345 ผลลัพธ์ สำหรับ *อักเสบ*
ภาษา
หรือค้นหา: อักเสบ, -อักเสบ-Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
tendinitis | เอ็นอักเสบ, See also: S. tendonitis |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
อักเสบ | (v) inflame, See also: swell, Example: การแพ้วัสดุที่ใช้เย็บแผลอาจทำให้ร่างกายเกิดปฏิกริยา แผลเน่า บวม อักเสบ เป็นเหตุให้แผลมีขนาดใหญ่ขึ้น, Thai Definition: มีพิษกำเริบเนื่องจากแผล |
ตับอักเสบ | (n) hepatitis, Example: เขาตาเหลืองเพราะเขาเป็นตับอักเสบ, Thai Definition: มีอาการเป็นพิษหรือเป็นโรคที่ตับ |
ตับอักเสบ | (n) hepatitis, Example: เขาตาเหลืองเพราะเขาเป็นตับอักเสบ, Thai Definition: มีอาการเป็นพิษหรือเป็นโรคที่ตับ |
ไซนัสอักเสบ | (n) sinusitis, Example: สารก่อภูมิแพ้อาจเป็นสาเหตุทำให้เกิดไซนัสอักเสบได้ |
หลอดลมอักเสบ | (n) bronchitis, Example: หลอดลมอักเสบแบบเฉียบพลัน มักเกิดจากการติดเชื้อ เช่น ไวรัส แบคทีเรีย โดยอาจติดต่อจากผู้อื่นหรือติดต่อโดยทางอากาศที่หายใจ, Thai Definition: การเกิดการระคายเคืองและบวมของท่อทางเดินอากาศที่ทำหน้าที่เชื่อมปอดกับหลอดคอ |
โรคตับอักเสบ | (n) hepatitis, Example: โรคตับอักเสบจากเชื้อไวรัสเป็นโรคที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการดีซ่าน |
โรคจมูกอักเสบ | (n) rhinitis, Example: ฝุ่นบ้านเป็นสารก่อภูมิแพ้ ที่ทำให้เกิดโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้ได้ |
โรคไซนัสอักเสบ | (n) sinusitis, Syn. โรคแพ้อากาศ, Example: โรคไซนัสอักเสบเฉียบพลัน หรือเรื้อรัง ที่ไม่ได้รับการรักษา ปล่อยปละละเลย อาจจะทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนได้ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ไขสันหลังอักเสบ | น. โรคโปลิโอ. |
อักเสบ | ว. มีพิษกำเริบเนื่องจากแผลเป็นต้น |
อักเสบ | มีปฏิกิริยาตอบสนองป้องกันเฉพาะที่ชนิดเฉียบพลัน มีอาการปวด บวม แดง ร้อน และอาจมีไข้ เช่น ข้ออักเสบเฉียบพลัน, ชนิดเรื้อรัง การดำเนินโรคเป็นไปช้า ๆ ไม่รุนแรง และมักมีเนื้อพังผืดเกิดขึ้น เช่น ข้ออักเสบเรื้อรัง. |
อักเสบ | ก. เกิดปฏิกิริยาตอบสนองป้องกันเฉพาะที่. |
กุ้งยิง | น. ฝีหัวเล็ก ๆ ซึ่งเกิดจากการอักเสบที่ต่อมขอบตา. |
ขยุ้มตีนหมา | น. ชื่อโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง มีพิษอักเสบออกเป็นเม็ดผื่นดวง ๆ. |
คางทูม | น. โรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อไวรัสทำให้ต่อมนํ้าลายบริเวณใต้หูอักเสบแล้วบวม. |
คุ่น | น. ชื่อแมลงในสกุล Simuliumวงศ์ Simuliidae ขนาดเล็ก มีความยาว ๒-๔ มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตัวป้อมสีดำ มีปีกใสค่อนข้างกว้าง ๑ คู่ มักพบบินเป็นกลุ่มเวลาพลบค่ำหรือเช้ามืดบริเวณลำธารน้ำไหล ดูดกินเลือดคนและสัตว์ ทำให้ผิวหนังบวมแดง ถ้าเป็นมากจะอักเสบจนเป็นหนอง เช่น ชนิด S. nigrogilrum Summers พบทางภาคเหนือ, บึ่ง ปึ่ง หรือ ริ้นดำ ก็เรียก. |
งูสวัด | น. โรคที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง มีอาการอักเสบอย่างเฉียบพลันที่ปมประสาทไขสันหลัง และพุเป็นเม็ดพองตามผิวหนังเป็นทางยาวพาดขวางลำตัวเป็นต้น ทำให้ปวดแสบปวดร้อน. |
ตาแฉะ | น. ตาที่อักเสบมีน้ำตาคลออยู่เสมอ, โดยปริยายหมายถึงใช้สายตามาก เช่น อ่านหนังสือจนตาแฉะ. |
ตาแดง | น. โรคเยื่อหุ้มลูกตาอักเสบ. |
น้ำหนวก | น. นํ้าที่อยู่ในช่องหูซึ่งมีอาการอักเสบ มีกลิ่นเหม็น อาจมีลักษณะใส เป็นมูกข้นหรือเป็นหนอง. |
บวม | ก. อาการที่เนื้ออูมหรือนูนขึ้นเพราะอักเสบหรือฟกชํ้าเป็นต้น. |
บิด ๒ | น. โรคลำไส้ใหญ่อักเสบ มีอาการปวดมวนและอุจจาระเป็นมูกเลือด. |
ปอดชื้น | น. การอักเสบของหลอดลมที่มีเสมหะอยู่ด้วย ทางแพทย์หมายถึง การคั่งของเลือดในปอดเนื่องจากการอักเสบ เป็นช่องทางให้เกิดปอดบวมได้. |
ปอดบวม | น. ปอดอักเสบเนื่องจากเชื้อโรค. |
โปลิโอ | น. โรคกล้ามเนื้อลีบและอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต เพราะประสาทไขสันหลังอักเสบเนื่องจากเชื้อไวรัสประเภทหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า โปลิโอไวรัส, โรคไขสันหลังอักเสบ ก็เรียก. |
พิษสุนัขบ้า | (พิด-) น. โรคติดเชื้อไวรัสของระบบประสาท ติดต่อจากนํ้าลายของสุนัขหรือแมวที่เป็นโรคนี้ ผู้ป่วยมีอาการเนื่องจากสมองอักเสบ มีไข้ เอะอะ ซึม กลืนอาหารลำบากโดยเฉพาะนํ้า ถึงตายเกือบทุกรายในระยะเวลาประมาณ ๑ สัปดาห์, โรคกลัวนํ้า ก็เรียก. |
มาน ๑ | น. ชื่อโรคจำพวกหนึ่ง เกิดได้หลายสาเหตุ เช่น มีถุงน้ำเกิดที่เยื่อบุช่องท้อง การอุดกั้นหลอดเลือดดำหรือทางเดินของน้ำเหลือง ตับแข็ง ลิ้นหัวใจพิการ ไตอักเสบเรื้อรัง ทำให้มีน้ำสีเหลืองใสอยู่ในช่องท้อง อาจมีเพียงเล็กน้อยหรือมากถึง ๑๕-๒๐ ลิตร เป็นเหตุให้หน้าท้องโป่งพองจนเห็นได้ชัด น้ำหนักเพิ่ม แน่นท้อง ท้องผูก เบื่ออาหาร หายใจลำบาก เท้าบวม เป็นต้น. |
รากสาดน้อย | น. โรคติดเชื้อแบคทีเรีย Salmonella typhi มีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ ซึม และทำให้ลำไส้อักเสบและเป็นแผล ถ้าร้ายแรง ลำไส้จะทะลุและมีเลือดออกมากับอุจจาระ, เรียกโรคที่เกิดจากการติดเชื้อดังกล่าวนี้ ว่า ไข้รากสาดน้อย, เรียกโรคที่คล้ายกัน แต่อาการรุนแรงน้อยกว่า เกิดจากเชื้อ Salmonella paratyphi ว่า ไข้รากสาดเทียม. |
ละบอง | น. เม็ดตุ่ม ๆ เกิดตามผิวเนื้อด้วยพิษร้อนหรือพิษอักเสบ. |
ลำเสา | น. ชื่อฝีชนิดหนึ่ง ขึ้นเป็นลำยาว ไม่มีหัว เป็นไตแข็ง ทำให้มีอาการอักเสบ เป็นไข้ ปวด อ่อนเพลีย มักขึ้นตามขาและหลัง. |
ลำบอง | น. เม็ดตุ่มที่เกิดตามผิวเนื้อด้วยพิษร้อนหรือพิษอักเสบ. |
สิวหัวช้าง | น. สิวที่เป็นตุ่มใหญ่ มีสีแดง เพราะอักเสบค่อนข้างรุนแรงจากเชื้อแบคทีเรีย อาจมีหนองและปวด มักขึ้นบริเวณแก้มและจมูก. |
ไส้เดือน ๒ | น. ชื่อพยาธิหลายชนิด ในวงศ์ Ascaridae เป็นพยาธิตัวกลมขนาดใหญ่ ลำตัวสีขาวหม่น หัวแหลมท้ายแหลม อาศัยอยู่ในทางเดินอาหารของมนุษย์และสัตว์ ถ้ามีมากจะทำให้เกิดลำไส้อักเสบหรือลำไส้อุดตัน เช่น ชนิด Ascaris lumbricoides Linn. พบในลำไส้ของคน, ชนิด A. suum Goeze พบในลำไส้หมู. |
หวัด ๑ | น. อาการที่เยื่อของอวัยวะที่เป็นเครื่องหายใจอักเสบ มักทำให้เสียงแห้งและนํ้ามูกไหล. |
หืด | น. ชื่อโรคหลอดลมอักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง เกิดจากหลอดลมตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างเฉียบพลันและรุนแรงกว่าที่เกิดขึ้นในคนทั่วไป ทำให้หลอดลมตีบแคบลงจนเกิดอาการหายใจไม่สะดวก, หืดหลอดลม ก็เรียก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
primary peritonitis | เยื่อบุช่องท้องอักเสบปฐมภูมิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
primary pleurisy | เยื่อหุ้มปอดอักเสบปฐมภูมิ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericholangitis; periangiocholitis | การอักเสบรอบท่อน้ำดี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericholecystitis | การอักเสบรอบถุงน้ำดี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericolpitis; perivaginitis | เนื้อเยื่อรอบช่องคลอดอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericoronitis | ฝาเหงือกอักเสบ [ทันตแพทยศาสตร์๑๓ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pericoxitis | การอักเสบรอบข้อสะโพก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
peripancreatitis | เนื้อเยื่อรอบตับอ่อนอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periphacitis; periphakitis | การอักเสบรอบถุงหุ้มแก้วตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periphakitis; periphacitis | การอักเสบรอบถุงหุ้มแก้วตา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paracystitis | เนื้อเยื่อรอบกระเพาะปัสสาวะอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paradentitis; periodontitis | โรคปริทันต์อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panarthritis | ๑. การอักเสบทุกข้อ๒. ข้ออักเสบทุกส่วน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
posthitis; acrobystitis | หนังหุ้มปลาย(องคชาต)อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panosteitis; panostitis; periosteomyelitis | กระดูกอักเสบทุกส่วน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panostitis; panosteitis; periosteomyelitis | กระดูกอักเสบทุกส่วน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
panotitis | หูอักเสบทุกส่วน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyosalpingitis | ท่อนำไข่อักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyosalpingo-oophoritis; pyosalpingo-oothecitis | ท่อนำไข่และรังไข่อักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyosalpingo-oothecitis; pyosalpingo-oophoritis | ท่อนำไข่และรังไข่อักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
post-traumatic spondylitis | กระดูกสันหลังอักเสบเหตุบาดเจ็บ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phalangitis | กระดูกนิ้วอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perioothecitis; paroophoritis; perioophoritis; periovaritis | เยื่อหุ้มรังไข่อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
perioothecosalpingitis; perioophorosalpingitis | เยื่อหุ้มรังไข่และท่อนำไข่อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periophthalmia; parophthalmia; periophthalmitis | เนื้อเยื่อรอบตาอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periophthalmitis; parophthalmia; periophthalmia | เนื้อเยื่อรอบตาอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
periorbititis | เยื่อบุเบ้าตาอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phallitis; penitis; priapitis | องคชาตอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumonopleuritis; pneumopleuritis | ปอดและเยื่อหุ้มอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pharyngorhinitis; nasopharyngitis | คอหอยส่วนจมูกอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericarditis | ๑. ถุงหุ้มหัวใจอักเสบ๒. เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericarditis, adhesive | ถุงหุ้มหัวใจอักเสบยึดติด [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pericarditis, constrictive | เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบรัดตีบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelitis, suppurative | กรวยไตอักเสบเป็นหนอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelitis, urogenous | กรวยไตอักเสบเหตุปัสสาวะ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
plexitis | ข่าย (ประสาท, หลอดเลือดดำ, หลอดน้ำเหลือง) อักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachyperiostitis | เยื่อหุ้มกระดูกอักเสบหนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachyperitonitis | เยื่อบุช่องท้องอักเสบหนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachypleuritis | เยื่อหุ้มปอดอักเสบหนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachysalpingitis; salpingitis, mural; salpingitis, parenchymatous | ท่อนำไข่อักเสบหนา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachyvaginalitis | เยื่อหุ้มอัณฑะหนาเหตุอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pachyvaginitis | ช่องคลอดหนาเหตุอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phacocystitis; phacohymenitis | ถุงหุ้มแก้วตาอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phacohymenitis; phacocystitis | ถุงหุ้มแก้วตาอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
polioencephalitis | ๑. โรคเนื้อเทาสมองอักเสบ๒. โรคโปลิโอสมอง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
parapneumonia | โรคเสมือนปอดอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pneumopleuritis; pneumonopleuritis | ปอดและเยื่อหุ้มอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
paranephritis | เนื้อเยื่อรอบไตอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pleuritis; pleurisy | เยื่อหุ้มปอดอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pleuritogenous | -ทำให้เกิดเยื่อหุ้มปอดอักเสบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Rheumatoid arthritis | โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์, Example: <p>โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์ (rheumatoid arthritis) เป็นโรคที่ทำให้เกิดการอักเสบทั่วร่างกาย เกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้ข้อ เยื่อบุข้อ และเส้นเอ็นรอบๆ ข้อของผู้ป่วยเกิดอาการอักเสบ เจ็บปวด จนเคลื่อนไหวลำบาก และอาจถึงขั้นพิการได้ และยังพบความผิดปกตินอกข้อที่เป็นได้กับอวัยวะต่างๆ ทั่วร่างกาย เช่น การอักเสบของเยื่อหุ้มปอด เยื่อหุ้มหัวใจ <p> <p>สาเหตุ<br/> ถึงแม้สาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดโรคยังไม่ทราบแต่เชื่อว่าเกิดจากหลายสาเหตุประกอบกัน ได้แก่ พันธุกรรม ฮอร์โมน สิ่งแวดล้อม และเชื้อโรค<br/> - พันธุกรรม เช่น เด็กที่เกิดจากพ่อแม่ที่ป่วยเป็นโรคจะมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้สูงกว่าคนทั่วไปประมาณ 16 เท่า<br/> - ฮอร์โมน เช่น เพศหญิงมีโอกาสป่วยเป็นโรคได้มากกว่าเพศชายหลายเท่า<br/> - สิ่งแวดล้อม เช่น อากาศและความเป็นอยู่ในเมืองอาจส่งผลต่อการเกิดและความรุนแรงของโรค<br/> - เชื้อโรค เช่น เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรค เช่น ไวรัสเอ็ปสไตน์-บารร์ (Epstein-Barr virus : EBV) ไวรัสเริม (herpes virus) เชื้อแบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรค เช่น เชื้อไมโคแบคทีเรีย (mycobacteria)<br/> <p> <p>อาการ<br/> ข้อต่างๆ ของผู้ป่วยจะมีอาการอักเสบ บวมแดง และฝืดแข็ง ซึ่งอาจรุนแรงจนทำให้เกิดข้อพิการในเวลาต่อมา เช่น ข้อนิ้วมืองอพับผิดรูป ข้อเท้าบวมมีนิ้วเท้ากระดกขึ้น นอกจากเกิดอาการอักเสบกับข้อต่างๆ รวมถึงมีอาการตัวร้อน น้ำหนักตัวลด และกล้ามเนื้อลีบ ยังอาจมีอาการอักเสบเกิดขึ้นนอกข้อกับอวัยวะต่างๆ เช่น มีปุ่มรูมาทอยด์ซึ่งเป็นปุ่มก้อนตามผิวหนังตรงตำแหน่งกดทับต่างๆ หลอดเลือดอักเสบ เยื่อหุ้มปอดอักเสบ เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ ภาวะโลหิตจาง <p> <p>การวินิจฉัย<br/> อาศัยการตรวจร่างกายหาอาการอักเสบของข้อต่างๆ รวมถึงปุ่มรูมาทอยด์ สารรูมาทอยด์แฟกเตอร์ในเลือด การเอกซเรย์เพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของกระดูก ประวัติของญาติ <p> <p>การรักษา<br/> ขั้นตอนในการรักษา<br/> 1. การวินิจฉัยโรคเร็ว<br/> 2. การประเมินระดับความรุนแรงของโรค<br/> 3. การประเมินว่ามีองค์ประกอบของการพยากรณ์โรคดีหรือไม่ดี<br/> 4. การรักษาที่เหมาะสมกับผู้ป่วย สามารถจำแนกการรักษาได้เป็น 2 รูปแบบ คือ<br/> - การรักษาที่ไม่ใช้ยา การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเกี่ยวกับโรคและแผนการรักษา การออกกำลังกายควรเริ่มจากการออกกำลังกายแบบไอโซเมตริก (isometric exercise) ซึ่งเป็นการออกกำลังกายแบบเกร็งกล้ามเนื้อโดยไม่มีการเคลื่อนไหวส่วนใดๆ ของร่างกาย เพื่อให้อาการข้ออักเสบดีขึ้นแล้วจึงเปลี่ยนเป็นการออกกำลังกายแบบไอโซโทนิก (isotonic exercise) ซึ่งเป็นการออกแรงโดยต่อสู้กับแรงต้านทาน ทำให้กล้ามเนื้อมีการหดตัวและคลายตัวและข้อต่อมีการเคลื่อนไหว การนอนพัก 6-8 ชั่วโมงในเวลากลางคืนและ 1 ชั่วโมงในตอนบ่ายจะช่วยให้อาการอ่อนเพลียดีขึ้น กายภาพบำบัด การผ่าตัดจะทำในกรณีผู้ป่วยมีโครงสร้างข้อเสียหาย<br/> - การรักษาโดยใช้ยา อาจให้ยาต้านการอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์เพื่อลดอาการปวดข้อ ข้ออักเสบ หรือให้ยาต้านรูมาทิซึมที่ช่วยชะลอการดำเนินโรค ทำให้โรคดีขึ้น หรือในกรณีที่เป็นโรคข้ออักเสบในระดับรุนแรงอาจให้ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ถึงแม้อาจมีผลข้างเคียงในระยะยาว <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> สุรศักดิ์ นิลกานุวงศ์. (2553). โรคข้ออักเสบรูมาทอยด์. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 35, หน้า 216-241). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Periodonntitis | โรคปริทันต์อักเสบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis G virus | ไวรัสตับอักเสบจี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Anti-inflammatory agent | สารต้านการอักเสบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis | โรคตับอักเสบ, Example: <p>โรคตับอักเสบ (hepatitis) เป็นโรคที่เซลล์ของตับมีการอักเสบเกิดขึ้น เกิดจากหลายสาเหตุ เช่น เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย การดื่มสุราเป็นประจำ พิษของยาบางชนิด แต่การติดเชื้อไวรัสเป็นสาเหตุของโรคตับอักเสบที่พบบ่อยที่สุด ผู้ป่วยโรคตับอักเสบจะมีอาการเจ็บแน่นบริเวณตับ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เหนื่อยง่าย ผู้ป่วยบางรายมีอาการไข้ต่ำ คลื่นไส้ อาเจียน ต่อมาผู้ป่วยบางรายจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง หลังจากนั้นอาการต่างๆ จะลดน้อยลง ผู้ป่วยเข้าสู่ระยะพักฟื้น โดยอาจกินเวลานานหลายสัปดาห์หรือเป็นเดือนกว่าจะหายเป็นปกติ โรคตับอักเสบชนิดเฉียบพลันเป็นโรคตับอักเสบที่มีระยะเวลาการดำเนินโรคไม่นาน ผู้ป่วยมีอาการน้อยลงและหายขาดภายในเวลาไม่เกิน 6 เดือน ส่วนโรคตับอักเสบชนิดเรื้อรังเป็นโรคตับอักเสบที่มีการดำเนินโรคนานกว่า 6 เดือน <p> <p>โรคตับอักเสบ เอ<br/> มีไวรัสตับอักเสบ เอ เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการ เมื่อหายจากการติดเชื้อแล้วโดยไม่ว่าจะเกิดอาการของโรคหรือไม่ก็ตามก็จะหายขาด ไม่มีภาวะการเป็นพาหะของโรคตามมา จะไม่เป็นโรคตับอักเสบ เอ อีก เนื่องจากเกิดภูมิคุ้มกันตลอดชีวิต <p> <p>โรคตับอักเสบ บี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ บี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยทางเข็มฉีดยา การถ่ายเลือด การได้รับผลิตภัณฑ์จากเลือด ติดต่อจากมารดาสู่ทารก ทางเพศสัมพันธ์ ผู้ติดเชื้อบางรายไม่แสดงอาการ บางรายแสดงอาการของโรคตับอักเสบอย่างเฉียบพลัน ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะมีอาการน้อยลงและหายภายใน 4-6 สัปดาห์ ผู้ป่วยส่วนน้อยเป็นโรครุนแรงจนถึงขั้นเสียชีวิต และผู้ป่วยบางรายกลายเป็นโรคตับอักเสบ บี เรื้อรัง ผู้เป็นพาหะมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นตับแข็งและมะเร็งตับตามมา <p> <p>โรคตับอักเสบ ซี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ ซี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการถ่ายเลือด ผู้ติดเชื้อส่วนใหญ่ไม่แสดงอาการหรืออาการที่เกิดขึ้นไม่รุนแรงจนต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล บางรายกลายเป็นพาหะเรื้อรังเกิดตับแข็งและมะเร็งตับตามมา <p> <p>โรคตับอักเสบ ดี<br/> ไวรัสตับอักเสบ ดี เป็นไวรัสที่ไม่สมบูรณ์ คือ ไม่สามารถติดเชื้อเพิ่มจำนวนในเซลล์ตับได้โดยลำพัง จะต้องติดเชื้อร่วมกับไวรัสตับอักเสบ บี ดังนั้นโรคตับอักเสบ ดี จึงมีวิธีการติดต่อเหมือนกับโรคตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ดี ทำให้เกิดโรคตับอักเสบรุนแรงกว่าเชื้ออื่นๆ และอาจมีการติดเชื้อเรื้อรัง แล้วมีโอกาสกลายเป็นตับแข็งในอัตราค่อนข้างสูง <p> <p>โรคตับอักเสบ อี<br/> มีไวรัสตับอักเสบ อี เป็นต้นเหตุ ติดต่อโดยการกินอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อนเชื้อ ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในวัยหนุ่มสาวถึงกลางคน หากหญิงมีครรภ์ป่วยเป็นโรคนี้จะมีอัตราการตายสูง ยังไม่พบว่าไวรัสตับอักเสบ อี ทำให้เกิดการติดเชื้อเรื้อรัง <br> <br>แหล่งข้อมูล<br> ประเสริฐ ทองเจริญ และ จันทพงษ์ วะสี. (2536). โรคตับอักเสบจากไวรัส. ในสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (เล่มที่ 17, หน้า 82-105). กรุงเทพฯ : โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Toxic hepatitis | ตับอักเสบจากพิษ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis, Viral | ตับอักเสบจากไวรัส [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis C | ตับอักเสบซี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Delta infection | ตับอักเสบดี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis B | ตับอักเสบบี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis E | ตับอักเสบอี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Hepatitis A | ตับอักเสบเอ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Tonsillitis | ทอนซิลอักเสบ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Anti-inflammatory agents | ยาต้านการอักเสบ [TU Subject Heading] |
Anti-inflammatory agents, Non-steroidal | ยาต้านการอักเสบ, ยาต้านการอักเสบกลุ่มไม่มีสเตอรอยด์ [TU Subject Heading] |
Anti-inflammatory agents, Steroidal | ยาต้านการอักเสบกลุ่มสเตอรอยด์ [TU Subject Heading] |
Appendicitis | ไส้ติ่งอักเสบ [TU Subject Heading] |
Arthritis | ข้ออักเสบ [TU Subject Heading] |
Arthritis, Psoriatic | ข้ออักเสบสะเก็ดเงิน [TU Subject Heading] |
Arthritis, Rheumatoid | ข้ออักเสบรูห์มาตอยด์ [TU Subject Heading] |
Cholecystitis | ถุงน้ำดีอักเสบ [TU Subject Heading] |
Chorioamnionitis | ถุงน้ำคร่ำอักเสบ [TU Subject Heading] |
Cystitis | กระเพาะปัสสาวะอักเสบ [TU Subject Heading] |
Cytomegalovirus retinitis | จอตาอักเสบจากเชื้อไซโตเมกาโลไวรัส [TU Subject Heading] |
Dacryocystitis | ถุงน้ำตาอักเสบ [TU Subject Heading] |
Dermatitis, Contact | ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส [TU Subject Heading] |
Dry socket | กระดูกเบ้าฟันอักเสบ [TU Subject Heading] |
Encephalitis | สมองอักเสบ [TU Subject Heading] |
Encephalitis viruses | ไวรัสสมองอักเสบ [TU Subject Heading] |
Encephalitis, Japanese | สมองอักเสบ จาแปนนีส บี [TU Subject Heading] |
Endocarditis | เยื่อบุหัวใจอักเสบ [TU Subject Heading] |
Endocarditis, Bacterial | เยื่อบุหัวใจอักเสบจากแบคทีเรีย [TU Subject Heading] |
Endometritis | เยื่อบุมดลูกอักเสบ [TU Subject Heading] |
Endophthalmitis | การอักเสบในลูกตา [TU Subject Heading] |
Fasciitis | พังผืดอักเสบ [TU Subject Heading] |
Fasciitis, Necrotizing | พังผืดอักเสบชนิดมีการตายของเนื้อเยื่อ [TU Subject Heading] |
Fasciitis, Plantar | พังผืดใต้ฝ่าเท้าอักเสบ [TU Subject Heading] |
Gastroenteritis | กระเพาะอาหารและลำไส้เล็กอักเสบ [TU Subject Heading] |
Gingivitis | เหงือกอักเสบ [TU Subject Heading] |
Hepacivirus | ไวรัสตับอักเสบซี [TU Subject Heading] |
Hepatitis | ตับอักเสบ [TU Subject Heading] |
Hepatitis A | ตับอักเสบเอ [TU Subject Heading] |
Hepatitis A virus | ไวรัสตับอักเสบเอ [TU Subject Heading] |
Hepatitis B | ตับอักเสบบี [TU Subject Heading] |
Hepatitis B surface antigens | แอนติเจนบนผิวเซลล์ของตับอักเสบบี [TU Subject Heading] |
Hepatitis B Vaccines | วัคซีนไวรัสตับอักเสบบี [TU Subject Heading] |
Hepatitis B virus | ไวรัสตับอักเสบบี [TU Subject Heading] |
Hepatitis B, Chronic | ตับอักเสบบีเรื้อรัง [TU Subject Heading] |
Hepatitis C | ตับอักเสบซี [TU Subject Heading] |
Hepatitis C, Chronic | ตับอักเสบซีเรื้อรัง [TU Subject Heading] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อักเสบ | [aksēp] (n) EN: inflammation FR: inflammation [ f ] |
อักเสบ | [aksēp] (v) EN: inflame ; swell FR: infecter ; envenimer |
หูตอนกลางอักเสบ | [hū tøn klāng aksēp] (n) EN: otitis media ; tympanitis FR: otite [ f ] |
ไข้ไขสันหลังอักเสบ | [khai khai sanlang aksēp] (n) EN: poliomyelitis FR: poliomyélite [ f ] ; polio (inf.) [ f ] |
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ | [kraphǿ patsāwa aksēp] (n) EN: cystisis FR: cystite [ f ] ; inflammation de la vessie [ f ] |
หลอดลมอักเสบ | [løtlom aksēp] (n, exp) EN: bronchitis FR: bronchite [ f ] |
ปอดอักเสบ | [pøt aksēp] (n) EN: pneumonia FR: pneumonie [ f ] |
โรคอักเสบ | [rōk aksēp] (n) EN: inflammation FR: inflammation [ f ] |
โรคข้อต่ออักเสบ | [rōk khøtø aksēp] (n, exp) EN: gout FR: goutte [ f ] ; tophus [ m ] |
โรคตับอักเสบ | [rōk tap aksēp] (n) EN: hepatitis FR: hépatite [ f ] |
ไส้ติ่งอักเสบ | [saiting aksēp] (n) EN: appendicitis FR: appendicite [ f ] |
ตาอักเสบ | [tā aksēp] (n) EN: sty ; stye FR: orgelet [ m ] |
ตับอักเสบ | [tap aksēp] (n) EN: hepatitis FR: hépatite [ f ] |
ต่อมอักเสบ | [tǿm aksēp] (n, exp) FR: adénite [ f ] |
ต่อมทอนซิลอักเสบ | [tǿm thønsin aksēp] (n) EN: tonsillitis FR: amygdalite [ f ] |
เยื่อบุตาอักเสบ | [yeūa bu tā aksēp] (n) EN: conjunctivitis FR: conjonctivite [ f ] |
Longdo Approved EN-TH
urticaria | ลมพิษ, ผิวหนังอักเสบ |
cystitis | (n) การอักเสบของกระเพาะปัสสาวะ, การที่กระเพาะปัสสาวะอักเสบ |
myositis | (n) อาการกล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรัง |
tendonitis | (n) เอ็นอักเสบ |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
angina | (n) โรคอักเสบที่ลำคอ |
angry | (adj) อักเสบ |
antiphlogistic | (adj) ที่ต้านการอักเสบ |
antiphlogistic | (n) ยาต้านหรือป้องกันการอักเสบ |
appendicitis | (n) ไส้ติ่งอักเสบ, Syn. inflamed appendix, ruptured appendix |
arthritis | (n) ภาวะข้อต่ออักเสบ, Syn. inflammation of a joint |
bronchitis | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
counterirritant | (n) ยาที่ใช้บรรเทาการอักเสบ |
dermatitis | (n) ผิวหนังอักเสบ, Syn. eczema |
encephalitis | (n) ภาวะสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส, See also: การอักเสบของสมองโดยการติดเชื้อไวรัส |
encephalomyelitis | (n) การที่สมองและไขสันหลังอักเสบ, See also: การอักเสบของสมองและไขสันหลัง |
endocarditis | (n) การอักเสบของเนื้อเยื่อบุโพรงหัวใจ |
gastritis | (n) กระเพาะอาหารอักเสบ (ทางการแพทย์) |
gastro-enteritis | (n) ภาวะกระเพาะและลำไส้อักเสบจากอาจียนหรือท้องร่วงรุนแรง |
gingivitis | (n) โรคเหงือกอักเสบ (ทางแพทยศาสตร์) |
gout | (n) โรคข้อต่ออักเสบ, See also: เก๊าท์, Syn. arthritis |
hepatitis | (n) โรคตับอักเสบ |
inflamed | (adj) อักเสบ, See also: บวม, ช้ำ, Syn. sore, irritated, infected |
inflammation | (n) การอักเสบ, See also: การติดเชื้อ, Syn. painfulness, soreness, rash |
inflammatory | (adj) เกี่ยวกับการอักเสบ, See also: ซึ่งกระตุ้นอารมณ์อย่างแรง, ที่ทำให้เดือดดาล, ที่ยั่วโทสะ, Syn. provocative, explosive |
laryngitis | (n) โรคกล่องเสียงอักเสบ |
mastitis | (n) การอักเสบของหัวนมและเต้านม |
mastoiditis | (n) อาการอักเสบของบริเวณ mastoid |
meningitis | (n) เยื่อหุ้มสมองอักเสบ, Syn. encephalitis |
nephritis | (n) ภาวะไตอักเสบรุนแรง |
neuritis | (n) เส้นประสาทอักเสบ |
osteoarthritis | (n) โรคข้อกระดูกอักเสบ, Syn. arthritis |
otitis | (n) ภาวะหูอักเสบ |
penicillin | (n) ยาปฏิชีวนะ, See also: ยาแก้อักเสบ, ยารักษาการติดเชื้อ, ยาเพนนิซิลิน |
periodontitis | (n) เยื่อหุ้มฟันอักเสบ |
periodontology | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการรักษาเยื่อหุ้มฟันอักเสบ |
peritonitis | (n) เยื่อบุช่องท้องอักเสบ |
pharyngitis | (n) คอหอยอักเสบ |
phlebitic | (adj) ซึ่งเกี่ยวกับหลอดเลือดดำอักเสบ |
phlebitis | (n) โรคหลอดเลือดดำอักเสบ |
phlogistic | (adj) อักเสบ |
phrenitis | (n) กะบังลมอักเสบ |
pleurisy | (n) โรคเยื่อหุ้มปอดอักเสบ |
pyorrhea | (n) โรคเหงือกอักเสบ, See also: รำมะนาด |
quinsy | (n) โรคต่อมทอนซิลอักเสบ, Syn. tonsillitis |
raw | (adj) เจ็บแสบ (แผล), See also: ยังแสบ, ยังสด, อักเสบ, Syn. sore |
rheumatic | (adj) เกี่ยวกับโรคปวดตามข้อและกล้ามเนื้อ, See also: เกี่ยวกับโรคไขข้ออักเสบ, Syn. arthritic, gouty |
rheumatic | (n) ผู้ที่เป็นโรคไขข้ออักเสบ |
rheumatic fever | (n) โรคไขข้ออักเสบ |
rheumatism | (n) โรคไขข้ออักเสบ, See also: โรครูมาติซึ่ม, Syn. arthritis |
rheumatoid | (n) เหมือนโรคไขข้ออักเสบ |
rheumatoid arthritis | (n) โรคไขข้ออักเสบ |
rhinitis | (n) โรคเยื่อจมูกอักเสบ |
Saint Antony's fire | (n) โรคผิวหนังอักเสบหรือเนื้อตายเน่า |
sinusitis | (n) โพรงจมูกอักเสบ |
Hope Dictionary
acnitis | ผื่นนูนแบบอักเสบ แล้วเป็นแผลเล็กน้อย |
actinomycosis | (แอคทินโนไมโค' ซิส) โรคติดเชื้อและอักเสบในสัตว์และคน เนื่องจากปรสิตทำให้เกิดเป็นก้อนหนองโดยเฉพะารอบขากรรไกร., Syn. lumpy jaw -actinomycotic, adj. |
amphiblestritis | เรตินาอักเสบ |
angry | (แอง' กรี) adj. โกรธ, ฉุนเฉียว, อักเสบ, Syn. wrathful, irate |
antiphlogistic | (แอนทีโฟลจิส' ทิค) adj. ต้านการอักเสบ, ป้องกันการอักเสบ. -n. ยาต้านหรือป้องกันการอักเสบ (antiphlogistic) |
appendicitis | (อะเพนดิไซ'ทิส) n. ไส้ติ่งอักเสบ |
arbovirus | (อาร์บะไว'รัส) n. ชื่อเชื้อไวรัสที่มีแมลง เป็นพาหะนำโรคสมองอักเสบ, ไข้เหลือง, dengue fever |
arteritis | (อาร์เทอไร'ทิส) n. ภาวะเส้นโลหิตแดงอักเสบ (inflammation of an artery) |
arthritis | (อาร์ไธร'ทิส) n. ข้อต่ออักเสบ. |
basophils | เป็นเม็ดเลือดขาวที่มีแกรนูล มีจำนวนน้อยมากประมาณ 0-1.6 % มีหน้าที่ในการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เกี่ยวกับการอักเสบ มีความสำคัญต่อปฏิกริยา antigen antibody คือจะทำให้ basophils แตกออกแล้วปล่อย histamine ออกมา |
bronchitis | (บรองไค'ทิส) n. หลอดลมอักเสบ, See also: bronchitic adj. หลอดลมอักเสบ |
bronchopneumonia | n. ภาวะหลอดลมใหญ่และปอดอักเสบ |
bubo | (บิว'โบ) n. ภาวะต่อมน้ำเหลืองบวมและอักเสบโดยเฉพาะที่ไข่ดันหรือรักแร้, See also: buboed adj. bubonic adj. |
bubonic plague | n. กาฬโรคที่มีอาการต่อมน้ำเหลืองบวมและอักเสบ |
bunion | (บัน'เยิน) n. อาการเท้าบวมเนื่องจากถุงไขข้ออักเสบ, โรคตาปลาบนนิ้วเท้า |
cephalitis | n. สมองอักเสบ., Syn. encephalitis |
chilblain | (ชิล`เบลน) n. ภาวะมือและเท้าอักเสบ |
colitis | (คะไล'ทิส) { collaborated, collaborating, collaborates } n. ภาวะลำไส้ใหญ่อักเสบ, See also: colitic adj. ดูcolitis |
conjunctivitis | (คอนจังคฺทิไว'ทิส) n. เยื่อตาขาวอักเสบ |
coryza | (คะไร'ซะ) n. โรคหวัด, ภาวะเยื่อบุเมือกโพรงจมูกอักเสบ |
dermatitis | (เดอะมะไท'ทิส) n. โรคผิวหนังอักเสบ |
eczema | (เอค'ซะมะ, อิกซี'มะ) n. กลุ่มของภาวะอักเสบของโรคผิวหนังที่เป็นผื่นแดงโดยเฉพาะ และอาจเป็นตุ่มพุพองตกสะเก็ด คัน แสบ., See also: eczematous adj. ดูeczema |
encephalitis | (เอนเซฟฟะไล'ทิส) n. สมองอักเสบ, See also: encephalitic adj. ดูencephalitis |
encephalomyelitis | n. ภาวะสมองและไขสันหลังอักเสบ., See also: encephalomyelitic adj. |
endocarditis | โรคเยื่อบุหัวใจอักเสบ |
enteritis | n. โรคลำไส้อักเสบ |
fiery | (ไฟเออ'รี) adj. ซึ่งลุกเป็นไฟ, เป็นไฟ, ร้อนมาก, ซึ่งมีอารมณ์รุนแรง, เผ็ดร้อน, (ม้า) คะนอง, ติดไฟได้, อักเสบ, แสบร้อน., See also: fieriness n., Syn. flaming |
garget | (การ์'จิท) n. เต้านมอักเสบ (ในวัวควาย) ., See also: gargety adj. |
gastritis | (แกรสไทร'ทิส) n. กระเพาะอาหารอักเสบ (โดยเยื่อบุผิวกระเพาะอาหาร) |
gastroenteritis | n. กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ, See also: gastroenteritic adj. |
gingivitis | (จินจะไว'ทิส) n. โรคเหงือกอักเสบ |
glossitis | (โกลไซ'ทิส) n. ลิ้นอักเสบ., See also: glossitic adj |
heated | (ฮีท'ทิด) adj. อบอุ่น, ซึ่งทำให้ร้อน, ตื่นเต้น, อักเสบ, ดุเดือด., See also: heatedly adv. heatedness n., Syn. vehement |
hepatitis | n. โรคตับอักเสบ |
hodgkin's disease | โรคต่อมน้ำเหลืองอักเสบเรื้อรังและบวม |
inflame | (อินเฟลม') vi., vt. (ทำให้) ลุกเป็นไฟ, โกรธมาก, ร้อนเผา, มีอารมณ์รุนแรง, อักเสบ., See also: inflamer n., Syn. enflame |
inflammation | (อินฟละเม'เชิน) n. การอักเสบ, การติดไฟ, การลุกเป็นไฟ, การมีอารมณ์รุนแรง |
inflammatory | (อินแฟลม'มะทอรี) adj. เกี่ยวกับการอักเสบ, ซึ่งกระตุ้นอารมณ์อย่างแรง, ทำให้เดือดดาล, ยั่วโทสะ., See also: inflammatorily adv. |
irritate | (เออ'ริเทท) vt., vi. ทำให้ระคายเคือง, ทำให้ฉุนเฉียว, กวนประสาท, ทำให้อักเสบ., See also: irritator n., Syn. exasperate |
irritation | (เออริเท'เชิน) n. การทำให้ระคายเคือง, การยั่วโทสะ, การกวนประสาท, การทำให้ฉุนเฉียว, ความระคายเคือง, การอักเสบ |
laryngitis | (ลารนไจ'ทิส) n. โรคกล่องเสียงอักเสบ., See also: laryngitic adj. ดูlaryngitis |
mastitis | (แมสไท'ทิส) n. เต้านมอักเสบ, See also: mastitic adj. |
mastoiditis | (แมสทอยได'ทิส) n. ปุ่มกกหูของกระดูกขมับอักเสบ |
meningitis | (เมนนินไจ'ทิส) n. เยื่อmeninges (ดู) อักเสบ., See also: meningitic adj. |
miliaria | (มิลลิแอ'เรีย) n. โรคผิวหนังอักเสบรอบต่อมเหงื่อ |
nephritis | (นะไฟร'ทิส) n. ภาวะไตอักเสบ. |
neuritis | (นิวไร'ทิส) n. เส้นประสาทอักเสบ, See also: neuritic adj. pl. neuritides |
oophoritis | (โออะฟอไร'ทิส) n. รังไข่อักเสบ, มดลูกอักเสบ |
otitis | (โอไท'ทิส) n. ภาวะหูอักเสบ |
papule | (แพพ'พิว) n. ตุ่มเล็ก ๆ กลมแข็งบนผิวหนัง (มักอักเสบแต่ไม่มีหนอง), See also: papular adj. papulose adj. |
Nontri Dictionary
arthritis | (n) ข้อต่ออักเสบ |
bronchitis | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
colitis | (n) ลำไส้ใหญ่อักเสบ |
croup | (n) โรคหลอดลมอักเสบ |
inflammation | (n) โรคผื่นคัน, แผลอักเสบ, การติดไฟ |
pneumonia | (n) โรคปอดอักเสบ, โรคปอดบวม |
tonsilitis | (n) ต่อมน้ำลายอักเสบ, ต่อมทอนซิลอักเสบ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*ehnenentzündung { f }; Sehnenscheidenentzündung { f* | เอ็นอักเสบ |
Alveolitis { f } [ med. ] | [แอล-วี-โอ-ลิ-ธีส] (n) การอักเสบของถุงลมปอด |
bilateral pneumonia | (name, uniq) ลักษณะของปอดอักเสบทั้งสองข้าง |
Clostridium difficile | [คลอสตริเดียม ดิฟฟิไซล] แบคทีเรียหนึ่งในสาเหตุที่พบมากที่สุดของการติดเชื้อของลำไส้ใหญ่ ในสหรัฐอเมริกามีผลต่อผู้คนนับล้านต่อปี ผู้ป่วยที่ใช้ยาปฏิชีวนะอยู่ในความเสี่ยงของการกลายเป็นติดเชื้อกับการรักษาได้ยาก. ยาปฏิชีวนะจะรบกวนแบคทีเรียปกติของลำไส้, ช่วยให้ดื้อยาแบคทีเรียที่จะกลายเป็นตัวต้านที่อยู่ภายในลำไส้ใหญ่. หลายคนติดเชื้อแบคทีเรียรักษาลำบากเพราะไม่มีอาการ. คนเหล่านี้กลายเป็นผู้ให้บริการของเชื้อแบคทีเรียและสามารถติดเชื้อผู้อื่น ในคนอื่นๆ, สารพิษที่มีผลก่อให้เกิดโรคอุจจาระร่วง, อาการปวดท้อง, การอักเสบอย่างรุนแรงของลำไส้ใหญ่ (ไส้ใหญ่), ไข้, การตรวจนับเม็ดเลือดขาว, อาเจียนและการคายน้ำ. ในผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง, เยื่อบุภายในของลำไส้ใหญ่จะกลายเป็นที่รุนแรงอักเสบ (สภาพที่เรียกว่าเยื่อแผ่นบาง ๆ รอบเซลล์ผิดปกติ). ไม่ค่อยมีผนังและหลุมพัฒนา (ลำไส้ใหญ่จะไม่ค่อยมีผนังกั้นแต่จะเป็นรูพรุน) ซึ่งสามารถนำไปสู่การติดเชื้อที่คุกคามชีวิตของช่องท้อง |
Crohn's disease | การอักเสบเรื้อรังที่มักจะเกี่ยวข้องกับส่วนล่างของลำไส้เล็กส่วนปลายมักจะแพร่กระจายไปยังลําไส้ใหญ่และเกิดเป็นอาการท้องเสีย, เป็นตะคริว, การเบื่ออาหารและน้ําหนักลดและทำให้เกิดการเจริญเติบโตของฝีหนองและทำให้เกิดแผลเป็น |
dermatophytosis | (n) โรคผิวหนังชนิดหนึ่งแสดงโดยอาการอักเสบของผิวหนังและกล้ามเนื้ออ่อนแรง |
diverticulosis | (n) โรคถุงผนังสำไส้อักเสบ, See also: A. -, diverticulum, Syn. - |
Helicobacter pylori | ประเภทรูปเกลียวของเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดแผลและการอักเสบในกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็ก |
Lichen planus | เป็นสภาพผิวอักเสบที่คันแต่ไม่ติดเชื้อผื่นผิวบนแขนและขา ประกอบด้วยขนาดเล็กหลายด้านแบน-ราด, สีชมพูหรือสีม่วงคล้ำ ผู้เชี่ยวชาญผิวหนังจํานวนมากเชื่อว่ามันอาจจะเป็นโรคภูมิต้านทาน |
multiple sclerosis | (n) โรคปลอกหุ้มเส้นประสาทอักเสบ, Syn. M.S. |
Otitis externa | เป็นสภาพที่ทําให้เกิดการอักเสบ (แดงและบวม) ของช่องหูภายนอกซึ่งเป็นหลอดระหว่างหูด้านนอกและหู หูน้ําหนวกอักเสบมักจะเรียกว่า "หูของนักว่ายน้ํา" เพราะการสัมผัสน้ําซ้ําๆ สามารถทําให้ช่องหูเสี่ยงต่อการอักเสบ |
paronychia | [พาโรนิคเคีย] เป็นหนอง อักเสบ บริเวณเนื้อรอบข้างเล็บ |
paronychia | [พาโรนิคเคีย] เป็นหนอง อักเสบ บริเวณเนื้อรอบข้างเล็บ |
Polyarteritis nodosa | โรคอักเสบเฉียบพลันที่เกี่ยวข้องกับทุกชั้นของผนังหลอดเลือดแดงและมีลักษณะโดยการเสื่อมสภาพเนื้อร้ายการขับถ่ายและการก่อตัวของก้อนอักเสบตามแนวด้านนอก |
Polymyositis | โรคอักเสบของกล้ามเนื้อที่เริ่มต้นเซลล์เม็ดเลือดขาว, เซลล์ภูมิคุ้มกันของการอักเสบ, เป็นธรรมชาติกล้ามเนื้อ, โดยเฉพาะกับลำตัว, ส่งผลให้เกิดอาการปวดกล้ามเนื้อ, และอ่อนแอ |
Pyelonephritis | (n) กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)เป็นโรคที่พบได้ค่อนข้างบ่อย พบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 4 เท่า สาเหตุเกิดจากการ ติดเชื้อแบคทีเรียอย่างเฉียบพลันในบริเวณกรวยไต พบบ่อยคือเชื้อ Escherichia Coli ที่แพร่จากผิวหนังบริเวณรอบๆท่อปัสสาวะ เข้าสู่ท่อปัสสาวะ กระเพาะปัสสาวะผ่านท่อไตขึ้นมาที่ไต .การติดเชื้อใน ทางเดินปสสาวะสวนบน. กรวยไตอักเสบ |
RSV | (abbrev) ไวรัส RSV หรือ Respiratory Syncytial Virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจตั้งแต่ส่วนบนจนถึงส่วนล่าง ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหลอดลมฝอยอักเสบ (Acute bronchiolitis) และอาจทำให้ปอดอักเสบติดเชื้อได้ (Pneumonia) โดยเฉพาะผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง เช่น เด็กที่มีโรคประจำตัว คลอดก่อนกำหนด ฯลฯ อาการเริ่มแรกเหมือนไข้หวัด คือ มีไข้ ไอ น้ำมูกไหล แต่จะมีไอมาก เสมหะเยอะและเหนียวข้น หายใจหอบเหนื่อย หน้าอกบุ๋ม อาจมีเสียหงายใจดังวี๊ดๆ ซึม ไม่กินน้ำ หงุดหงิด กระวุนกระวาย มีสีเขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก หรือ ปลายมือปลายเท้า เนื่องจากร่างกายขาดออกซิเจน หากมีอาการดังกล่าว ควรไปพบแพทย์ ที่มา: เอกสารแผ่นพับจากโรงเรียนอนุบาลชนานันท์ เรียบเรียงโดยก้านแก้ว จากการสัมภาษณ์ เรืออากาศเอกแพทย์หญิงหฤทัย กมลาภรณ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี |
Sarcoidosis | เป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับการสะสมที่ผิดปกติของเซลล์ที่อักเสบ (ชนิดของเนื้องอกที่ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเม็ด) ที่สามารถสร้างเป็นก้อนภายในอวัยวะของร่างกาย |
Tennis elbow | (vi, vt, aux, verb, adv, phrase, slang, ทางการแพทย์) ข้อศอกอักเสบ |
ulcerative colitis | (n) โรคลำไส้ใหญ่อักเสบชนิดเป็นแผล |
Longdo Approved JP-TH
喉頭炎 | [こうとうえん, koutouen] (n) กล่องเสียงอักเสบ |
盲腸炎 | [もうちょうえん, mouchouen] (n) ไส้ติ่งอักเสบ, See also: 盲腸 |
肝炎 | [かんえん, kan'en] (n) โรคตับอักเสบ, See also: R. hepatitis |
肺炎 | [はいえん, haien] (n) โรคปอดอักเสบ |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
盲腸炎 | [もうちょうえん, mouchouen] (n) ไส้ติ่งอักเสบ, See also: R. 盲腸 |
腹膜炎 | [ふくまくえん, fukumakuen] (n) เยื่อบุช่องท้องอักเสบ |
気管支炎 | [きかんしえん, kikanshien] (n) โรคหลอดลมอักเสบ (Bronchitis) |
日本脳炎 | [にほんのうえん, nihonnouen] (n) ภาวะสมองอักเสบจากเชื้อไวรัส |
骨髄炎 | [こつずいえん, kotsuzuien] ไขกระดูกอักเสบ |
腎炎 | [じんえん, jin'en] ไตอักเสบ |
膀胱炎 | [ぼうこうえん, boukouen] กระเพาะปัสสาวะอักเสบ |
心筋炎 | [しんきんえん, shinkin'en] (n) กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ, See also: R. myocarditis |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.1292 seconds, cache age: 6.211 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม