147 ผลลัพธ์ สำหรับ *หายาก*
ภาษา
หรือค้นหา: หายาก, -หายาก-พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ก๊าซเฉื่อย, แก๊สเฉื่อย | น. ธาตุที่เป็นแก๊ส มีสมบัติไม่ไวต่อปฏิกิริยาเคมี ได้แก่ ฮีเลียม นีออน อาร์กอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน, ปัจจุบันเรียก ก๊าซมีตระกูลหรือแก๊สมีตระกูล (noble gases) ก๊าซหายากหรือแก๊สหายาก (rare gases). |
แกโดลิเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๔ สัญลักษณ์ Gd เป็นโลหะที่หายากมาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๓๑๒ °ซ. |
ซาแมเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๖๒ สัญลักษณ์ Sm เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๗๒ ºซ. |
เซอร์โคเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๐ สัญลักษณ์ Zr เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๘๕๒ ºซ. |
ด้อง ๑ | น. ชื่อปลานํ้าจืดหลายชนิด ในสกุล Pterocryptis วงศ์ Siluridae ปากอยู่ต่ำเล็กน้อย หนวดยาวถึงโคนครีบอก ไม่มีเกล็ด ลักษณะคล้ายปลาเนื้ออ่อนพวกที่มีครีบหลัง เว้นแต่มีครีบก้นต่อเนื่องกับครีบหางที่มีขอบกลม ครีบอกมีก้านแข็งคล้ายเงี่ยง ขนาดยาวได้ถึง ๒๒ เซนติเมตร เป็นปลาหายาก. |
ไนโอเบียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๑ สัญลักษณ์ Nb เป็นโลหะหายาก ลักษณะเป็นของแข็งสีเทา หลอมละลายที่ ๒๔๖๘ °ซ. ใช้ประโยชน์นำไปเจือเหล็กกล้าไม่เป็นสนิม เพื่อทำให้มีสมบัติคงทนต่อการผุกร่อน และทนต่ออุณหภูมิสูง ๆ ได้ดี. |
มะหัล | หายาก. |
รัตนชาติ | น. รัตนะ, พวกรัตนะ คือ แก้วที่มีค่า เช่น เพชร ทับทิม มรกต, หินหรือแร่ที่มีค่า เมื่อเจียระไนแล้วจะต้องมีลักษณะสวยงาม คงทน หายาก ราคาแพง และนำมาใช้เป็นเครื่องประดับได้. |
เรเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๘๘ สัญลักษณ์ Ra เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะที่หายากมาก หลอมละลายที่ ๗๐๐ ºซ. ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์สำหรับรักษาโรคมะเร็ง. |
ลี้ลับ | ที่ซ่อนเร้นอยู่ เช่น บ้านอยู่ในซอกซอยลี้ลับทำให้หายาก, ลับลี้ ก็ว่า. |
สแกนเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๒๑ สัญลักษณ์ Sc เป็นโลหะที่หายาก ลักษณะเป็นของแข็งสีขาว หลอมละลายที่ ๑๕๓๙ °ซ. |
สะตือ ๒ | น. ชื่อปลานํ้าจืดชนิด Chitala Lopsis (Bleeker) ในวงศ์ Notopteridae รูปร่างคล้ายปลากราย แต่ไม่มีจุดดำเด่น มีจุดสีนํ้าตาลกระจายอยู่ทั่วตัว กินสัตว์น้ำขนาดเล็กในเวลากลางคืน พบทั่วไปแต่เป็นปลาหายาก ขนาดยาวได้ถึง ๑.๕ เมตร. |
เสาะแสวง | ก. ใช้ความพยายามมากเพื่อค้นหา เช่น ของชิ้นนี้เป็นของหายาก เขาอุตส่าห์ไปเสาะแสวงมาให้. |
เสือไฟ | น. ชื่อเสือชนิด Felis temmincki Vigors & Horsfield ในวงศ์ Felidae ขนาดใหญ่กว่าเสือปลา รูปร่างเพรียว ขนสีนํ้าตาลแกมแดงตลอดตัว หรือที่หายากมีสีดำ หางยาวไล่เลี่ยกับลำตัว เวลาเดินจะยกหางขนานกับพื้น อาศัยอยู่ตามป่าโปร่ง กินสัตว์ขนาดเล็ก เช่น กระต่าย กิ้งก่า. |
หวงแหน | (-แหนฺ) ก. หวงมาก เช่น หนังสือเล่มนี้หายาก เจ้าของหวงแหนเหลือเกิน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
rare | หายาก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
rare earth | แร่หายาก [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
span(o)- | มีน้อย, หายาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
span(o)- | มีน้อย, หายาก [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Rare book | หนังสือหายาก [เทคโนโลยีการศึกษา] |
Rare book | หนังสือหายาก, Example: หนังสือหายาก Rarebook บทคัดย่อ หนังสือหายากกับการสืบค้น หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกหนังสือหายากคือ <p> <p> 1 เป็นเอกสารปฐมภูมิ <p> 2 มีประวัติการพิมพ์ที่สำคัญ เช่น ยุคสมัยของการพิมพ์ พิมพ์จำกัด ฉบับพิมพ์ครั้งแรก <p> 3 มีความโดดเด่นทางด้านเนื้อหา <p> 4 สภาพรูปเล่มสมบูรณ์หรือคงสภาพสวยงามตามต้นฉบับ <p> 5 เป็นหนังสือที่มีประวัติในการครอบครอง เช่นมีบุ๊คเพลตหรือบรรณสิทธิ์ มีลายมือของผู้เขียนหรือเจ้าของเดิม [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Rare plant | พืชหายาก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Rare animals | สัตว์หายาก [TU Subject Heading] |
Rare book libraries | ห้องสมุดหนังสือหายาก [TU Subject Heading] |
Rare books | หนังสือหายาก [TU Subject Heading] |
Rare butterflies | ผีเสื้อหายาก [TU Subject Heading] |
Rare insects | แมลงหายาก [TU Subject Heading] |
Rare plants | พืชหายาก [TU Subject Heading] |
Light Metals and Rare Earth | กลุ่มแร่โลหะเบาและแร่หายาก, Example: เป็นแร่ที่เกิดกระจัดกระจายอยู่ทั่วไปแต่มี ปริมาณน้อย และหาได้ยาก ได้แก่ ออกไซด์ของธาตุต่าง ๆ ที่มีเลขอะตอม 57-71 ได้แก่ ธาตุแลนทานัมถึงลูทีเชียม การแยกแร่เหล่านี้และส่วนประกอบของแร่ทำได้ยากมาก และแร่ในกลุ่มนี้เป็นแร่พลอยได้จากการผลิตดีบุก ซึ่งมักพบร่วมกับแหล่งแร่ดีบุก ประกอบด้วยแร่โคลัมไบต์ - แทนทาไลต์ สตรูเวอไรต์ เซอร์คอน อิลเมไนต์ ลูโคซีน วีโนไทม์ โมนาไซด์ และแร่รูไทล์ [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Forms, Rare | รูปแบบที่หายาก [การแพทย์] |
diamond | เพชร, แร่ชนิดหนึ่ง เป็นผลึกของธาตุคาร์บอนรูปหนึ่ง มีความแข็งมากที่สุดคือ 10 เป็นแร่หายาก ความถ่วงจำเพาะประมาณ 3.51 ปกติไม่มีสี แต่อาจมีสี เช่น เหลือง น้ำเงินดำ เป็นรัตนชาติที่มีราคาสูง ใช้เป็นผงขัดในการเจียระไน เพชร พลอย และใช้ตัดกระจก เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
หายาก | [hā yāk] (adj) EN: rare ; hard to find ; scarce FR: rare ; recherché |
หายากแท้ | [hā yāk thaē] (adj) FR: rarissime |
ความหายาก | [khwām hā yāk] (n, exp) FR: rareté [ f ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abbreviated | (adj) หายาก |
curio | (n) วัตถุโบราณที่หายาก |
curious | (adj) แปลก, See also: ซึ่งหายาก, Syn. odd, strange |
europium | (n) ธาตุโลหะสีเงินขาวหายาก ใช้ในเครื่องยิงแสงเลเซอร์ มีสัญลักษณ์คือ Eu |
in short supply | (idm) หายาก, See also: ขาดแคลน |
one in a hundred | (idm) คนหรือสิ่งหายาก, See also: คนหรือสิ่งไม่ธรรมดา, หนึ่งในร้อย |
one in a million | (idm) คนหรือสิ่งหายาก, See also: คนหรือสิ่งไม่ธรรมดา, หนึ่งในล้าน |
one in a thousand | (idm) คนหรือสิ่งหายาก, See also: คนหรือสิ่งไม่ธรรมดา, หนึ่งในพัน |
thin on the ground | (idm) จำนวนน้อย, See also: หายาก |
lanthanide series | (n) กลุ่มธาตุหายาก |
rara avis | (n) คนหรือสิ่งที่หายาก (เป็นภาษาละติน) |
rarae aves | (n) คำนามพหูพจน์ของ rara avis, See also: คนหรือสิ่งที่หายาก |
rare bird | (n) คนหรือสิ่งที่หายาก, Syn. rarity, rara avis |
rare earth | (n) ออกไซด์ของธาตุหายาก |
rare | (adj) ซึ่งหายาก, See also: ไม่ค่อยมี, ไม่บ่อย, Syn. few, infrequent, uncommon, Ant. common |
rare-earth element | (n) ธาตุหายาก, Syn. rare-earth metal |
rare-earth metal | (n) ธาตุหายาก, Syn. rare-earth element |
rarefy | (vt) ทำให้หายาก |
rarity | (n) สิ่งหายาก, See also: การหาได้ยาก, การขาดแคลน, Syn. rareness, scarcity |
recherche | (adj) ซึ่งหายาก, See also: ซึ่งไม่ธรรมดา |
samarium | (n) ธาตุโลหะหายาก (สัญลักษณ์ทางเคมีคือ Sm) |
scandium | (n) ธาตุโลหะหายาก (สัญลักษณ์ทางเคมี Sc) |
scarce | (adj) ขาดแคลน, See also: ไม่เพียงพอ, หายาก, ไม่ค่อยพบ, Syn. infrequent, limited |
scarcely | (adv) อย่างขาดแคลน, See also: อย่างไม่เพียงพอ, หายาก, ไม่ค่อยพบ, บอบบาง, เกือบจะไม่, แทบจะไม่, Syn. barely, scantily |
seldom | (adv) แทบจะไม่, See also: ไม่ค่อยจะ, หายาก |
Hope Dictionary
abbreviated | (อะบรี' วิเอเทด) adj .สั้น, ทำให้สั้นเข้า, หายาก, ไม่พอเพียง, Syn. shortened |
amalgam | (อะแมล' เกิม) n. โลหะผสมของปรอทกับโลหะอื่น, แร่หายากชนิดหนึ่งที่เป็นโลหะ ผสมของเงินและปรอท, การรวมกัน, Syn. mixture, combination, Ant. separation |
anorthite | (แอนออร์' ไธทฺ) n. หินแร่แคลเซียมชนิดหนึ่งที่หายาก -anorthitic adj. |
antiquarian | (แอนทีแคว' เรียน) adj. เกี่ยวกับการศึกษาโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับโบราณวัตถุ, เกี่ยวกับหนังสือเก่า ๆ หรือที่หายาก. -antiquarianism n. |
astatine | (แอส'ทะทีน) n. ธาตุหายากชนิดหนึ่งมีสัญลักษณ์ At; at. no. : 85 |
caesium | n. ธาตุโลหะที่หายากชนิดหนึ่ง |
cesium | n. ธาตุโลหะที่หายากชนิดหนึ่ง |
crow | (โคร) { crowd/crew, crowed, crowding, crows } n. อีกา, ชะแลง, ตะขอเกี่ยวสินค้า -Phr. (a white crow ของหายาก ของล้ำค่า) vt., n. (การ) (ไก่หรือนก) ขัน, ร้องเสียงหรือออกเสียงแสดงความดีใจ, คุยโต, See also: crowingly adv. |
curiosity | (คิวริออส'ซิที) n. ความอยากรู้อยากเห็น, ของหายาก, ของลายคราม, ลักษณะที่แปลกและน่ารู้น่าสนใจ, ความผิดธรรมดา, ความแปลก, Syn. novelty |
curious | (คิว'เรียส) adj. ซึ่งอยากรู้อยากเห็น, หายาก, แปลก, ผิดธรรมดา, น่าสนใจ, ประณีต, See also: curiousness n. ดูcurious, Syn. nosy |
distinct | (ดิสทิงทฺ') adj. ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน, จำเพาะ, เจาะจง, หายาก, น่าสังเกต, แตกต่าง., See also: distinctness n. ดูdistinct, Syn. clear |
palladium | (พะเล'เดียม) n. ธาตุโลหะหายากชนิดหนึ่ง, สิ่งที่ปกป้อง |
rare | (แรร์) adj. หายาก, น้อย, บาง, เบาบาง, ไม่ค่อยมี, ไม่บ่อย, เลิศ, ประเสริฐ, น่าชมเชย, See also: rareness n., Syn. uncommon |
rarefaction | (แรริแฟค'เชิน) n. การทำให้เบาบาง, การทำให้หายาก, การทำให้น้อยลง, การทำให้เข้มข้นน้อยลง, การทำให้บริสุทธิ์, การทำให้สูงส่ง., See also: rarefactive adj. |
rarefied | (แร'ริไฟดฺ) adj. สูงสุด, สูงส่ง, หายาก, ไม่ทึบ, ไม่หนาแน่น, บาง, ในวงแคบ, Syn. lofty |
rarefy | (แร'ริไฟ) vt., vi. (ทำให้) (กลายเป็น) หายาก, เบาบางลง, บริสุทธิ์, See also: rarefiable adj. rarefier n. |
rarely | (แร'ลี) adv. อย่างหายาก, ไม่บ่อย, ไม่ค่อยมี, ประเสริฐ, Syn. infrequently, seldom |
rarity | (แร'ริที) n. สิ่งที่หายาก, ความหายาก, ความไม่ค่อยมี, ความประเสริฐ, ความเบาบาง (ของอากาศหรือแก๊ส) pl. rarities, Syn. scarcity |
scarce | (สแคสฺ) adj. ขาดแคลน, ไม่เพียงพอ, หายาก, ไม่ค่อยพบ -Phr. (make oneself scarce จากไป (โดยเฉพาะอย่างกะทันหัน)) . adv. อย่างขาดแคลน, อย่างไม่เพียงพอ., See also: scarceness n. |
scarcely | (สแคสฺ'ลี) adv. อย่างขาดแคลน, อย่างไม่เพียงพอ, หายาก, ไม่ค่อยพบ, บอบบาง, เกือบจะไม่, แทบจะไม่, ไม่สู้จะ, Syn. just, barely |
scarcity | (สแคส'ซิที) n. ความขาดแคลน, ความไม่เพียงพอ, การมีน้อย, การหายาก |
seldom | (เซล'เดิม) adv. ไม่ค่อยจะ, ไม่บ่อยนัก, นาน ๆ ครั้ง, หายาก adj. หายาก, ไม่บ่อยนัก, See also: seldomness n., Syn. infrequently |
uncommon | (อันคอม'เมิน) adj. ไม่ปกติ, ผิดจากธรรมดา, หายาก, พิเศษ, น่าใส่ใจ, เด่น |
underdone | (อัน'เดอะดัน) adj. ไม่ได้ต้มให้สุก, ไม่ค่อยสุก, ไม่ได้ต้มพอเพียง, หายาก |
ytterbium | (อิเทอ'เบียม) n. ธาตุโลหะหายากชนิดหนึ่งมีสัญลักษณ์ว่า Yb |
Nontri Dictionary
curio | (n) ของประหลาด, ของหายาก, โบราณวัตถุ, ของเก่า |
curiosity | (n) ความอยากรู้อยากเห็น, ความสอดรู้สอดเห็น, ของหายาก, ของแปลก |
rare | (adj) มีน้อย, หายาก, ไม่สุกมาก |
rarity | (n) ความหายาก, ความบาง, ความประเสริฐ |
scarce | (adj) หายาก, ไม่เพียงพอ, ไม่ค่อยมี, ขาดแคลน |
scarcely | (adv) หายาก, ไม่ใคร่จะ, เกือบจะไม่, แทบจะไม่ |
scarcity | (n) การหายาก, ความไม่เพียงพอ, ความขาดแคลน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
a friend in need is a friend indeed | เพื่อนกินหาง่าย เพื่อนตายหายาก |
curiousity | (n) ความอยากรู้อยากเห็น, ของหายาก, ของลายคราม, ลักษณะที่แปลกและน่ารู้น่าสนใจ, ความผิดธรรมดา, ความแปลก, คนหรือปรากฏการณ์แปลกๆ, ความอยากรู้ |
Longdo Approved DE-TH
Edelmetall | (n) |das, pl. Edelmetalle| โลหะมีค่าที่ทนต่อการผุกร่อนและทนปฏิกริยาอ็อกซิเดชัน ส่วนใหญ่เป็นโลหะที่หายาก เช่น ทองคำ เงิน แทนทาลัม และแพลตินัม เป็นต้น |
Longdo Approved FR-TH
rare | (adj) ซึ่งหายาก, ไม่ค่อยมี, ไม่บ่อย เช่น un nom rare, See also: rarement |
rarement | (adv) ซึ่งหายาก, ไม่ค่อยมี, ไม่บ่อย เช่น un nom qu'on entend rarement, See also: rare |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0472 seconds, cache age: 10.991 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม