดู occupational class ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
occupational hazard | ภาวะภัยจากอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational hazard | การเสี่ยงอันตรายจากงานอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational lung disease | โรคปอดเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupational mobility | การเคลื่อนที่ทางอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
occupational mortality | ภาวะการตายตามกลุ่มอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
official, non-career | ข้าราชการที่ไม่ได้รับราชการเป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupation | ๑. การครอบครอง๒. การประกอบอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupation spasm; spasm, professional | ภาวะหดเกร็งเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupational accident | อุบัติเหตุเนื่องจากอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational class | กลุ่มอาชีพ [ ดู occupational group ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
occupational classification | การจำแนกประเภทตามกลุ่มอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
occupational classification | การแยกประเภทอาชีพ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
occupational disease | โรคเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupational disease | โรคที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน, โรคภัยเนื่องจากอาชีพ, โรคเกิดจากงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
occupational disease | โรคเฉพาะอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
change of occupation | การเปลี่ยนอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
career | งานอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
calling | การประกอบอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disease, occupational | โรคเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
dangerous occupation | อาชีพที่เสี่ยงอันตราย [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
disease, occupational | โรคที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับการทำงาน, โรคภัยเนื่องจากอาชีพ, โรคเกิดจากงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
disease, occupational lung | โรคปอดเหตุอาชีพ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
guild | สมาคมอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
guild | สมาคมอาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
guild socialism | สังคมนิยมแบบสมาคมอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
functional representation | การเป็นผู้แทนตามกลุ่มอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
income, unearned | รายได้พิเศษ (นอกเหนือจากการประกอบอาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vocational rehabilitation | การฟื้นฟูอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
vocation | อาชีวะ, อาชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
habitual occupation | อาชีพปรกติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
non-career | มิใช่โดยอาชีพ, ไม่เป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
non-career official | ข้าราชการที่ไม่ได้รับราชการเป็นอาชีพ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unearned income | รายได้พิเศษ (นอกเหนือจากการประกอบอาชีพ) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
unoccupied population | ประชากรที่ไม่ทำงานอาชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Dangerous occupation | อาชีพเสี่ยงอันตราย [เศรษฐศาสตร์] |
Occupational hygiene | อนามัยเกี่ยวกับงานอาชีพ [เศรษฐศาสตร์] |
Occupational mobility | การเปลี่ยนอาชีพ [เศรษฐศาสตร์] |
Occupational exposure | การรับรังสีจากอาชีพ, การรับรังสีทุกชนิดที่ผู้ปฏิบัติงานรังสีได้รับจากการทำงาน [นิวเคลียร์] |
Habit survey | การสำรวจลักษณะนิสัย, การสำรวจลักษณะนิสัยของกลุ่มประชากรในแต่ละพื้นที่ ที่อาจนำไปสู่การได้รับรังสี เช่น พฤติกรรมการบริโภคและอาชีพ เพื่อประเมินปริมาณรังสีที่คาดว่าจะได้รับ โดยมุ่งเน้นไปยังกลุ่มประชากรที่คาดว่าจะได้รับรังสีสูงสุด, Example: [นิวเคลียร์] |
Accidents, Occuptational ; Industrial accidents | อุบัติเหตุจากอาชีพ [TU Subject Heading] |
Astrology and vocational guidance | โหราศาสตร์กับการแนะแนวอาชีพ [TU Subject Heading] |
Career changes | การเปลี่ยนอาชีพ [TU Subject Heading] |
Career development | การพัฒนาอาชีพ [TU Subject Heading] |
Career education | อาชีพศึกษา [TU Subject Heading] |
Career in (specifie field or discipline) | อาชีพในด้าน... [TU Subject Heading] |
Career in [ field ] | อาชีพทาง...[ ชื่อวิชาชีพ ] [TU Subject Heading] |
Commercial artists | ศิลปินอาชีพ [TU Subject Heading] |
Communication in vocational education | การสื่อสารทางการศึกษาทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Counseling in vocational education | การให้คำปรึกษาในการศึกษาทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational diseases | โรคเกิดจากอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational mobility | การเคลื่อนย้ายทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational prestige | เกียรติภูมิของอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational retraining | การฝึกอาชีพซ้ำ [TU Subject Heading] |
Occupational training | การฝึกอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational training for women | การฝึกอาชีพสำหรับสตรี [TU Subject Heading] |
Occupations | อาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupations and race | อาชีพกับเชื้อชาติ [TU Subject Heading] |
Part-time self-employment | อาชีพเสริม [TU Subject Heading] |
Personality and occupation | บุคลิกภาพกับอาชีพ [TU Subject Heading] |
Prediction of occupational success | พยากรณ์ความสำเร็จในอาชีพ [TU Subject Heading] |
Professional sports contracts | สัญญากีฬาระดับอาชีพ [TU Subject Heading] |
Quackery ; Quacks and quackery | อาชีพหมอเถื่อน [TU Subject Heading] |
Self-employed | อาชีพอิสระ [TU Subject Heading] |
Self-employed women | สตรีที่มีอาชีพอิสระ [TU Subject Heading] |
Vocational education | การศึกษาทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Vocational guidance | การแนะแนวอาชีพ [TU Subject Heading] |
Vocational interests | ความสนใจทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Vocational qualifications | คุณสมบัติทางอาชีพ [TU Subject Heading] |
Vocational rehabilitation | การฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ [TU Subject Heading] |
Vocational training centers | สถานฝึกอบรมและฝึกอาชีพ [TU Subject Heading] |
Occupational Disease | โรคที่เกิดขึ้นเฉพาะกลุ่มอาชีพ, Example: โรคที่ทำให้เกิดภาวะการตายจากอันตราย จากการเสี่ยงซึ่งเกิดขึ้นกับคนแต่ละอาชีพ [สิ่งแวดล้อม] |
apartheid | การปกครองประเทศแบบแบ่งแยกผิวพันธุ์ เป็นระบบปกครองที่ใช้ในสาธารณรัฐแอฟริกาใต้ก่อนที่จะมีการเลือกตั้งโดยไม่ แบ่งแยกผิวพันธุ์ครั้งแรกขึ้นระหว่างวันที่ 26-29 เมษายน 2537 ในระบบการปกครองดังกล่าว ประชาชนแอฟริกาใต้ผิวดำถูกจำกัดสิทธิต่าง ๆ เช่น สิทธิทางด้านการเมือง สิทธิการออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิรับสมัครเลือกตั้ง การเป็นสมาชิกรัฐสภา การมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินบางพื้นที่ การเลือกที่อยู่อาศัย การใช้สถานที่พักผ่อน การรับราชการ การเข้ารับการศึกษา การประกอบอาชีพ และการใช้บริการสาธารณูปโภคจากรัฐบาล เป็นต้น [การทูต] |
career consular officer | เจ้าพนักงานกงสุลอาชีพ [การทูต] |
Classes of Consuls | เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] |
Conference Diplomacy | กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] |
Consular Office | บุคคลรวมทั้งหัวหน้าของที่ทำการทางกงสุล ซี่งได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในฐานะกงสุลโดยได้รับ ภาระหน้าที่ทางกงสุล เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลมีอยู่ 2 ประเภทคือ 1. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลอาชีพ (Career Consular Office)2. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consular Office) [การทูต] |
Honorary Consul | กงสุลกิตติมศักดิ์ " ได้แก่ บุคคลในท้องถิ่นผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งและมอบหมายให้ดูแล ส่งเสริมผลประโยชน์ของประเทศและคนชาติในพื้นที่ในเขตอาณา และดำเนินการตรวจลงตราหนังสือเดินทางแก่บุคคลที่จะเดินทางเข้าประเทศที่ กงสุลกิตติมศักดิ์เป็นผู้แทน การแต่งตั้งผู้ดำรงตำแหน่งดังกล่าวต้องได้รับความเห็นชอบจากประเทศผู้รับ และต้องยื่นสัญญาบัตร และได้รับอนุมัติบัตรเช่นเดียวกับผู้แทนฝ่ายกงสุลอาชีพ (career consular officer) ทั้งนี้ กงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์จะได้รับมอบหมายให้ดูแลเขตอาณาที่ครอบคลุมพื้นที่ กว้างกว่าและสำคัญกว่า ในส่วนของไทย กงสุลกิตติมศักดิ์แตกต่างจากกงสุลอาชีพใน 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ (1) กงสุลกิตติมศักดิ์ส่วนใหญ่เป็นชาวต่างประเทศที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคม หรือเป็นผู้นำที่มีความสัมพันธ์พิเศษกับไทย (2) กงสุลกิตติมศักดิ์ต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งสำนักงาน ได้แก่ สถานกงสุลใหญ่กิตติมศักดิ์หรือสถานกงสุลกิตติมศักดิ์ทั้งหมด (3) กงสุลกิตติมศักดิ์ได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทางกงสุลน้อยกว่ากงสุลอาชีพ ในการปฏิบัติงานของกงสุลกิตติมศักดิ์ของไทยจะมีคู่มือกงสุลกิตติมศักดิ์ เป็นระเบียบกฎเกณฑ์และข้อมูลสำหรับการปฏิบัติงาน " [การทูต] |
International Court of Justice | ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า ศาลโลก ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1945 ตามกฎบัตรขององค์การสหประชาชาติ กฎข้อบังคับ (Statute) ของศาลโลกนั้นได้ผนวกอยู่ท้ายกฎบัตรของสหประชาชาติ และถือเป็นส่วนสำคัญอย่างแยกจากกันมิได้ของกฎบัตร ศาลนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ ถือเป็นองค์กรแห่งศาลหรือแห่งตุลาการสำคัญที่สุดขององค์การสหประชาชาติ ประเทศใดที่เข้าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลก ย่อมมีสิทธิที่จะส่งคดีใดก็ตามไปให้ศาลโลกพิจารณาได้ ภายใต้เงื่อนไขที่คณะมนตรีความมั่นคงได้จัดวางไว้ นอกจากนั้น คณะมนตรีความมั่นคงก็อาจจะส่งกรณีพิพาททางกฎหมายไปให้ศาลพิจารณาได้ทั้ง สมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงสามารถขอคำปรึกษาหรือความเห็นจากศาลเกี่ยวกับ ปัญหาข้อกฎหมายใดๆ และองค์กรอื่น ๆ ของสหประชาชาติ อันรวมถึงองค์การชำนัญพิเศษ ก็สามารถขอคำปรึกษา หรือความเห็นเกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางกฎหมายใดๆ ที่อยู่ภายในกรอบของงานที่ปฏิบัติอยู่ แต่ทั้งนี้ ต้องได้รับอนุมัติเห็นชอบจากสมัชชาสหประชาชาติก่อน สมัชชาเคยมอบอำนาจเช่นนี้แก่คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม คณะมนตรีภาวะทรัสตี คณะกรรมาธิการระหว่างกาล (Interim Committee) ของสมัชชา รวมทั้งองค์กรระหว่างรัฐบาลบางแห่งด้วยรัฐทั้งหมดที่เป็นสมาชิกของสหประชา ชาติถือว่าเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกไปในตัว ส่วนประเทศใดที่มิใช่เป็นสมาชิกของสหประชาชาติ ก็อาจเป็นภาคีของกฎข้อบังคับของศาลโลกได้ ตามเงื่อนไขที่สมัชชาสหประชาชาติเป็นผู้กำหนดเป็นราย ๆ ไป ตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง ศาลโลกมีอำนาจที่จะพิจารณาปัญหาทั้งหลายที่รัฐสมาชิกขอให้พิจารณา รวมทั้งเรื่องอื่น ๆ ทั้งหลายที่ระบุอยู่ในกฎบัตรสหประชาชาติ และตามสนธิสัญญาหรืออนุสัญญาที่ใช้บังคับอยู่ รัฐสมาชิกย่อมยอมผูกพันตนล่วงหน้าได้ที่จะยอมรับอำนาจศาลในกรณีพิเศษต่าง ๆ โดยจะต้องลงนามในสนธิสัญญา หรืออนุสัญญาซึ่งยอมให้ส่งเรื่องไปที่ศาลได้ หรือออกประกาศเป็นพิเศษว่าจะปฏิบัติเช่นนั้น ในคำประกาศเช่นนั้นจะต้องระบุว่ายอมรับอำนาจบังคับของศาลโลก และอาจจะยกเว้นคดีบางประเภทมิให้อยู่ในอำนาจของศาลได้ ในการวินิจฉัยลงมติ ศาลโลกจะอาศัยแหล่งที่มาของกฎหมายต่าง ๆ ดังนี้ คือ- สัญญาหรืออนุสัญญาระห่างประเทศซึ่งวางกฎข้อบังคับที่รัฐคู่กรณียอมรับ- ขนบธรรมเนียมระหว่างประเทศซึ่งมีหลักฐานแสดงว่าเป็นหลักปฏิบัติทั่วไปตามที่ กฎหมายรับรองศาลโลกอาจจะตัดสินชี้ขาดว่าสิ่งใดยุติธรรมและดี โดยรัฐภาคีที่เกี่ยวข้องตกลงเห็นชอบด้วยคณะมนตรีความมั่นคงอาจจะรับการขอ ร้องจากรัฐภาคีหนึ่งใดในกรณีพิพาท ให้กำหนดมาตรการที่จะใช้เพื่อให้คำตัดสินของศาลมีผลบังคับ ถ้าคู่กรณีอีกฝ่ายหนึ่งไม่ยอมปฏิบัติตามข้อผูกพันภายใต้อำนาจศาลศาลโลก ประกอบด้วยผู้พิพากษารวม 15 ท่าน ซึ่งถือกันว่าเป็น ?สมาชิก? ของศาล และได้รับเลือกตั้งจากสมัชชาและคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ผู้พิพากษาเหล่านี้จะมีอำนาจออกเสียงลงคะแนนอย่างอิสระเสรีหลักเกณฑ์การคัด เลือกผู้พิพากษาศาลโลกจะถือตามคุณสมบัติขอผู้พิพากษานั้น ๆ มิใช่ถือตามสัญชาติของบุคคลดังกล่าว อย่างไรก็ดี จะมีการระมัดระวังด้วยว่า กฎหมายที่นำมาใช้ในศาลจะต้องมาจากระบบกฎหมายที่สำคัญ ๆ ของโลก ในศาลโลกจะมีผู้พิพากษาที่เป็นชาติเดียวกันมากกว่าหนึ่งคนไม่ได้ ผู้พิพากษาทั้งหลายจะมีสิทธิ์ดำรงอยู่ในตำแหน่งได้ เป็นเวลา 9 ปี มีสิทธิ์ได้รับเลือกตั้งซ้ำได้ และระหว่างที่ดำรงอยู่ในตำแหน่ง จะต้องไม่ประกอบอาชีพการงานอื่นใดทั้งสิ้น [การทูต] |
Organization of European Economic Cooperation | คือองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป สัญญาที่ก่อตั้งองค์การนี้ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 16 เมษายน ค.ศ.1948 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม เดนมาร์ก ฝรั่งเศส กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี โดยแม่ทัพของฝรั่งเศส อังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที่ประจำอยู่ในเขตยึดครองในเยอรมนี (หลังเสร็จสงครามโลกครั้งที่สอง)จุดประสงค์สำคัญที่สุดขององค์การนี้คือ ต้องการให้ทวีปยุโรปมีภาวะเศรษฐกิจกลับคืนมาใหม่อย่างมั่นคง ด้วยการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก สำนักงานใหญ่ขององค์การนี้ตั้งอยู่ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศสอย่างไรก็ดี บัดนี้ได้มีองค์การตั้งขึ้นใหม่แทนองค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจของยุโรป เรียกว่า องค์การร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (Organization for Economic Cooperation and Development ) หรือ OECD สำหรับสัญญาจัดตั้งองค์การโอดีซีดีนี้ ได้มีการลงนามกัน ณ กรุงปารีส เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 โดยรัฐบาลของประเทศออสเตรีย เบลเยี่ยม แคนาดา เดนมาร์ก ฝรั่งเศส เยอรมนี กรีซ ไอซ์แลนด์ ไอร์แลนด์ อิตาลี ลักแซมเบิร์ก นอร์เวย์ เนเธอร์แลนด์ ปอร์ตุเกส อังกฤษ สเปน สวีเดน สวิตเซอร์แลนด์ ตุรกี อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา สัญญาดังกล่าวมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 30 กันยายน ค.ศ. 1961จุดประสงค์สำคัญขององค์การโออีซีดี มีดังนี้1. เพื่อให้บรรดาประเทศสมาชิกได้มีความเติบโตทางเศรษฐกิจ มีแรงงาน อาชีพ และมาตรฐานการครองชีพให้มากที่สุด ขณะเดียวกันก็พยายามรักษาเสถียรภาพทางการคลังไว้เพื่อเป็นการเกื้อกูลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของโลก2. ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ให้ประเทศสมาชิกมีโอกาสขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมั่นคง รวมทั้งในประเทศที่มิได้เป็นสมาชิกด้วย3. ต้องการมีส่วนเกื้อกูลต่อการขยายตัวทางการค้าในรูปพหุภาคี และปราศจากการกีดกันแต่อย่างใด ตามพันธกรณีระหว่างประเทศองค์การสำคัญในองค์การโออีซีดีคือคณะมนตรี ( Council ) ซึ่งประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด มีคณะกรรมการบริหารรวมทั้งเลขาธิการ สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส [การทูต] |
Political Appointee | หมายถึง บุคคลที่ได้รับแต่งตั้งด้วยเหตุผลทางการเมือง คือ ผู้ที่มิได้มีอาชีพทางการทูตโดยแท้ได้รับแต่งตั้งให้เป็นทูต ซึ่งต่างกับนักการทูตอาชีพ (Career diplomat) ในประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนี และสหภาพโซเวียต ธรรมเนียมปฏิบัติโดยทั่วไปจะแต่งตั้งเฉพาะบุคคลที่มีอาชีพนักการทูตแท้ ๆ เข้าดำรงตำแหน่งเอกอัครราชทูตและอัครราชทูต อย่างไรก็ดี เฉพาะในกรณีพิเศษจริง ๆ เท่านั้นจึงจะแต่งตั้งบุคคลจากภายนอก และบุคคลจากภายนอกที่ได้รับแต่งตั้งเป็นเอกอัครราชทูตได้รับผลสำเร็จในการ ปฏิบัติหน้าที่ก็มีอยู่หลายราย ทั้งในประเทศไทยและประเทศอื่น ๆ ทั่วโลก แฮโรลด์ นิโคลสัน ได้ให้ความเห็นไว้ในหนังสือเรื่องการทูตของท่านว่า ในประเทศใหญ่ ๆ เป็นที่พึงปรารถนาอย่างยิ่งที่จะให้นักการทูตอาชีพเท่านั้นเป็นผู้รับผิดชอบ ในการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ เพราะได้ผ่านการศึกษาและฝึกฝนในวิชาการทูตมาเป็นอย่างดีแล้ว ส่วนเอกอัครราชทูตที่แต่งตั้งจากคนภายนอกจะมีข้อเสียบางอย่าง เช่น ในการเขียนรายงานไปยังรัฐบาล เช่น รายงานการเมือง เขาอาจมุ่งแต่จะอวดความเฉียบแหลมของเขาเอง และร้อยกรองคำอย่างไพเราะเพราะพริ้ง มากกว่าที่จะมุ่งเสนอรายงานข้อเท็จจริงอย่างรอบคอบและมีเหตุผลอันสมควร เป็นต้น [การทูต] |
Core Competency | สมรรถนะหลัก, ขีดความสามารถขององค์กร ซึ่งเกิดจากวัฒนธรรมและค่านิยมขององค์กร เช่น การทำงานเป็นทีม (Teamwork) การทำงานแบบมืออาชีพ (Professionalism) การมุ่งเน้นผลงาน (Result Orientation) การบริหารตนเอง(Self Management) การใส่ใจลูกค้า (Customer Focus) และภาวะผู้นำ (Leaderships) เป็นต้น [การจัดการความรู้] |
Accountancy | อาชีพบัญญชี งานบัญญชี [การบัญชี] |
Accidents, Occupational | อุบัติเหตุจากอาชีพ [การแพทย์] |
Agricultural Workers' Diseases | โรคเกิดจากอาชีพเกษตรกรรม; เกษตรกร, โรค [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อาชีพ | [āchīp] (n) EN: profession ; occupation ; livelihood ; career ; vocation ; work FR: profession [ f ] ; métier [ m ] ; occupation [ f ] ; activité [ f ] ; boulot [ m ] (fam.) ; job [ m ] (fam.) |
อาชีพ | [āchīp] (adj) EN: professional FR: professionnel |
อาชีพชอบ | [āchīp chøp] (n, exp) EN: right livelihood FR: moyens d'existence justes [ mpl ] ; mode de vie juste [ m ] |
อาชีพอิสระ | [āchīp itsara] (n, exp) EN: freelance FR: indépendant [ m ] |
อาชีพในอนาคต | [āchīp nai anākhot] (n, exp) EN: future career FR: carrière future [ f ] |
อาชีพนิยม | [āchīpniyom] (n) EN: professionalism FR: professionnalisme [ m ] |
การแนะแนวอาชีพ | [kān naenaēo āchīp] (n, exp) EN: career counseling , career guidance FR: conseil en carrière [ m ] |
กีฬาอาชีพ | [kīlā āchīp] (n, exp) EN: professional sport FR: sport professionnel [ m ] |
กลุ่มอาชีพ | [klum āchīp] (n, exp) EN: occupational class |
เลิกประกอบอาชีพ | [loēk prakøp āchīp] (v, exp) EN: retire |
มืออาชีพ | [meū āchīp] (adj) EN: professional FR: professionnel |
นักกีฬาอาชีพ | [nakkīlā āchīp] (n, exp) EN: professional athlete FR: sportif professionnel [ m ] |
นักมวยอาชีพ | [nakmūay āchīp] (n, exp) EN: professional boxer ; pugilist ; prizefighter FR: boxeur professionnel [ m ] |
เป็นมืออาชีพ | [pen meū āchīp] (adj) EN: professional FR: professionnel |
ผู้แนะแนวอาชีพ | [phū naenaēo āchīp] (n, exp) EN: careers adviser FR: conseiller en carrière [ m ] |
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ | [phū prakøp āchīp itsara] (n, exp) EN: self-employed person |
ประกอบอาชีพ | [prakøp āchīp] (v, exp) EN: earn a living ; make a living ; carry on an occupation ; carry out a trade ; carry out a profession FR: gagner sa vie ; exercer une profession |
ประกอบอาชีพแพทย์ | [prakøp āchīp phaēt] (v, exp) EN: work as a doctor ; practise medicine FR: exercer la profession de médecin ; pratiquer la médecine |
สังคมอาชีพ | [sangkhom āchīp] (n, exp) FR: syndicat [ m ] |
ทำอาชีพ | [tham āchīp] (v, exp) FR: faire un métier ; exercer un métier |
ทางอาชีพ | [thāng āchīp] (adj) EN: professional FR: professionnel |
Longdo Approved EN-TH
symphony orchestra | (n) วงดนตรีคลาสสิคขนาดใหญ่ที่มักจะประกอบด้วยนักดนตรีอาชีพมากกว่า 80 คน จนถึงขนาด 100 กว่าคน ซึ่งสามารถบรรเลงเพลงคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องดนตรีครบทุกชนิดได้, See also: chamber orchestra, Syn. philharmonic orchestra |
Amyotrophic Lateral Sclerosis (ALS) | (n, name) โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง เป็นโรคที่เกิดจากการเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อ พยาธิสภาพของโรคเอแอลเอสอยู่ที่บริเวณแกนสมอง และไขสันหลัง ทำให้ผู้ป่วยมีกล้ามเนื้อแขนขา และลำตัวอ่อนแรง กลืนลำบาก และพูดไม่ชัด คำว่า “Amyotrophic” หมายถึง กล้ามเนื้ออ่อนแรง ฝ่อลีบและเต้นพลิ้ว (fasciculation) ส่วนคำว่า “Lateral sclerosis” หมายถึงรอยโรคในทางเดินของกระแสประสาทซึ่งควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อในไขสันหลัง โรคเอแอลเอสพบน้อยมาก โดยพบได้เพียง 4 ถึง 6 ต่อประชากร 100, 000 คน และโอกาสที่จะพบผู้ป่วยรายใหม่มีเพียง 1.5 ถึง 2.5 ต่อประชากร 100, 000 คนต่อปี โรคนี้เป็นกับผู้ใหญ่วัยใดก็ได้ แต่จะพบบ่อยขึ้นตามอายุ อายุเฉลี่ยของผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 65 ปี โดยมักเป็นในเพศชายมากกว่าเพศหญิง จนถึงปัจจุบัน ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าโรคเอแอลเอสเกิดขึ้นได้อย่างไร ผู้ป่วยราวร้อยละ 5 (โดยเฉพาะผู้ป่วยอายุน้อย) อาจมีประวัติโรคนี้ในครอบครัว สิ่งแวดล้อมหรือสารพิษบางชนิด อาจมีผลกับการเกิดโรคนี้ เนื่องจากพบว่าในบางพื้นที่ของโลก เช่นที่เกาะกวม พบโรคนี้มากกว่าที่อื่น นอกจากนั้นการศึกษาทางระบาดวิทยายังพบว่า นักกีฬาบางประเภท โดยเฉพาะนักฟุตบอลอาชีพมีโอกาสเป็นโรคนี้สูงกว่าประชากรทั่วไป ปัจจุบันเชื่อว่าสาเหตุของโรคนี้อาจเกิดจาก กลไกภูมิคุ้มกันต่อตนเองผิดปกติ (Autoimmune attack) หรือเกิดจากกลไกอนุมูลอิสระ (Free radicals) ทำลายเซลล์ประสาทของตนเอง ส่วนอีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่า การเสื่อมสลายของเซลล์ประสาทในสมองและไขสันหลังเกิดจากสารสื่อนำกระแสประสาท (neurotransmitter) ที่เรียกว่ากลูตาเมต (glutamate) กระตุ้นให้เกิดการทำลายเซลล์ (ข้อมูลจาก ผศ.นพ.รุ่งนิรันดร์ ประดิษฐสุวรรณ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ปัจฉิมวัย : http://www.thonburihospital.com/th/tip_detail.asp?id=22 , http://www.inf.ku.ac.th/article/diag/520506/alsmnd.html) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
amateur | (adj) ซึ่งไม่มีทักษะ, See also: ซึ่งไม่มีฝีมือ, ซึ่งไม่เป็นมืออาชีพ, Syn. inexperienced, nonprofessional, lay |
bar | (n) อาชีพทนายความ, See also: เกี่ยวกับด้านกฎหมาย |
big time | (n) ช่วงแห่งการประสบความสำเร็จในอาชีพ |
cabinetmaker | (n) คนที่มีอาชีพทำเกี่ยวกับงานไม้ |
calling | (n) อาชีพ, Syn. occupation, job |
career | (n) อาชีพ, See also: การงาน, Syn. occupation, vocation, work |
careers advice | (n) การแนะแนวเกี่ยวกับอาชีพ, Syn. careers guidance |
careers advisor | (n) ผู้ที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาชีพ, Syn. careers officer |
careers officer | (n) ผู้ที่ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาชีพ, Syn. careers advisor |
cattleman | (n) คนที่ทำอาชีพปศุสัตว์ |
chimney sweep | (n) คนที่มีอาชีพทำความสะอาดปล่องไฟ |
dancing girl | (n) ผู้หญิงที่มีอาชีพเต้นรำ (โดยเฉพาะในธุรกิจบันเทิง) |
dialect | (n) ภาษาเฉพาะกลุ่มอาชีพ, Syn. jargon, slang |
elbow grease | (n) งานที่ต้องใช้กำลังแขนมาก (คำไม่เป็นทางการ), See also: งานหนัก, อาชีพที่ต้องใช้กำลังมาก, Syn. toil, travail |
fellow | (adj) ซึ่งอยู่เป็นกลุ่มเดียวกัน, See also: ซึ่งอยู่ในสภาพเดียวกัน, ซึ่งมีอาชีพเดียวกัน, Syn. colleague, counterpart |
finished | (adj) ที่มีทักษะสูง, See also: มืออาชีพ, ชำนาญ, Syn. accomplished, professional |
foothold | (n) ฐานที่มั่นคง (ทางธุรกิจ, อาชีพการงาน) |
foray | (n) ความพยายามเข้าไปเกี่ยวข้องกับงานหรืออาชีพที่แตกต่างออกไป |
go in for | (phrv) มุ่งมั่นจะประกอบอาชีพเป็น |
gig | (n) อาชีพชั่วครวว, See also: งานชั่วคราว, Syn. temporary job |
hairdressing | (n) การตัดหรือแต่งผม, See also: อาชีพตัดผม, อุปกรณ์และน้ำยาสำหรับการแต่งผม, วิธีทำผม |
harlotry | (n) การเป็นหญิงโสเภณี, See also: อาชีพหญิงโสเภณี, การขายตัว, Syn. prostitution, whoredom, whorishness |
heavyweight | (n) นักมวยอาชีพที่มีน้ำหนักมากกว่า 79.5 กิโลกรัม หรือ 175 ปอนส์ |
get a start | (idm) มีโอกาสที่ดีในการประกอบอาชีพ, See also: เริ่มประกอบอาชีพ |
make a come-back | (idm) หันกลับมาทำอาชีพ (ที่ประสบความสำเร็จ) ที่เคยทำอีกครั้ง (คำไม่เป็นทางการ) |
washed up | (idm) ลม หรือคลื่นนำพามา, See also: ทำให้หมดอาชีพ |
jargon | (n) ภาษาเฉพาะกลุ่ม, See also: ภาษาเฉพาะวงการ, ภาษาเฉพาะอาชีพ, Syn. argot, parlance |
job | (n) งาน, See also: อาชีพ, การทำมาหากิน, Syn. occupation, profession, career |
jockey | (n) นักขี่ม้าแข่งอาชีพ |
licentiate | (n) ผู้ได้รับอนุญาตให้ประกอบอาชีพในสาขาใดสาขาหนึ่ง |
line | (n) ความสนใจในงานหรือกิจกรรม, See also: สายงาน, อาชีพ, แวดวง |
logging | (n) อาชีพการตัดไม้ |
lord | (n) ผู้ทรงอิทธิพลในอาชีพ |
masonry | (n) อาชีพก่อสร้าง, See also: อาชีพก่ออิฐก่อตึก |
metier | (n) อาชีพ, See also: วิชาชีพ, งาน, Syn. occupation, trade, profession |
mudlark | (n) คนประกอบอาชีพหาแร่, Syn. boor, slob |
nonprofessional | (adj) ซึ่งไม่ไช่อาชีพ, Syn. amateur, Ant. expert, professional |
occupation | (n) อาชีพ, See also: งานอาชีพ, งานประจำ, งานหลัก, Syn. job, profession, calling |
occupational | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับอาชีพ, See also: ซึ่งเป็นอาชีพ, เกี่ยวกับการงานที่ปฏิบัติ, Syn. professional, official |
occupationally | (adv) ทางอาชีพ |
prize ring | (n) การแข่งขันชกมวยอาชีพ |
prizefight | (n) การแข่งขันชกมวยอาชีพ |
prizefighter | (n) นักชกมวยอาชีพ |
prizefighting | (n) การแข่งขันชกมวยอาชีพ |
pro | (n) นักกีฬาอาชีพ (คำย่อของ professional), Syn. expert, master, Ant. beginner, novice |
pro-am | (adj) เกี่ยวข้องกับผู้เล่นมืออาชีพและสมัครเล่น |
profession | (n) อาชีพ, See also: อาชีพที่สุจริต, การงาน |
professional | (adj) เกี่ยวกับอาชีพ |
professional | (adj) ที่ทำเป็นอาชีพ, Ant. unprofessional |
professional | (n) ผู้เชี่ยวชาญในวิชาชีพ, See also: ผู้เชี่ยวชาญ, มืออาชีพ, Syn. expert, pro, Ant. amateur |
Hope Dictionary
a & r | abbr. artists and repertory (เกี่ยวกับอาชีพการคัดเลือกสรรหานักดนตรี เพื่อบันทึกเสียงหรือภาพ) |
acting | (แอค' ทิง) adj., n. รักษาการ, ว่าที่, สำหรับการแสดง, เหมาะแก่การแสดง, อาชีพการแสดง, ศิลปะการแสดง, Syn. officiating, substituting, deputy, Ant. permanent |
advertising | (แอด' เวอไทซิง) n. การโฆษณา, สิ่งที่ใช้ในการโฆษณา, คำโฆษณา, อาชีพหรือธุรกิจการโฆษณา., Syn. advertizing |
advertising man | ผู้โฆษณา, ผู้มีอาชีพเกี่ยวกับการโฆษณา (adman) |
authorship | (ออ'เธอชิพ) n. อาชีพการเขียนหนังสือหรือบทความ, แหล่งที่มาของผลงาน |
avocation | (แอฟวะเค' เชิน) n. งานอดิเรก, งานประจำ, อาชีพ, งาน, การเบนความสนใจ |
bag | (แบก) { bagged, bagging, bags } n. ถุง, กระสอบ, ย่าม, กระเป๋าถือ, ความมั่งคั่ง, อาชีพ, อารมณ์ -Phr. (in the bag แน่นอน, มั่นใจ) vi. บวม, พองขึ้น, มีท้อง vt. ใส่เข้าไปในถุง, ล่า, ฆ่า, ทำให้บวมหรือพอง, Syn. pouch |
baker | (เบ'เคอะ) n. คนทำขนมปัง (อาชีพ) |
bar | (บาร์) { barred, barring, bars } n. ท่อน, แท่ง, ไม้ขวาง, แถบ, กลอน, สลักประตู, ไม้ราว, กระบอง, ลูกกรง, สิ่งกั้น, รั้ว, อุปสรรค์, ลำ, เส้น, สาย, คอก (ในศาล) , อาชีพทนายความ, ราวที่ทนายความว่าความในศาล, บัลลังก์สอบสวนในศาล, ที่จำหน่ายเครื่องดื่ม, สายสะพายอิสริยาภรณ์, บาร์ vt. ใส่กลอน |
borstal | (บอร์'สเทิล) n. โรงเรียนเด็กที่กระทำผิดกฎหมาย เพื่ออบรมและฝึกอาชีพ |
brother | (บรา'เธอะ) n. พี่ชายหรือน้องชาย, พี่น้องร่วมชาติ, เพื่อนร่วมงาน, บุคคลร่วมอาชีพ, บาทหลวง, ภราดร, เจษฎาจารย์ |
bush league | n. สมาคมกีฬาอาชีพชั้นรอง |
by-line | n. อาชีพประกอบ, อาชีพพิเศษ, ทางแยก, สาขา, See also: byliner n. ดูby-line |
caduceus | (คะดู'เซียส) n. คทามีปีกและมีงูพันรอบเป็นสัญลักษณ์ของอาชีพแพทย์ |
calling | (คอล'ลิง) n. การเรียกร้อง, อาชีพ, การเยี่ยม, สิ่งดลใจ, การประชุม, Syn. vocation |
cantatrice | (คานทะทรี'ชี) n. นักร้องอาชีพที่เป็นหญิง |
career | (คะเรียร'์) { careered, careering, careers } n. อาชีพ, งานการ vi.แล่นอย่างรวดเร็ว, วิ่งอย่างรวดเร็ว, Syn. pursuit |
chase | (เชส) { chased, chasing, chases } v. ไล่ตาม -n. การไล่ตาม, สัตว์ที่ถูกไล่, การแสวงหา, สัตว์ที่ล่ามาได้, ผู้ล่า, สถานที่ล่าสัตว์ -Phr. the chase กีฬาหรืออาชีพการล่าสัตว์ |
chiropractor | (ไค'ระแพรคเทอะ) n. ผู้มีอาชีพเกี่ยวกับการบำบัดโรคด้วยการจับกระดูกสันหลัง |
cloth | (คลอธ) n. เสื้อผ้า, เสื้อผ้าที่ใส่เฉพาะของอาชีพ -Phr. (the cloth อาชีพเป็นพระ) -pl. cloths |
common carrier | n. ผู้มีอาชีพการขนส่ง, บริษัทขนส่ง |
cotquean | (คอท'เควน) n. ชายที่ทำอาชีพเกี่ยวกับเรื่องของหญิง, หญิงที่ดุร้าย |
couture | (คูเที่ยว') n. อาชีพหรือการงานของนักออกแบบหรือขายเสื้อผ้าอาภรณ์สตรี |
craft | (คราฟทฺ) { crafted, crafting, crafts } n. ความเชี่ยวชาญ, ความชำนาญ, ฝีมือทางช่าง, การช่าง, อาชีพ, เล่ห์เหลี่ยม, สมาคมวิชาชีพ, เรือ, ยาน, ยานอวกาศ. vt. ประดิษฐ์ด้วยฝีมือ, Syn. art, skill, ability |
dragoman | n. นักล่ามืออาชีพ |
employ | (เอมพลอย') vt. จ้าง, ว่าจ้าง, ใช้, ใช้สอย, ใช้เวลา. -n. การจ้าง, การว่าจ้าง, การบริการ, อาชีพ., See also: employability n. ดูemploy employable adj. ดูemploy employer n. ดูemploy, Syn. engage |
employment | (เอมพลอย'เมินทฺ) n. การจ้าง, การว่าจ้าง, ภาวะที่ถูกว่าจ้าง, อาชีพ, การงาน, ธุรกิจ, กิจกรรม, Syn. work |
expert system | ระบบผู้เชี่ยวชาญหมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่แสดงความสามารถได้เหมือนกับผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ หรือในงานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านการแพทย์ ระบบนี้จะรวมเอาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ซึ่งพวกมืออาชีพหรือผู้ชำนาญการได้รวบรวมไว้ กับต้องมีวิธีการที่จะใช้ในการประมวลผล โดยการตั้งคำถามให้ตอบ โปรแกรมประเภทนี้ จะต้องนำคำตอบเหล่านั้นมาประมวลผล เปรียบเทียบกับข้อมูลที่รวบรวมไว้แล้ว หาข้อสรุปให้ หรือช่วยแก้ปัญหาให้ คำตอบที่คอมพิวเตอร์ตอบนี้ ถือว่าเป็นคำตอบที่เหมือนกับที่ผู้เชี่ยวชาญจะตอบ |
fellowship | (เฟล'โลชิพ) n. ตำแหน่งผู้วิจัยในมหาวิทยาลัย, ตำแหน่งสมาชิกของสมาคมวิชาการ, ความสัมพันธ์ของมนุษย์, มิตรภาพ, การคบหา, ความเป็นมิตร, สมาคมของบุคคลที่มีอาชีพ, รสนิยม, บริษัท, กลุ่มนักวิจัยในมหาวิทยาลัย. vt. รับเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมหรือกลุ่ม. vi. ร่วมเป็นสมาชิกของสมาค |
fencer | n. ผู้ล้อมรั้ว, ผู้ฟันดาบ, นักดาบ, ม้าที่ได้รับการฝึกฝนกระโดดข้ามรั้ว, นักวิ่งกระโดดข้ามเครื่องกีดขวาง, ผู้มีอาชีพซ่อมแซมและสร้างรั้ว |
fishery | (ฟิช'เชอรี) n. อาชีพการประมง, ท่าปลา, เทคนิคการเลี้ยงปลา, เทคนิคการจับปลา, สิทธิในการจับปลา, สัมปทานในการจับปลา |
fourth estate | ฐานันดรที่ 4 (นักหนังสือพิมพ์, อาชีพนักหนังสือพิมพ์), Syn. press |
fraternity | (ฟระเทอ'นิที) n. องค์การหรือสมาคมเชื่อมความสัมพันธ์ฉันพี่น้อง, บุคคลในกลุ่มอาชีพเดียวกัน, ความเป็นพี่เป็นน้อง |
geisha | (เก'ชะ) n. หญิงญี่ปุ่นที่มีอาชีพร้องเพลง เต้นรำและบริการผู้ชาย, หญิงเกอิชา |
gig | (กิก) n. ฉมวก, ขอ, ตะขอ, อาชีพ v. กระตุ้น, ปลุกเร้า, แทง |
gleeman | (กลี'มัน) n. นักร้องอาชีพที่เที่ยวเดินไปมา |
gravy train | อาชีพหรืองานที่เบา, โอกาสได้รับผลประโยชน์หรือผลกำไรอย่างมากโดยไม่ต้องลำบาก |
guild | (กิลดฺ) n. สมาคม, สมาคมอาชีพ, องค์การ, องค์การอาชีพ, สหภาพ, ประเภท, กลุ่ม |
guild socialism | n. ระบบสังคมที่นิยมสมาคมอาชีพ, See also: guild socialist n. |
guildship | (กิลดฺ'?ิพ) n. สมาคมอาชีพ, สมาคม, สมาชิกภาพของสมาคมอาชีพ -S guild |
guildsman | (กิลดซ'มัน) n. สมาชิกของสมาคมอาชีพ หรือสมาคม, Syn. gildsman |
hairdressing | n. การตัดหรือแต่งผมสตรี, อาชีพตัดผม, แบบทรงผม, การแต่งผม, วิธีทำผม, Syn. hairdo, coiffure |
hoofer | (ฮูฟ'เฟอะ) n. นักเต้นรำอาชีพ |
interest | (อิน'เทอริสทฺ) n. ความสนใจ, เรื่องที่น่าสนใจ, บุคคลที่น่าสนใจ, ผลประโยชน์, สิทธิตามกฎหมาย, ลักษณะสำคัญ, ดอกเบี้ย, อาชีพ. vt. กระตุ้นความสนใจ, เกี่ยวข้อง, นำเข้ามาร่วม, Syn. share, profit, attraction, attract, arouse |
jargon | (จาร์'กอน) { jargoned, jargoning, jargons } n., v. (พูด) ภาษาเฉพาะอาชีพ, คำพูดที่ไร้สาระ, คำ, พูดที่ทำให้เข้าใจยาก, ภาษาผสมผสาน |
job holder | n. ผู้มีงานทำ, ผู้มีอาชีพ, ข้าราชการ |
job hopping | n. การเปลี่ยนอาชีพ, การเปลี่ยนงาน |
jockey | (จอค'คี) n. นักขี่ม้าแข่งอาชีพ, คนขี่ม้าแข่ง, คนนำทาง vt. ขี่ม้าแข่ง, นำร่อง, จัดการ, โกง, หลอกลวง, โยกย้ายพลิกแพลง vi. หาผลประโยชน์ด้วยการพลิกแพลงหลอกลวง, โกง, Syn. plot, scheme |
labor | (เล'เบอะ) { labo (u) red, labo (u) ring, labo (u) rs } n. แรงงาน, ใช้แรงงาน, งาน, อาชีพ, ความอุตสาหะ, ความเจ็บปวดและความพยายามในการคลอดลูก, ระยะเวลาในการคลอดลูกดังกล่าว, กรรมกร, ฝ่ายกรรมกร. v. ทำงาน, พยายาม, กระทำด้วยความลำบาก, คลอดลูก, ไปข้างหน้าด้วยความลำบาก, พากเพียร. adj. เ |
labour | (เล'เบอะ) { labo (u) red, labo (u) ring, labo (u) rs } n. แรงงาน, ใช้แรงงาน, งาน, อาชีพ, ความอุตสาหะ, ความเจ็บปวดและความพยายามในการคลอดลูก, ระยะเวลาในการคลอดลูกดังกล่าว, กรรมกร, ฝ่ายกรรมกร. v. ทำงาน, พยายาม, กระทำด้วยความลำบาก, คลอดลูก, ไปข้างหน้าด้วยความลำบาก, พากเพียร. adj. เ |
Nontri Dictionary
authorship | (n) อาชีพการประพันธ์ |
avocation | (n) งาน, การงาน, อาชีพ, งานอดิเรก, การทำมาหากิน |
business | (n) ธุรกิจ, การงาน, กิจธุระ, การค้า, อาชีพ |
calling | (n) อาชีพ, การเรียกร้อง, การเยี่ยมเยียน, การไปมาหาสู่ |
career | (n) อาชีพ, งานการ, การวิ่งเต้น |
career | (vi) วิ่งเต้น, ปลิว, ประกอบอาชีพ |
employment | (n) การงาน, อาชีพ, การจ้าง, การว่าจ้าง |
gild | (n) สมาคมอาชีพ, สมาคม, สหภาพ, กลุ่ม, องค์การ |
guild | (n) สมาคมอาชีพ, สมาคม, สหภาพ, กลุ่ม, องค์การ |
livelihood | (n) การทำมาหากิน, อาชีพ, การดำรงชีวิต |
living | (n) การดำเนินชีวิต, มนุษย์, อาชีพ, การอยู่ |
occupation | (n) อาชีพ, การงาน, การยึดครอง |
profess | (vt) แสดงตัว, ประกาศ, ประกอบอาชีพ, นับถือ, ยอมรับ |
profession | (n) อาชีพ, วิชาชีพ, การปฏิญาณตัว, การแสดงตัว, การยอมรับ |
professional | (adj) ในวิชาชีพ, เป็นอาชีพ, เชี่ยวชาญ |
professionally | (adv) เป็นอาชีพ, โดยอาชีพ |
pursuit | (n) การติดตาม, การแสวงหา, การงาน, อาชีพ, การดำเนินตาม |
teaching | (n) การสอน, อาชีพครู |
vocation | (n) อาชีพ |
vocational | (adj) เกี่ยวกับอาชีพ |
workhouse | (n) สถานสงเคราะห์, สถานฝึกอาชีพ, สถานดัดสันดาน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
careers guidance | การแนะนำเกี่ยวกับอาชีพ, Syn. careers advice |
excavation | (n) อาชีพ |
Hitman | [ひいとまん] (n) นักฆ่ามืออาชีพที่ใช้ปืนเป็นอาวุธ |
Life Saver | [ชีพรักษิก (ชีบ-พะ-รัก-สิก)] (n) น. คือ ผู้ที่เรียนรู้วิชาการช่วยชีวิต และการช่วยเหลือบุคคลที่ประสพภัย ทางน้ำ โดยมิได้รับค่าตอบแทน หรือยึดเป็นอาชีพ life - ชีวิต หรือ ชีพ saver - ผู้รักษา หรือ ผู้ช่วยเหลือ |
occupational centre | ศูนย์ฝึกอาชีพ |
progamer | (n) โปรเกมเมอร์, ผู้ที่สามารถหาเงินได้จากการเล่นเกมคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพ โดยส่วนมากอาชีพนี้จะอยู่ในโซนยุโรปและประเทศเกาหลี ซึ่งมีทัวร์นาเมนท์การแข่งขันเกมคอมพิวเตอร์อย่างจริงจัง อาทิเช่น Starcraft ll , Warcraft lll เป็นต้น |
วิศวะเครื่องกล | อาชีพที่มีหน้าที่ออกแบบท่อน้ำ ท่อแอร์ |
วิศวะเครื่องกล | อาชีพที่มีหน้าที่ออกแบบท่อน้ำ ท่อแอร์ |
Longdo Approved JP-TH
球団 | [きゅうだん, kyuudan] (n) ทีมเบสบอลอาชีพ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
職業 | [しょくぎょう, shokugyou] อาชีพ |
舞台 | [ぶたい, butai] (n) สเทจฺ) n. เวที, เวทีละคร, ศิลปะละคร, ร้าน, แท่น, รถม้าโดยสาร, ระยะการเจริญเติบโต, ตอน, ระยะ, สมัย, ช่วง, โป๊ะ, ท่าเรือพื้นราบ, ชั้น, ขั้น, ขั้นบันได vt. แสดงละคร, นำขึ้นแสดง -Phr. (the stage อาชีพการแสดงละคร) |
職種 | [やくしゅ, yakushu] (n) ประเภทงาน, ประเภทอาชีพ |
演技 | [えんぎ, engi] (n) (แอค' ทิง) adj., n. รักษาการ, ว่าที่, สำหรับการแสดง, เหมาะแก่การแสดง, อาชีพการแสดง, ศิลปะการแสดง, S. officiating, substituting, deputy ###A. permanent) |
先生 | [せんせい, sensei] (n) คุณครู อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลากล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) |
教師 | [きょうし, kyoushi] (n) คุณครู อาจารย์ ผู้สอน (เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) |
先生 | [せんせい, sensei] (n) คุณครู, อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลาจะกล่าวถึง อาชีพของตัวเอง) |
教師 | [きょうし, kyoushi] (n) คุณครู, อาจารย์, ผู้สอน (ใช้เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) |
先生 | [せんせい, sensei, sensei , sensei] (n) คุณครู, อาจารย์ (ไม่ใช้คำนี้เวลากล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) |
教師 | [きょうし, kyoushi, kyoushi , kyoushi] (n) คุณครู, อาจารย์, ผู้สอน, (ใช้คำนี้เมื่อกล่าวถึงอาชีพของตัวเอง) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
本業 | [ほんぎょう, hongyou] TH: อาชีพหลัก EN: principal occupation |
Longdo Approved DE-TH
Beruf | (n) |der, pl. Berufe| อาชีพ |
beruflich | (adj,, adv) เป็นอาชีพ เช่น Was machen Sie beruflich? |
von | (prep) |+ D| โดย, ด้วย เช่น Was sind Sie von Beruf? แปลตรงๆ คือ คุณเป็นอะไรโดยอาชีพ = คุณทำงานอะไร |
Tätigkeit | (n) |die, pl. Tätigkeiten| งานหรือสิ่งที่กำลังทำอยู่(ไม่จำเป็นต้องเป็นงานประจำเสมอ) เช่น Zu seinem einzigartigem Lebenswerk gehöre neben seiner Schauspielerkarriere auch seine erfolgreiche Tätigkeit als Maler, Regisseur, und Autor. นอกเหนือจากอาชีพนักแสดงแล้ว ผลงานชิ้นเอกของเขายังมี งานที่ประสบความสำเร็จในฐานะจิตรกร ผู้กำกับการแสดง และนักประพันธ์อีกด้วย, Syn. Beschäftigung |
Philharmonie | (n) |die, pl. Philharmonien| วงดนตรีคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยนักดนตรีอาชีพมากกว่า 80 คน จนถึงขนาด 100 กว่าคน ซึ่งสามารถบรรเลงเพลงคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องดนตรีครบทุกชนิดได้ (ในสมัยก่อนหมายถึงวงดนตรีที่นักดนตรีอาสาเข้ามาเล่นดนตรีโดยไม่จำเป็นต้องได้รับค่าตอบแทน แต่ในปัจจุบันความหมายได้กลายเป็นความหมายเดียวกับ symphony orchestra โดยนักดนตรีในวง philharmonic orchestra ได้กลายเป็นนักดนตรีอาชีพที่ได้รับค่าตอบแทนประจำจากวง) |
Fachoberschule | (n) |die, pl.Fachoberschulen| สถาบันวิชาชีพ, สถานศึกษาด้านอาชีพหรือโรงเรียนอาชีวะซึ่งเทียบเท่ากับโรงเรียนมัธยมปลาย จบไปได้ประกาศนียบัตรเป็น Fachhochschulreife |
Beschäftigung | (n) |die, pl. Beschäftigungen| อาชีพ, การงาน, การจ้างงาน เช่น Insgesamt blieben in Deutschland aber 4, 53 Millionen Menschen ohne Beschäftigung., See also: Beruf, Job, Berufstätigkeit, Syn. Arbeit |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
philharmonic orchestra | (n) วงดนตรีคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ประกอบด้วยนักดนตรีอาชีพมากกว่า 80 คน จนถึงขนาด 100 กว่าคน ซึ่งสามารถบรรเลงเพลงคลาสสิคขนาดใหญ่ที่ต้องใช้เครื่องดนตรีครบทุกชนิดได้ (ในสมัยก่อนหมายถึงวงดนตรีที่นักดนตรีอาสาเข้ามาเล่นดนตรีโดยไม่จำเป็นต้องได้รับค่าตอบแทน แต่ในปัจจุบันความหมายได้กลายเป็นความหมายเดียวกับ symphony orchestra โดยนักดนตรีในวง philharmonic orchestra ได้กลายเป็นนักดนตรีอาชีพที่ได้รับค่าตอบแทนประจำจากวง), See also: chamber orchestra, Syn. symphony orchestra |
Longdo Approved FR-TH
enseignement, -s | (n) (scolaire)การเรียนการสอน, (profession)อาชีพสอน , (lecon)บทเรียน |
Longdo Unapproved FR-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
professional | (n) มืออาชีพ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.205 seconds, cache age: 0.484 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม