97 ผลลัพธ์ สำหรับ *ลงชื่อ*
ภาษา
หรือค้นหา: ลงชื่อ, -ลงชื่อ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ลงชื่อ | (v) sign, See also: autograph, put down one's name, Syn. ลงนาม, เซ็นชื่อ, เซ็น, เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, Example: ชาวบ้านลงชื่อผ่านกำนันว่า จะเข้ามานั่งรับการฝึกอบรมจำนวน 25 คน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ลงชื่อ | ก. เขียนชื่อ, ลงลายมือชื่อ, ลงนาม ก็ว่า. |
เข้าชื่อ | ก. ลงชื่อร่วมกันหลาย ๆ คน เพื่อร้องเรียนหรือแสดงความจำนง. |
คำลงท้าย | น. ข้อความที่เขียนไว้ท้ายจดหมายก่อนลงชื่อ เช่น ขอแสดงความนับถือ รักและคิดถึง. |
บัตรสนเท่ห์ | น. จดหมายฟ้องหรือกล่าวโทษผู้อื่นโดยมิได้ลงชื่อหรือไม่ลงชื่อจริงของผู้เขียน. |
ลงทะเบียน | ก. จดเป็นหลักฐาน เช่น จดหมายลงทะเบียน, ลงชื่อรายงานตัวเป็นหลักฐาน เช่น ลงทะเบียนเข้าร่วมสัมมนา, ลงชื่อแสดงความจำนงเข้าเรียน เช่น ลงทะเบียนเรียนภาคที่ ๑. |
ลงนาม | ก. ลงชื่อ. |
สารตรา | หนังสือราชการที่เสนาบดีเจ้ากระทรวงลงชื่อและประทับตรากระทรวงส่งไปยังหัวเมือง ซึ่งในสมัยต่อมาเรียกว่า ท้องตรา. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
attest | เป็นพยาน, ให้การเป็นพยาน, ลงชื่อเป็นพยาน, รับรองความถูกต้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
attestation | การลงชื่อเป็นพยาน, การรับรองว่าถูกต้องเป็นจริง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Author entry | รายการชื่อผู้แต่ง, การลงชื่อผู้แต่ง [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Aide-memoire หรือ Memoire | แปลตามตัวอักษรว่า ช่วยความจำ เป็นหนังสือโต้ตอบทางการทูตประเภทหนึ่ง คือ บันทึกสังเขปของการเจรจาที่ได้กระทำกันเสร็จสิ้นแล้ว บันทึกช่วยจำเช่นนี้ไม่มีการกล่าวนำเป็นทางการและไม่มีการลงชื่อ ซึ่งจะมอบให้แก่กันเมื่อเสร็จการเจรจากันแล้ว ความมุ่งหมายของบันทึกนี้คือ เพื่อบันทึกข้อเท็จจริงไว้เป็นหลักฐานซึ่งผู้รับบันทึกทราบดีแล้วบันทึกช่วย จำก็คือ บันทึกสรุปการสนทนาทางการทูตอย่างไม่เป็นทางการ ระหว่างผู้แทนหรือพนักงานทางการทูตกับหัวหน้าหรือพนักงานของกระทรวงการต่าง ประเทศ จุดประสงค์ตามที่ชื่อบ่งอยู่แล้วว่า เป็นการสรุปประเด็นต่าง ๆ ในการสนทนาเพื่อเตือนความจำนั้นเอง ในทางปฏิบัติเจ้าหน้าที่ทางการทูตจะมอบบันทึกนี้ไว้กับกระทรวงการต่างประเทศ ในบันทึกนั้นบรรทัดแรกจะระบุว่าใครเป็นผู้ส่งและใครเป็นผู้รับบันทึก ผู้ส่งบันทึกจะต้องลงชื่อย่อกำกับบันทึกไว้ด้วยบันทึกช่วยจำอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า pro memoria โดยปกติภาษาที่ใช้ใน pro memoria จะมีลักษณะถ้อยคำเป็นทางการมากกว่า aide-memoire [การทูต] |
Notes in Diplomatic Correspondence | หมายถึง หนังสือหรือจดหมายโต้ตอบทางการทูตระหว่างหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต (Head of mission) กับรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่หัวหน้าคณะผู้ แทนทางการทูตนั้นประจำอยู่ หรือกับหัวหน้าผู้แทนทางการทูตอีกแห่งหนึ่ง หนังสือทางการทูตนี้ อาจใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 หรือบุรุษที่ 3 ก็ได้ หนังสือทางการทูตที่ใช้สรรพนามบุรุษที่ 1 มักจะเกี่ยวกับเรื่องที่มีความสำคัญหรือมีความละเอียดอ่อนกว่าหนังสืออีก ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า Note Verbale หรือต้องการจะแทรกความรู้สึกส่วนตัวลงไปด้วย หนังสือนี้จะส่งจากหัวหน้า หรือผู้รักษาการแทนหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูต ไปยังรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ หรือไปถึงหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตอื่น ๆ ไม่เหมือนกับ Note Verbale กล่าวคือ หนังสือทางการทูตนี้จะต้องระบุสถานที่ตั้ง รวมทั้งลงชื่อของผู้ส่งด้วยตามปกติ ประโยคขึ้นต้นด้วยประโยคแรกในหนังสือจะใช้ข้อความว่า ?have the honour? นอกจากจะมีถึงอุปทูตซึ่งมีฐานะตำแหน่งต่ำกว่าอัครราชทูต ถ้อยคำลงท้ายของหนังสือทางการทูตจะมีรูปแบบเฉพาะ เช่น?Accept, Excellency (หรือ Sir), ในกรณีที่ผู้รับมีตำแหน่งเป็นอุปทูต (Charge d? Affaires) the assurances (หรือ renewed assurances ) of my highest (หรือ high ในกรณีที่เป็นอุปทูต ) consideration?หรือ ?I avail myself of this opportunity to express to your Excellency, the assurances ( หรือ renewed assurances) of my highest consideration ?ถ้อยคำที่ว่า ?renewed assurances ? นั้น จะใช้ก็ต่อเมื่อผู้ส่งหนังสือกับผู้รับหนังสือ ได้มีหนังสือติดต่อทางทูตกันมาก่อนแล้ว ส่วนถ้อยคำว่า ?high consideration ? โดยปกติจะใช้ในหนังสือที่มีไปยังอุปทูต ถ้อยคำ ?highest consideration ? จะใช้เมื่อมีไปถึงเอกอัครราชทูต และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ทั้งนี้ย่อมแล้วแต่ท้องถิ่นด้วย บางแห่งอาจนิยมใช้แตกต่างออกไป และก็จะเคารพปฏิบัติตามท้องถิ่นนั้น ๆ โดยมารยาทส่วนหนังสือที่เรียกว่า Note Verbale หรือ Third person note เป็นหนังสือทางการทูตที่ใช้บ่อยที่สุด หนังสือนี้จะขึ้นต้นด้วยประโยคดังต่อไปนี้?The Ambassador (หรือ The Embassy ) of Thailand presents his (หรือ its ) compliments to the Minster (หรือ Ministry ) of Foreign affairs and has the honour??หนังสือบุรุษที่สาม หรืออาจเรียกว่าหนังสือกลางนี้ ไม่ต้องบอกตำบลสถานที่ ( Address) และไม่ต้องลงชื่อ แต่บางทีในตอนลงท้ายของหนังสือกลางมักใช้คำว่า?The Ambassador avails himself of this opportunity to express to his Excellency the renewed assurances of his highest consideration?มีหนังสือทางการทูตอีกประเภทหนึ่งเรียกว่า Collective note เป็นหนังสือที่หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตของรัฐบาลหลายประเทศรวมกันมีไปถึง รัฐบาลแห่งเดียว เกี่ยวกับเรื่องที่รัฐบาลเหล่านั้นพร้อมใจกันที่จะร้องเรียน หรือต่อว่าร่วมกัน หัวหน้าคณะทูตทั้งหมดอาจร่วมกันลงนามในหนังสือนั้น หรือ อาจจะแยกกันส่งหนังสือซึ่งมีถ้อยคำอย่างเดียวกันไปถึงก็ได้ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ลงชื่อ | [longcheū] (v) EN: sign ; autograph ; put down one's name ; enter one's name FR: signer ; apposer sa signature ; parapher = parafer ; indiquer son nom |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
byline | (n) บรรทัดแรกหรือสุดท้ายในหนังสือพิมพ์/นิตยสารที่ลงชื่อผู้เขียน |
be in for | (phrv) ลงชื่อเข้าแข่งขัน, Syn. enter for |
initial | (vt) ลงชื่อแรก, See also: เซ็นชื่อแรก / อักษรแรกของชื่อ, Syn. underwrite, sign, endorse, inscribe |
inscribe | (vt) สลัก, See also: จารึก, เขียนมอบ, ลงชื่อ, Syn. engrave, imprint |
put down for | (phrv) ลงชื่อว่าเต็มใจจะจ่าย (จำนวนเท่าใด) |
register as | (phrv) ลงทะเบียนเป็น, See also: ลงชื่อเป็น |
register for | (phrv) ลงทะเบียน, See also: ลงชื่อสำหรับ |
register with | (phrv) ลงชื่อกับ (ผู้มีหน้าที่) |
sign | (vi) ลงนาม, See also: ลงชื่อ, เซ็นชื่อ, เซ็นสัญญา, Syn. endorse, validate, Ant. cancel, invalidate |
sign | (vt) ลงนาม, See also: ลงชื่อ, เซ็นชื่อ, เซ็นสัญญา, Syn. endorse, validate, Ant. cancel, invalidate |
subscription | (n) การลงชื่อข้างท้าย, See also: การบอกรับเป็นสมาชิก, Syn. enrollment |
sign in | (phrv) เซ็นชื่อเข้า, See also: ลงชื่อเข้า, Ant. sign out |
sign off | (phrv) ลงชื่อในจดหมาย, See also: เซ็นชื่อปิดท้ายในจดหมาย |
sign out | (phrv) ลงชื่อออก, Ant. sign in |
sign over | (phrv) เซ็นชื่อโอนให้, See also: ลงชื่อโอนกรรมสิทธิ์ให้กับ, Syn. sign away |
sign up | (phrv) เซ็นชื่อเข้า, See also: ลงชื่อเข้าร่วม, Syn. join up, sign on |
subscribe to | (phrv) ลงชื่อ, See also: เซ็นสัญญา |
witness | (n) ผู้ลงชื่อเป็นพยาน, See also: พยาน |
witness | (vt) ลงนามเป็นพยาน, See also: ลงชื่อเป็นพยาน, Syn. countersign |
Hope Dictionary
check | (เชค) { checked, checking, checks } vt. หยุด, รั้ง, ดึง, ตรึง, สกัด, ทำลาย, ตรวจสอบ, สำรวจ, ทำเครื่องหมายตรวจสอบ, ฝากเก็บ, รุกฆาต (หมากรุก) , ทำให้เกิดรอยแตก, ปลูกพืชเป็นแนวยาว. -vi. ตรงกัน (ถูกต้อง) , ตรวจสอบ, แตกเป็นช่อง, ร้าวเป็นช่อง, หยุด -Phr. check in (ลงชื่อ (เข้าพักในโรงแ |
enrollment | (เอนโรล'เมินทฺ) n. การลงทะเบียน, การลงชื่อ, การสมัครเข้าเรียน, การสมัครเข้าเป็นทหาร |
enrolment | (เอนโรล'เมินทฺ) n. การลงทะเบียน, การลงชื่อ, การสมัครเข้าเรียน, การสมัครเข้าเป็นทหาร |
inscribe | (อิน'สไครบฺ) vt. จารึก, เขียนสลัก, แกะสลัก, ลงชื่อ, เขียนมอบ, เขียนคำอุทิศ, ลงรายการจารึกในความทรงจำ., See also: inscribable adj. inscribableness n. inscriber n., Syn. write, engrave |
order cheque | n. เช็คลงชื่อ |
Nontri Dictionary
autograph | (vt) ลงชื่อ, เซ็นชื่อ |
book | (vt) จองล่วงหน้า, สำรองที่นั่ง, ลงบัญชี, ลงชื่อ, ลงรายการ, ลงบันทึก |
countersign | (vt) ลงนามร่วม, ลงชื่อกำกับ, ลงลายเซ็นร่วม, สนองพระบรมราชโองการ |
enroll | (vt) ลงทะเบียน, ลงชื่อ, จดทะเบียน, บันทึก |
inscribe | (vt) จารึก, สลัก, ลงชื่อ |
register | (vt) ลงทะเบียน, ลงชื่อ, ลงบันทึก, แสดง, ออกเสียง |
subscribe | (vi) เห็นด้วย, อุดหนุน, บริจาค, ลงชื่อเป็นสมาชิก |
subscription | (n) การบริจาค, การอุดหนุน, การสั่งจอง, การลงชื่อเป็นสมาชิก |
Longdo Approved DE-TH
unterschreiben | (vt) |unterschrieb, hat unterschrieben| เซ็นต์ชื่อ, ลงชื่อ เช่น einen Vertrag unterschreiben เซ็นต์ชื่อในสัญญา, Syn. unterzeichnen |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0185 seconds, cache age: 1.597 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม