321 ผลลัพธ์ สำหรับ *รังสี*
ภาษา
หรือค้นหา: รังสี, -รังสี-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
greenhouse effect | ปรากฏการณ์เรือนกระจก ภาวะที่กลุ่มของก๊าซชนิดต่างๆมาห่อหุ้มชั้นบรรยากาศของโลกไว้ กลุ่มก๊าซเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซหลักๆ 5 ชนิด ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ สารซีเอฟซี ออกไซด์ของไนโตรเจน มีเธนและโอโซน ก๊าซเหล่านี้เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของบรรยากาศโลกที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ และเป็นกลุ่มก๊าซที่มีความสามารถในการดูดซับรังสีความร้อนจากดวงอาทิตย์ เป็นผลให้อุณหภูมิโลกสูงขึ้นจนเหมาะที่สิ่งมีชีวิตต่างๆจะอาศัยอยู่ได้ |
นักรังสีเทคนิค | (n, uniq) Radiological technologist, Radiographer, Medical radiation technologist |
Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
PET Scan | (n, vt) PET Scan ย่อมาจาก Positron Emmision Tomography เป็นเครื่องมือใหม่ที่ใช้เพื่อ ตรวจหาการกระจายและปริมาณความผิดปกติของสารเภสัชรังสีโพสิตรอน ทำให้ข้อมูลที่ได้จาก PET มีความแตกต่างจากเครื่องมืออื่นๆ ซึ่งเรารู้จักกันดี เช่น การตรวจด้วย ultrasound, CT และ MRI ที่ส่วนใหญ่จะแสดงเพียงลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค การตรวจด้วย PET เป็นการถ่ายภาพการกระจายตัวของสารเภสัชรังสีที่สลายตัวให้โพสิตรอน (positron) สารเภสัชรังสีเหล่านี้จะสัมพันธ์และแสดงถึงขบวนการชีววิทยาต่างๆ ในร่างกาย ทำให้เราสามารถตรวจขบวนการเผาผลาญ (metabolism) ของเซลล์ได้ หลักการของเครื่องตรวจนี้คือ ใช้้ในการตรวจหาเซลล์ที่มีเมตะบอลลิสม์ผิดปกติ เป็นการตรวจหาการทำงานของเซลล์และผ่านกลวิธีทำให้ออกมาเป็นรูปให้เราเห็น ในการตรวจมะเร็งปอดเราใช้น้ำตาล เมื่อเราทำให้น้ำตาลนั้นจับกับสารกัมมันตภาพ (Glucose 2-fluoro-2-deoxy-D-glucose หรือ FDG) ฉีดเข้าไปในเลือด เซลล์ไหนที่มีเมตะบอลลิสม์สูงจะใช้น้ำตาลมาก เช่น เซลล์ของมะเร็ง เซลล์ไหนที่ตายหรือมีเมตะบอลลิสม์ต่ำจะใช้น้ำตาลน้อย เมื่อใช้ Radiotracer จับปริมาณกัมมันตภาพ เราจะพบว่าก้อนมะเร็งนั้นมีกัมมันตภาพสูงกว่าเนื้อธรรมดาและใช้ตรวจทั้งตัว ก็ได้ |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
รังสี | (n) radioactivity, See also: radiation, ray, light, Example: จากการตรวจวัดรังสีพบว่า จำนวนปริมาณรังสีแพร่กระจายออกมามีขนาดไม่อยู่ในเกณฑ์ที่จะเป็นอันตราย, Notes: (บาลี/สันสกฤต) |
ฉายรังสี | (v) treat by radiation, Syn. ฉายแสง, รังสีรักษา, Example: การรักษาผู้ป่วยด้วยกรรมวิธีฉายรังสีสามมิติ เป็นการรักษามะเร็งแบบพิเศษ ต่างจากการรักษาด้วยวิธีฉายแสงแบบธรรมดา |
แผ่รังสี | (v) radiate, Thai Definition: กระจายหรือขยายรังสีออกไป |
รังสีเบตา | (n) beta ray, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีวิทยา | (n) radiology, Thai Definition: วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสีรวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีอัลฟา | (n) alpha ray, Notes: (อังกฤษ) |
รังสีแพทย์ | (n) radiologist, Example: เขาได้รับการอบรมให้เป็นรังสีแพทย์ประจำศูนย์บริการชุมชน, Thai Definition: แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา |
การแผ่รังสี | (n) radiation |
รังสีคอสมิก | (n) cosmic rays, Example: เราส่งดาวเทียมออกไปวนรอบโลกเพื่อวัดอุณหภูมิ รังสีคอสมิก และสนามแม่เหล็กรอบโลก, Thai Definition: คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ 90 และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน., Notes: (อังกฤษ) |
รังสีแกมม่า | (n) gamma ray, Example: รังสีแกมมาเป็นรังสีที่ทรงอานุภาพมาก ต้องใช้ผนังคอนกรีตหนาถึง 2 เมตรจึงสามารถกันรังสีได้, Notes: (อังกฤษ) |
กัมมันตรังสี | (v) radioactive, See also: radioactive ray, Example: ยูเรเนียมเป็นธาตุกัมมันตรังสี, Count Unit: ธาตุ |
รังสีความร้อน | (n) infrared rays, See also: infrared, Syn. อินฟราเรด, รังสีอินฟราเรด, Example: การกระจายรังสีความร้อนออกจากร่างกายมนุษย์เป็นสัดส่วนแบบ exponential กับอุณหภูมิในร่างกาย, Thai Definition: รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง 7.8 x 10-7 เมตร กับ 1 มิลลิเมตร, Notes: (อังกฤษ) |
อาหารฉายรังสี | (n) irradiated food, Example: ผู้บริโภคมั่นใจว่าอาหารฉายรังสีนั้นปราศจากเชื้อจุลินทรีย์และแบคทีเรียที่ทำให้เกิดการเจ็บป่วย, Thai Definition: อาหารที่ผ่านกระบวนการฉายรังสีด้วยปริมาณรังสีที่เหมาะสมซึ่งไม่ก่อให้เกิดสารกัมมันตรังสีหรือมีรังสตกค้างแต่ประการใด จึงไม่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค |
กัมมันตภาพรังสี | (n) radioactivity, Example: สารกัมมันตภาพรังสีมีพิษร้ายแรง, Count Unit: ธาตุ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กัมมันตภาพรังสี | (กำมันตะ-) น. การเสื่อมสลายโดยตัวเองของนิวเคลียสของอะตอมที่ไม่เสถียร เป็นผลให้ได้อนุภาคแอลฟา อนุภาคบีตา รังสีแกมมา ซึ่งเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีช่วงคลื่นสั้นมากและมีพลังงานสูง ทั้งหมดนี้พุ่งออกมาด้วยความเร็วสูงมาก ในบางกรณีอาจมีพลังงานความร้อนและพลังงานแสงเกิดตามมาด้วย เช่น การเสื่อมสลายของนิวเคลียสของธาตุเรเดียมไปเป็นธาตุเรดอน. |
กัมมันตรังสี | (กำมันตะ-) ว. ที่สามารถเกิดกัมมันตภาพรังสีได้ (ใช้แก่ธาตุหรือสาร). |
การแผ่รังสี | น. การส่งถ่ายพลังงานความร้อนในลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วเท่ากับความเร็วของแสง เมื่อเทหวัตถุใดดูดกลืนคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้านั้นไว้ได้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าก็จะแปรสภาพเป็นพลังงานความร้อน เป็นผลให้เทหวัตถุนั้นมีอุณหภูมิสูงขึ้นกว่าเดิม. |
ฉัพพรรณรังสี | (ฉับพันนะ-) น. รัศมี ๖ ประการ คือ ๑. นีล เขียวเหมือนดอกอัญชัน ๒. ปีต เหลืองเหมือนหรดาลทอง ๓. โลหิต แดงเหมือนตะวันอ่อน ๔. โอทาต ขาวเหมือนแผ่นเงิน ๕. มัญเชฐ สีหงสบาทเหมือนดอกเซ่งหรือหงอนไก่ ๖. ประภัสสร เลื่อมพรายเหมือนแก้วผลึก. (ปฐมสมโพธิ). |
รังสิ, รังสี | น. แสง, แสงสว่าง. |
รังสีแกมมา | ดู แกมมา. |
รังสีความร้อน | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๗.๘ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๑ มิลลิเมตร, อินฟราเรด ก็เรียก. |
รังสีคอสมิก | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีพลังงานสูงยิ่ง มีช่วงคลื่นสั้นยิ่งกว่ารังสีแกมมามาก องค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นโปรตอนประมาณร้อยละ ๙๐ และพบอิเล็กตรอน อนุภาคแอลฟาด้วย เกิดมาจากอวกาศนอกโลกพุ่งมาสู่โลก ยังไม่ทราบแหล่งกำเนิดแน่นอน. |
รังสีบีตา | ดู บีตา. |
รังสีแพทย์ | น. แพทย์ที่วิเคราะห์และรักษาโรคโดยใช้ความรู้ทางรังสีวิทยา. |
รังสีเรินต์เกน | ดู รังสีเอกซ์. |
รังสีวิทยา | น. วิทยาศาสตร์แขนงที่ว่าด้วยรังสีเอกซ์และกัมมันตภาพรังสี รวมทั้งการใช้รังสีวิเคราะห์และรักษาโรค. |
รังสีเหนือม่วง | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐–๗ เมตร กับ ๕ x ๑๐–๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗–ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7–dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, อัลตราไวโอเลต ก็เรียก. |
รังสีเอกซ์ | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นอยู่ประมาณระหว่าง ๕ x ๑๐–๙ เมตร ถึง ๖ x ๑๐–๑๒ เมตร ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์ ทางวิศวกรรม เป็นต้น, รังสีเรินต์เกน หรือ เอกซเรย์ ก็เรียก |
รังสีเอกซ์ | เรียกการถ่ายภาพอวัยวะภายในโดยใช้รังสีเอกซ์ว่า การถ่ายภาพเอกซเรย์, เรียกการรักษาโรคมะเร็งและโรคผิวหนังบางประเภท โดยใช้รังสีเอกซ์ที่มีช่วงคลื่นสั้นกว่าที่ใช้ถ่ายภาพ ว่า การฉายเอกซเรย์ หรือ การฉายแสง. |
รังสีแอลฟา | ดู แอลฟา. |
สหัสรังสี | (สะหัดสะ-) น. พันแสง หมายถึง พระอาทิตย์. |
แกมมา | น. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโฟตอน (photon) ที่มีพลังงานสูงมาก มีช่วงคลื่นสั้นมาก มักเรียกกันว่า รังสีแกมมา เคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๓๐๐, ๐๐๐ กิโลเมตร/วินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุได้สูง สามารถเจาะทะลุแผ่นตะกั่วหนาหลายเซนติเมตรได้ เกิดจากการเสื่อมสลายของสารกัมมันตรังสี เช่น ธาตุเรเดียม ธาตุโคบอลต์-๖๐ หรือเกิดจากการที่อนุภาคบีตาพุ่งชนอะตอมของธาตุ ใช้ประโยชน์ในการแพทย์รักษาโรคมะเร็งและในการเกษตร. |
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า | น. คลื่นที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความเข้มของสนามแม่เหล็กและไฟฟ้าที่เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน ได้แก่ คลื่นวิทยุ อินฟราเรด แสงที่มองเห็นได้ อัลตราไวโอเลต เอกซเรย์ รังสีแกมมา และ รังสีคอสมิก. |
คูเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๖ สัญลักษณ์ Cm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
แคลิฟอร์เนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๘ สัญลักษณ์ Cf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
ดาวฤกษ์ | น. ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลม สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว. |
ทอเรียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๐ สัญลักษณ์ Th เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาเข้ม หลอมละลายที่ ๑๗๕๐ ° ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี ใช้ประโยชน์นำไปผสมกับโลหะอื่นให้เป็นโลหะเจือ. |
เทคนีเชียม | น. ธาตุลำดับที่ ๔๓ สัญลักษณ์ Tc เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
เนปทูเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๓ สัญลักษณ์ Np เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็งสีเงิน. |
โนเบเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๒ สัญลักษณ์ No เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
บีตา | น. ชื่ออนุภาคที่พุ่งออกมาจากนิวเคลียสของอะตอมกัมมันตรังสี มี ๒ ชนิด คือ อิเล็กตรอน และ โพซิตรอน. (อ. beta particle), มักเรียกกระแสอนุภาคบีตาว่า รังสีบีตา ซึ่งเคลื่อนที่ด้วยความเร็วประมาณ ๒๙๐, ๐๐๐ กิโลเมตรต่อวินาที มีอำนาจในการเจาะทะลุมากกว่ารังสีแอลฟา แต่น้อยกว่ารังสีแกมมา. |
เบอร์คีเลียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๗ สัญลักษณ์ Bk เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
ปฏิกรณ์ | น. เครื่องที่ใช้สำหรับก่อให้เกิดปฏิกิริยาแตกสลายทางนิวเคลียร์อย่างสมํ่าเสมอและควบคุมได้เพื่อผลิตพลังงาน สารกัมมันตรังสี เครื่องชนิดนี้มีหลายแบบ และใช้เชื้อเพลิงนิวเคลียร์ซึ่งมักเป็นแท่งยูเรเนียม, มักเรียกว่า เครื่องปฏิกรณ์ปรมาณู. |
พลูโทเนียม | (พฺลู-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๔ สัญลักษณ์ Pu เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
พอโลเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๘๔ สัญลักษณ์ Po เป็นธาตุกัมมันตรังสี ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๕๔ ºซ. |
โพซิตรอน | (-ตฺรอน) น. อนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง มีมวลเท่ากับอิเล็กตรอน มีประจุไฟฟ้าเท่ากับประจุไฟฟ้าของอิเล็กตรอน แต่เป็นประจุไฟฟ้าบวก เมื่อโพซิตรอนและอิเล็กตรอนอย่างละ ๑ อนุภาคมากระทบกัน ทั้งคู่จะทำลายล้างกันสูญหายไปด้วยกันทั้งสิ้น และให้พลังงานมากมายเกิดขึ้นในรูปของรังสีแกมมา, แอนติอิเล็กตรอน ก็เรียก. |
โพรโทแอกทิเนียม | (โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๙๑ สัญลักษณ์ Pa เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีเทาอ่อน หลอมละลายที่ ๑๒๓๐ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี, โพรแทกทิเนียม ก็เรียก. |
โพรมีเทียม | (โพฺร-) น. ธาตุลำดับที่ ๖๑ สัญลักษณ์ Pm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้นไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๑๐๒๗ °ซ. |
เฟอร์เมียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๐ สัญลักษณ์ Fm เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
แฟรนเซียม | (แฟฺรน-) น. ธาตุลำดับที่ ๘๗ สัญลักษณ์ Fr เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง หลอมละลายที่ ๒๗ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสี. |
มุมตกกระทบ | น. มุมระหว่างรังสีตกกระทบกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ. |
มุมสะท้อน | น. มุมระหว่างรังสีสะท้อนกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ. |
มุมหักเห | น. มุมระหว่างรังสีหักเหกับเส้นปรกติที่ลากผ่านจุดตกกระทบบนผิววัตถุ. |
เมนเดลีเวียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๑ สัญลักษณ์ Md เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
ยุทธภัณฑ์ | น. อาวุธ เครื่องอุปกรณ์ของอาวุธ สารเคมี สารชีวะ สารรังสี หรือเครื่องมือเครื่องใช้ที่อาจนำไปใช้ในการรบหรือการสงครามได้. |
ยูเรเนียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๒ สัญลักษณ์ U เป็นโลหะ ลักษณะเป็นของแข็ง สีขาว เนื้อแข็ง หลอมละลายที่ ๑๑๓๒ °ซ. เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ ใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงนิวเคลียร์. |
รัทเทอร์ฟอร์เดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๔ สัญลักษณ์ Rf เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ ในสหพันธรัฐรัสเซียเรียกชื่อธาตุนี้ว่า เคอร์ชาโทเวียม (kurchatovium) และใช้สัญลักษณ์ Ku. |
เรดอน | น. ธาตุลำดับที่ ๘๖ สัญลักษณ์ Rn เป็นแก๊สกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ ลักษณะเป็นแก๊สเฉื่อย. |
เรเดียม | น. ธาตุลำดับที่ ๘๘ สัญลักษณ์ Ra เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่มีปรากฏในธรรมชาติ เป็นโลหะที่หายากมาก หลอมละลายที่ ๗๐๐ ºซ. ใช้ประโยชน์ในทางแพทย์สำหรับรักษาโรคมะเร็ง. |
ฤกษ์ ๓ | (เริก) น. เรียกดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊สทรงกลมที่สามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว ว่า ดาวฤกษ์. |
ลอว์เรนเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๑๐๓ สัญลักษณ์ Lr (ใช้ Lw ก็มี) เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
สเปกตรัม | น. ผลที่ได้จากการที่การแผ่รังสีของแม่เหล็กไฟฟ้าถูกแยกออกเป็นองค์ประกอบต่าง ๆ ตามขนาดของช่วงคลื่นหรือความถี่ขององค์ประกอบนั้น ๆ. |
อะเมริเซียม | น. ธาตุลำดับที่ ๙๕ สัญลักษณ์ Am เป็นธาตุกัมมันตรังสีที่นักวิทยาศาสตร์สร้างขึ้น ไม่มีปรากฏในธรรมชาติ. |
อัลตราไวโอเลต | น. รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าซึ่งมีย่านของการแผ่รังสีที่มีช่วงคลื่นประมาณระหว่าง ๔ x ๑๐-๗เมตร กับ ๕ x ๑๐-๙ เมตร แสงแดดมีรังสีอัลตราไวโอเลต ซึ่งจะมีปฏิกิริยาต่อสาร ๗-ดีไฮโดรคอเลสเทอรอล (7-dehydrocholesterol) ในผิวหนังมนุษย์ ให้กลายเป็นวิตามินดี, รังสีเหนือม่วง ก็เรียก. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
Pneumoencephalogram | ภาพรังสีโพรงสมองมีอากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Pneumoencephalography | การถ่ายภาพรังสีโพรงสมองหลังฉีดอากาศ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelogram | ไพอีโลแกรม, ภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyelography | การทำไพอีโลแกรม, การถ่ายภาพรังสีกรวยไต [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviography; pelvioradiography; pelviradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelvioradiography; pelviography; pelviradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
planigraphy; laminagraphy; laminography; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviradiography; pelviography; pelvioradiography; pelviroentgenography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pelviroentgenography; pelviography; pelvioradiography; pelviradiography | การถ่ายภาพรังสีเชิงกราน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyranometer | มาตรรังสีอาทิตย์รวม, ไพรานอมิเตอร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
pathoradiology | พยาธิรังสีวิทยา [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pyrheliometer | มาตรรังสีอาทิตย์ตรง, ไพร์ฮีลิออมิเตอร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
parabolic trough collector | ตัวเก็บรังสีแบบรางพาราโบลา [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
planography; laminagraphy; laminography; planigraphy; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phlebogram; venogram | ๑. ภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. ภาพบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
phlebography; venography | ๑. กระบวนการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดดำ๒. การบันทึกชีพจรหลอดเลือดดำ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laminography; laminagraphy; planigraphy; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laminagraphy; laminography; planigraphy; planography; stratigraphy; tomography | การถ่ายภาพรังสีระนาบ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lymphangiography | การถ่ายภาพรังสีหลอดน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
light radiation welding | การเชื่อมด้วยรังสีแสง [การเชื่อม ๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] |
lymphography | การถ่ายภาพรังสีระบบน้ำเหลือง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiocarbon dating; carbon dating | การหาอายุจากคาร์บอนกัมมันตรังสี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
radiochemistry | รังสีเคมี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiochemy | ผลกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiocurable | -รักษาหายด้วยรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiocystitis; cystitis, radiation | กระเพาะปัสสาวะอักเสบเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiodermatitis; radioepidermitis | ผิวหนังอักเสบเหตุรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiodiagnosis | รังสีวินิจฉัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiodiagnostics | รังสีวินิจฉัยศิลป์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiodontia | รังสีทันตกรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiodontics | รังสีทันตศาสตร์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiophobia | อาการกลัวรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiophosphorus; radioactive phosphorus | ฟอสฟอรัสกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiophotography | การถ่ายภาพรังสีวาวแสง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiophylaxis | ผลรังสีรักษาแบบป้องกัน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radiopraxis | รังสีเวชกรรม [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioreaction | ปฏิกิริยาต่อรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioresistance | ความต้านรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioresistant | -ต้านรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioresponsive | ๑. -สนองรังสี๒. ไวต่อรังสี [ มีความหมายเหมือนกับ radiosensitive ] [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioscope; fluoroscope; roentgenoscope | เครื่องกำเนิดภาพรังสี, รังสีทรรศน์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive carbon; radiocarbon | คาร์บอนกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive element; radioelement | ธาตุกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive gold; radiogold | ทองกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive iodine; radioiodine | ไอโอดีนกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive iron; radioiron | เหล็กกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive isotope; radioisotope | ไอโซโทปกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive lead; radiolead | ตะกั่วกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
radioactive mineral | แร่กัมมันตรังสี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
radioactive phosphorus; radiophosphorus | ฟอสฟอรัสกัมมันตรังสี [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Radioactive waste | กากกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiation | การฉายรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Diagnostic imaging | การดูภาพทางรังสีวินิจฉัย [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Infrared | รังสีอินฟราเรด [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactive element | ธาตุกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Gamma ray brusts | การระเบิดของรังสีแกมมา [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactive substance | สารกัมมันตรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactivity | กัมมันตภาพรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiography | การบันทึกภาพด้วยรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radioactive contamination of milk | การปนเปื้อนกัมมันตรังสีในน้ำนม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Solar radiation | การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Radiotherapy | การรักษาด้วยรังสี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Absorbed dose | ปริมาณ (รังสี) ดูดกลืน, Absorbed dose, D<sub>T, R</sub> ปริมาณพลังงานที่วัตถุดูดกลืนไว้เมื่อได้รับรังสี มีหน่วยเป็น เกรย์ ปกติจะระบุชนิดของวัตถุและชนิดของรังสี โดยเขียนเป็นสัญลักษณ์ดังนี้ D<sub>material, radiation</sub> เช่น D<sub>lung, alpha </sub>ยกเว้นรังสีแกมมาอาจไม่ต้องระบุชนิดของรังสี เช่น Dwater (ดู gray, Gy ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Absorber | สารดูดกลืน, วัสดุใดๆ ที่สามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของ<em>รังสีชนิดก่อไอออน</em> ตัวอย่างของสารดูดกลืน<em>นิวตรอน</em> เช่น แฮฟเนียม หรือ แคดเมียม ใช้เป็นแท่งควบคุมใน<em>เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์</em> สารดูดกลืนรังสีแกมมา เช่น คอนกรีตและเหล็ก ใช้เป็นวัสดุกำบังรังสีในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ แผ่นกระดาษหรือแผ่นโลหะบางสามารถดูดกลืนหรือลดความเข้มของรังสีแอลฟาได้ [นิวเคลียร์] |
Actinide series | อนุกรมแอกทิไนด์, กลุ่มธาตุในตารางพีริออดิก ตั้งแต่ลำดับที่ 89 แอกทิเนียม (actinium, Ac) จนถึงลำดับที่ 103 ลอว์เรนเซียม (lawrencium, Lr) รวม 15 ธาตุ ซึ่งเป็นธาตุกัมมันตรังสีทั้งสิ้น [นิวเคลียร์] |
Action level | ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน [นิวเคลียร์] |
Activation | การก่อกัมมันตภาพรังสี, กระบวนการทำให้ธาตุเกิดกัมมันตภาพรังสีโดยการระดมยิงธาตุนั้นๆ ด้วยนิวตรอน โปรตอน หรือ อนุภาคอื่นๆ ตัวอย่างการก่อกัมมันตภาพรังสี เช่น การผลิตสารไอโซโทปกัมมันตรังสีไอโอดีน-131 โดยการระดมยิงธาตุเทลลูเรียมด้วยนิวตรอน [นิวเคลียร์] |
Activation analysis | การวิเคราะห์เชิงก่อกัมมันตภาพรังสี, การจำแนกชนิดและตรวจหาปริมาณของธาตุในสารตัวอย่าง โดยการตรวจวัดรังสีแกมมาลักษณะเฉพาะที่ปลดปล่อยจาก <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดขึ้นจากการนำสารตัวอย่างนั้นไปก่อกัมมันตภาพรังสี (ดู Activation ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Activation products | ผลผลิตจากการก่อกัมมันตภาพรังสี, <em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ที่เกิดจาก<em>การก่อกัมมันตภาพรังสี</em> (ดู Fission products ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Activity | กัมมันตภาพ, <em>การสลาย</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยเวลา ปัจจุบันหน่วยที่ใช้ คือ <em>เบ็กเคอเรล</em> คำนี้ตามรายงานฉบับที่ 33 ของคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านหน่วยและการวัดรังสี (International Commission on Radiation Units and Measurement: ICRU No. 33) ให้ความหมายว่า เป็นจำนวนของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในขณะใดขณะหนึ่งที่สลายเปลี่ยนแปลงไปต่อวินาที (ดู Becquerel, Bq และ Curie, Ci ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Activity concentration | ความเข้มข้นกัมมันตภาพ, <em>กัมมันตภาพ</em>ของ<em>นิวไคลด์กัมมันตรังสี</em>ต่อหน่วยปริมาตร เช่น เบ็กเคอเรลต่อมิลลิลิตร (Bq/ml) มิลลิคูรีต่อมิลลิลิตร (mCi/ml) [นิวเคลียร์] |
Acute exposure | การรับรังสีเฉียบพลัน, การรับปริมาณรังสีในระยะเวลาสั้นซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
Acute intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
As Low As Reasonably Achievable | อะลารา, การดำเนินการใดๆ ในทางปฏิบัติที่ทำให้งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์โดยได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ [นิวเคลียร์] |
Annual Limit on Intake | เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี [นิวเคลียร์] |
Alpha particle | อนุภาคแอลฟา, อนุภาคที่มีประจุบวก ประกอบด้วย<em>โปรตอน</em> 2 อนุภาค และ<em>นิวตรอน</em> 2 อนุภาค ซึ่งเหมือนกับนิวเคลียสของฮีเลียม-4 มีความสามารถในการทะลุทะลวงต่ำ ผ่านอากาศได้เพียง 2-3 เซนติเมตร และไม่สามารถทะลุผ่านแผ่นกระดาษหรือผิวหนังได้ อนุภาคแอลฟาเกิดจาก<em>การสลาย</em>ของสารกัมมันตรังสีบางชนิด เช่น ยูเรเนียม และทอเรียม [นิวเคลียร์] |
Alpha ray | รังสีแอลฟา, กระแสของ<em>อนุภาคแอลฟา</em> หรืออาจใช้เรียกแทนอนุภาคแอลฟาได้ <br>(ดู Alpha particle ประกอบ)</br> [นิวเคลียร์] |
Ambient dose equivalent | ปริมาณรังสีสมมูลโดยรอบ, ปริมาณรังสีสมมูลที่อ้างอิงกับทรงกลมไอซีอาร์ยู ใช้ในการปรับเทียบปริมาณรังสียังผลของเครื่องมือตรวจวัดรังสี (ดู ICRU sphere ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Annihilation | ประลัย, ปฏิกิริยาระหว่างอนุภาคกับปฏิยานุภาคของอนุภาคนั้นๆ แล้วอนุภาคทั้งสองหายไปกลายเป็นรังสีแกมมาพลังงานเท่ากันเคลื่อนที่ออกไปในทิศทางตรงข้ามกัน เช่นการรวมตัวของอิเล็กตรอนกับโพซิตรอน ได้รังสีแกมมาพลังงานรวม 1.02 ล้านอิเล็กตรอนโวลต์ (ดู Antimatter ประกอบ), Example: [นิวเคลียร์] |
Annual dose | ปริมาณรังสีรอบปี, ปริมาณรังสีรวมในรอบปีที่ได้รับจากภายนอกร่างกาย และจากนิวไคลด์กัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย, Example: [นิวเคลียร์] |
Area monitoring | การเฝ้าสังเกตพื้นที่, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัดพื้นที่ในสถานปฏิบัติการทางรังสี ณ ตำแหน่งต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
Atomic energy | พลังงานอะตอม, พลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเมื่อมีการแบ่งแยกนิวเคลียสหรือการหลอมนิวเคลียสของอะตอม หรือจากการสลายของสารกัมมันตรังสี ปัจจุบันนิยมใช้ “พลังงานนิวเคลียร์" [นิวเคลียร์] |
Attenuation | การลด (ความเข้มของรังสี), การลดลงของความเข้มของรังสีเมื่อผ่านสสารเนื่องจากกระบวนการดูดกลืนและการกระเจิงรังสี [นิวเคลียร์] |
Autoradiograph | ภาพรังสีในตัว, ภาพบันทึกการกระจายของรังสีจากสารกัมมันตรังสีในวัตถุหรือสิ่งมีชีวิต โดยวางวัตถุนั้นไว้ใกล้แผ่นฟิล์มถ่ายภาพหรือเยื่อไวแสง (emulsion) รังสีที่แผ่ออกมาจะทำให้เกิดภาพบนแผ่นฟิล์มหรือเยื่อไวแสง (ดู radiography ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Avertable dose | ปริมาณรังสีลดได้, ปริมาณรังสีที่ได้รับซึ่งสามารถลดได้ ถ้ามีการใช้มาตรการป้องกัน, Example: [นิวเคลียร์] |
Averted dose | ปริมาณรังสีลดลง, ปริมาณรังสีที่ป้องกันได้เมื่อใช้มาตรการป้องกัน ซึ่งเป็นผลต่างของปริมาณรังสีที่คาดว่าจะได้รับ ในกรณีที่ไม่ใช้และใช้มาตรการป้องกัน [นิวเคลียร์] |
Background radiation | รังสีพื้นหลัง, รังสีจากสิ่งแวดล้อมซึ่งมีที่มาจากหลายแหล่ง เช่น รังสีคอสมิกจากอวกาศ รังสีจากสารกัมมันตรังสีตามธรรมชาติที่มีอยู่ในดิน น้ำ อากาศ อาหาร รวมทั้งที่มีอยู่ในร่างกายมนุษย์ (ดู natural exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Becquerel | เบ็กเคอเรล, หน่วยเอสไอที่ใช้วัดกัมมันตภาพ ปัจจุบันใช้แทนหน่วยคูรี 1 เบ็กเคอเรล หมายถึง การสลายตัวของนิวไคลด์กัมมันตรังสี 1 ครั้งต่อวินาที (ดู curie, Ci ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Biological half-life | ครึ่งชีวิตทางชีวภาพ, ระยะเวลาที่สารกัมมันตรังสีในเนื้อเยื่อ อวัยวะ หรือร่างกายลดลงครึ่งหนึ่ง อันเนื่องมาจากกระบวนการทางชีวภาพ [นิวเคลียร์] |
Boron Neutron Capture Therapy | บีเอ็นซีที, รังสีรักษาโดยการจับยึดนิวตรอน, การรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งบางชนิด โดยการฉีดสารประกอบโบรอนเสถียรให้ไปสะสมในเซลล์มะเร็ง แล้วฉายรังสีนิวตรอนไปที่บริเวณนั้น อะตอมโบรอนจะจับยึดนิวตรอนไว้กลายเป็นโบรอนกัมมันตรังสี ซึ่งจะสลายพร้อมกับปล่อยอนุภาคแอลฟาออกมาทำลายเซลล์มะเร็งนั้น (ดู neutron capture ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Body burden | ปริมาณสะสมในร่างกาย, ปริมาณสารกัมมันตรังสีที่อยู่ภายในร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์ (ดู Background radiation และ Wholebody counter ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Bone marrow syndrome | กลุ่มอาการทางไขกระดูก, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 1 เกรย์ ขึ้นไป ทำให้เกิดการลดลงของเม็ดเลือดและก่อให้เกิดอาการต่างๆ เช่น อ่อนเพลีย โลหิตจาง ร่างกายติดเชื้อง่าย เลือดไหลไม่หยุด (ดู Radiation syndrome, Gastrointestinal syndrome และ Cerebrovascular syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Brachytherapy | รังสีรักษาระยะใกล้, การรักษาโดยใช้สารกัมมันตรังสีที่เป็นของแข็ง ฝังไว้ในร่างกายใกล้ๆ กับบริเวณที่ต้องการรักษา, Example: [นิวเคลียร์] |
Bragg’s law | กฎของแบรกก์, กฎที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ มุมตกกระทบและระยะห่างของอะตอมซึ่งเป็นเงื่อนไขของการเกิดปรากฏการณ์การเลี้ยวเบนรังสีเอกซ์ กฎนี้ ดับเบิลยู. แอล. แบรกก์ (W. L. Bragg) คิดขึ้น ในปี พ.ศ. 2455 และได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ร่วมกับบิดา คือ ดับเบิลยู. เอช. แบรกก์ (W. H. Bragg) ในปี พ.ศ. 2458 [นิวเคลียร์] |
Bremsstrahlung | เบรมส์ชตราลุง, รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกปล่อยออกมา เมื่ออนุภาคที่มีประจุถูกเร่งให้เร็วขึ้น หรือถูกหน่วงให้ช้าลง รังสีเอกซ์จากเครื่องเอกซเรย์ทั่วไปก็เป็นรังสีชนิดนี้ [นิวเคลียร์] |
Burst reactor | เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์แบบทวีกำลัง, เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์วิจัยที่สามารถเพิ่มกำลังและรังสีให้สูงขึ้นในช่วงเวลาสั้นๆ ซ้ำๆ กันได้ โดยนิวตรอนฟลักซ์ในระหว่างการทวีกำลังแต่ละครั้งมีค่าสูงมากเกินกว่าการเดินเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในสภาวะปกติ [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Cerebrovascular syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Central nervous system syndrome | กลุ่มอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง, กลุ่มอาการป่วยจากการได้รับรังสีที่มีอำนาจทะลุทะลวงสูงจากภายนอกทั่วร่างกายในระยะเวลาสั้นๆ ปริมาณตั้งแต่ 50 เกรย์ขึ้นไป อาการที่เกิดได้แก่ กระวนกระวาย สับสน คลื่นไส้และอาเจียนอย่างรุนแรง ไม่รู้สึกตัว และจะเสียชีวิตภายในระยะเวลาอันสั้น (ดู Radiation syndrome, Bone marrow syndrome และ Gastrointestinal syndrome ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อาหารฉายรังสี | [āhān chāi rangsī] (n, exp) EN: irradiated food |
ฉายรังสี | [chāi rangsī] (v, exp) EN: treat by radiation |
กัมมันตภาพรังสี | [kammantaphāprangsī] (n) EN: radioactivity FR: radioactivité [ f ] |
การแผ่รังสี | [kān phaērangsī] (v) EN: radiation FR: radiation [ f ] |
การแผ่รังสีความร้อน | [kān phaērangsī khwām røn] (n, exp) EN: heat radiation |
การพารังสี | [kān phārangsī] (n) EN: convection FR: convection [ f ] |
แผ่รังสี | [phaērangsī] (v) EN: radiate FR: irradier |
ภาพรังสีหลอดเลือด | [phāp rangsī løl leūat] (n) EN: angiogram |
รังสี = รังสิ | [rangsī = rangsi] (n) EN: ray ; beam of light ; radiation ; radioactivity FR: rayonnement [ m ] ; radiation [ f ] ; rayon [ m ] ; faisceau lumineux [ m ] |
รังสี | [rangsī] (n) FR: demi-droite [ f ] |
รังสีแอลฟา | [rangsī aēlfā] (n, exp) EN: alpha rays FR: rayons alpha [ mpl ] |
รังสีอัลฟา | [rangsī anfā = rangsī alfā] (n, exp) EN: alpha rays FR: rayons alpha [ mpl ] |
รังสีอัลตราไวโอเลต | [rangsī antrāwaiōlēt] (n, exp) EN: UV FR: rayonnement ultraviolet [ m ] ; UV [ mpl ] |
รังสีเบตา | [rangsī bētā] (n, exp) EN: beta rays FR: rayons bêta [ mpl ] |
รังสีบีตา | [rangsī bītā] (n, exp) EN: beta rays FR: rayons bêta [ mpl ] |
รังสีเอ็กซ์ | [rangsī eks] (n, exp) EN: x-ray FR: rayons X |
รังสีอินฟราเรด | [rangsī infrārēt] (n, exp) EN: infrared FR: rayonnement infrarouge [ m ] |
รังสีแกมม่า | [rangsī kaēmmā] (n, exp) EN: gamma rays FR: rayons gamma [ mpl ] |
รังสีคอสมิก | [rangsī khøtmik] (n, exp) EN: cosmic rays FR: rayonnement cosmique [ m ] ; rayons cosmiques [ mpl ] |
รังสีความร้อน | [rangsī khwāmrøn] (n, exp) EN: infrared rays ; infrared FR: rayons infrarouges [ mpl ] |
รังสีแพทย์ | [rangsīphaēt] (n) EN: radiologist FR: radiologue [ m ] |
รังสีตกกระทบ | [rangsī tokkrathop] (n, exp) EN: incident ray FR: rayon incident [ m ] |
รังสีวิทยา | [rangsīwitthayā] (n) EN: radiology FR: radiologie [ f ] |
แถบการแผ่รังสี | [thaēp kān phaērangsī] (n, exp) FR: zone radiative [ f ] |
แถบการพารังสี | [thaēp kān phārangsī] (n, exp) FR: zone convective [ f ] |
ทำให้เกิดภาวะกัมมันตภาพรังสี | [thamhaikoēt phāwa kammantaphāprangsī] (x) EN: activate FR: rendre radioactif |
Longdo Approved EN-TH
CT | (n, abbrev) ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (Computerized axial tomography) |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
actinium | (n) ธาตกัมมันตรังสีทีมีสัญลักษณ์ Ac |
actinology | (n) วิทยาศาสตร์ในสาขาที่เกี่ยวกับรังสีของแสงและปฏิกิริยาของแสง |
activate | (vt) ทำให้เป็นกัมมันตภาพรังสี |
alpha ray | (n) ลำรังสีของกลุ่มอนุภาคแอลฟา |
americium | (n) ธาตุกัมมันตรังสีที่เกิดจากการยิงธาตุฮีเลียมด้วยธาตุยูเรเนียมและพลูโตเนียม |
beam | (vt) แผ่รังสี, Syn. ray |
beamed | (adj) ซึ่งมีลำแสง, See also: ซึ่งแผ่รังสี |
cobalt | (n) โคบอลต์, See also: กัมมันตภาพรังสีโคบอลต์ |
cosmic ray | (n) รังสีคอสมิก |
decay | (n) การสลายกัมมันตรังสี (ทางนิวเคลียร์ฟิสิกส์), See also: การสลายอนุภาคหรือรังสี, Syn. disintegration, degeneration, radioactive decay |
decontaminate | (vt) ขจัดสิ่งปนเปื้อน, See also: ขจัดพิษ, ขจัดสารเคมีที่ไม่ต้องการ, กำจัดรังสี, Syn. remove contamination, Ant. contaminate |
emission | (n) การปล่อยพลังงาน, See also: การเปล่ง, การแผ่รังสี, Syn. radiation |
fallout | (n) ฝุ่นกัมมันตรังสีหลังนิวเคลียร์ระเบิด |
fermium | (n) ธาตุกัมมันตรังสี (สัญลักษณ์คือ Fm) |
fluorescence | (n) การเรืองแสง, See also: รังสีที่ปล่อยออกมาจากการเรืองแสง |
gamma ray | (n) รังสีแกมมา |
Geiger counter | (n) เครื่องวัดกัมมันตภาพรังสี |
halo | (n) รัศมี, See also: ฉัพพรรณรังสี, Syn. glory, nimbus |
insulate | (vt) ห่อหุ้มด้วยฉนวน (ป้องกันความร้อน, กระแสไฟ, รังสีฯลฯ) |
irradiate | (vt) ฉายรังสี (เพื่อถนอมอาหาร) |
irradiation | (n) การฉายรังสี |
mammography | (n) การเอ็กซเรย์เต้านม, See also: การตรวจเต้านมด้วยรังสีเอ็กซเรย์ |
mendelevium | (n) ธาตุกัมมันตรังสี |
radio | (prf) แท่ง, See also: รัศมี, รังสี |
photosensitive | (adj) ไวต่อแสงหรือรังสีอย่างผิดปกติ |
photosphere | (n) ขอบข่ายของแสงหรือรังสี |
plutonium | (n) พลูโทเนียม, See also: ธาตุกัมตภาพรังสีชนิดหนึ่ง |
polonium | (n) ธาตุกัมตรังสีพอโลเนียม |
radiant | (adj) ซึ่งปล่อยความร้อนหรือแสงออกมาในรูปของรังสีหรือพลังงาน (ทางฟิสิกส์), See also: ซึ่งแผ่รังสีจากจุดศูนย์กลาง |
radiant energy | (n) พลังงานที่เกิดจากการแผ่รังสี |
radiate | (vi) แผ่รังสี (ทางฟิสิกส์), See also: ปล่อยพลังงาน ความร้อน / แสง ออกมาในรูปรังสีหรือคลื่น |
radiate | (vt) แผ่รังสี (ทางฟิสิกส์), See also: ปล่อยพลังงาน ความร้อน / แสง ออกมาในรูปรังสีหรือคลื่น, Syn. emit |
radiation | (n) รังสี, See also: พลังงานจากรังสีหรือคลื่น |
radiation sickness | (n) โรคที่เกิดจากการได้รับรังสีหรือกัมมันตภาพรังสีมากเกินไป |
radiator | (n) สิ่งที่ปล่อยรังสี, Syn. emitter |
radio | (adj) ที่เกี่ยวกับรังสี |
radioactive | (adj) เกี่ยวกับกัมมันตภาพรังสี |
radiocarbon | (n) กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ |
radioisotope | (n) ไอโซโทปที่มีกัมมันตภาพรังสีของธาตุใช้ทางการแพทย์หรือชีววิทยา |
radiologist | (n) แพทย์รังสีวิทยา |
radiology | (n) รังสีวิทยา |
radiometer | (n) เครื่องวัดพลังงานรังสี |
radiotherapy | (n) รังสีบำบัด, See also: การรักษาโรคด้วยรังสี, Syn. radiation therapy |
radium | (n) ธาตุกัมมันตภาพรังสีชนิดหนึ่ง, See also: ธาตุเรเดียม |
radon | (n) ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง (มีลักษณะเป็นแกซ) |
ray | (n) รังสี, See also: รัศมี, ลำแสง, Syn. beam, flash, light, gleam |
ray | (vi) ปล่อยรังสี, See also: ปล่อยรัศมี |
rem | (n) หน่วยวัดปริมาณรังสี |
roentgen | (n) รังสีเอ็กซ์ |
scanner | (n) เครื่องตรวจด้วยเสียงหรือรังสี, See also: อุปกรณ์รับและส่งสัญญาณ, เครื่องแสกนเนอร์ |
Hope Dictionary
absorption coefficient | สัมประสิทธิ์ของอัตราที่ลดลงของความเข็มช้นของรังสีเมื่อผ่านสาร ๆ หนึ่ง |
actinal | (แอค' ทินัล) adj. ซึ่งมีหนวดหรือส่วนยื่นหรือรังสี (having tentacles or rays) |
actinic | (แอคทิน' นิค) adj. เกี่ยวกับคุณสมบัติของการแผ่รังสี, มีรังสี (pertaining to actinism) |
actinic ray physics. | รังสีคลื่นสั้น, รังสีพันสีม่วง (which produces photochemical effects) |
actinide series | (แอค' ทิไนดฺ) chem. อนุกรมของธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เริ่มจากธาตุ Actinium จนถึงธาตุ Lawrencium |
actinism | (แอค' ทินิสซึม) n. คุณสมบัติการแผ่รังสีซึ่งมีผลทางเคมี |
actinium | (แอคทิน' เนียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีที่มีสัญลักษณ์ AC; at. no, :89; at. wt.: 227; half life: 13.5 years |
actino- | (คำเสริมหน้า) เกี่ยวกับการแผ่กัมมันตภาพรังสี, เกี่ยวกับการแผ่ออก., Syn. actin- |
actinoid | (แอค' ทินอยด์) adj. ซึ่งคล้ายรังสี |
actinometer | (แอคทินอม' มิเทอะ) n. เครื่องมือวัดความเข้มข้นการแผ่รังสี. -actinometric adj. actinometry n. |
actinouranium | (แอคทิโนยูเร' เนียม) n. isotope ของ uranium มันมีกัมมันตภาพรังสี และมีมวลเท่ากับ 235 (a radioactive isotope of uranium) |
activate | (แอค' ทิเวท) vt. กระตุ้น, ทำให้เกิดภาวะกัมมันตภาพรังสี. -activator n. |
active | (แอค' ทิฟว) adj. คล่องแคล่ว, กระตือรือร้น, สามารถเคลื่อนไหวเองได้, มีลักษณะเป็นกัมมันตภาพรังสี, มีประสิทธิภาพ, เป็นผลเร็ว, สมมันต์, สกรณ์ -activism n., Syn. energize |
alpha decay | ขบวนการแผ่กัมมันตภาพรังสีที่อนุภาคแอลฟ่าถูกขับออกจากนิวเคลียสของอะตอม ทำให้ atomic number ลดลงไปสอง |
alpha ray | ลำของกลุ่มอนุภาคแอลฟ่า, รังสีแอลฟ่า |
americium | (แอมมะริช' เชียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีที่เกิดจากการยิงธาตุฮีเลียมด้วยธาตุยูเรเนียมและพลูโตเนียม (a radioactive element) |
atomic cocktail | ปริมาณสารกัมมันตภาพรังสีที่ใช้ในการรักษาหรือวินิจฉัยมะเร็ง |
autoradiograph | (ออโทรเร'ดีโอกราฟ) n. ภาพถ่ายแสดงการมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมอยู่., Syn. radioautograph -autoradiography n. |
beam | (บีม) n. คาน, ไม้ขวาง, ขื่อแป, รอด, คร่าว, คันรถ, คันชั่ง, คันไถ, แกนที่ม้วนได้, คานหาม, เขาแกน, ลำแสง, ลำรังสีขนานกัน, สัญญาณวิทยุ, สีหน้าที่ปิติยินดี vi. แผ่รังสีหรือลำแสง, ส่งสัญญาณวิทยุ, เปล่งยิ้มหรือมีสีหน้าที่ปิติยินดี |
carbon 14 | n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon |
carbon-14 | n. ธาตุคาร์บอนกัมมันตภาพรังสี. ดู radiocarbon |
clean | (คลีน) adj. สะอาด, เกลี้ยง, หมดจด, ไม่มีมลทิน, บริสุทธิ์, สุจริต, ไม่หยาบคาย, ไม่มีกัมมันตภาพรังสี, ไม่มีรอยแก้, ไม่มีอุปสรรค์, เป็นระเบียบเรียบร้อย, ไม่มีทั้งสิ้น, ไร้เดียงสา, ไม่มีอาวุธซ่อนอยู่ -adv. อย่างสะอาด, รักสะอาด, สมบูรณ์, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น. vt. ลบออก, ขจัดออก. v |
curie | (คิว'รี) n. หน่วยกัมมันตภาพรังสี |
deactivate | (ดีแอค'ทะเวท) vt. ทำให้เคลื่อนไหวไม่ได้, ยับยั้งฤทธิ์ของ, ทำให้ใช้การไม่ได้, ทำให้ไม่ได้ผล vi. สูญเสียกัมมันตรังสี., See also: deactivator n. ดูdeactivate deactivation n. ดูdeactivate |
decay | (ดิเค') { decayed, decaying, decays } vt., n. (การ) เน่าเปื่อย, ผุพัง, เสื่อมลง, ปล่อยกัมมันตภาพรังสี vi. ทำให้เน่าเปื่อย, ทำให้ผุพัง, ทำให้เสื่อมลง., Syn. deteriorate |
dirty | (เดอร์'ที) adj. สกปรก, น่าเกลียด, ชั่วช้า, เลวทราม, ไม่ชัดเจน, ลามก, แพศยา, น่าเบื่อหน่าย, โชคร้าย, สลัว, ทึมทึบ, น่าเสียใจ, ซึ่งปล่อยกัมมันตภาพรังสีออกมาค่อนข้างมาก, เป็นหนอง, ลาม (บาดแผล) . vt. ทำให้สกปรก, ทำให้เปรอะเปื้อน, Syn. soiled |
dose | (โดสฺ) n. ปริมาณยาที่ให้ต่อครั้ง, ปริมาณรังสีที่ให้ต่อครั้ง vt. ให้ยาvi. รับยา |
dosimeter | (โดซิม'มิเทอะ) n. อุปกรณ์วัดปริมาณกับมันตรังสี, การวัดปริมาณยาที่ให้., See also: dosimetric adj. |
effulgent | (อิฟัล'เจินทฺ) adj. โชติช่วง, เปล่งปลั่ง, ส่งรังสี, See also: effulgence n. ดูeffulgent |
einsteinium | ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง, Es. |
eradiate | (อิเร'ดิเอท) vi., vt. ปล่อยรังสี, แผ่รังสี, See also: eradiation n. ดูeradiate |
francium | (แฟรน'เซียม) n. ธาตุกัมมันตรังสีชนิดหนึ่ง, Fr |
gas plasma display | จอภาพก๊าซพลาสมาหมายถึง จอภาพพิเศษที่ออกแบบให้ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดวางตัก (laptop) จอภาพชนิดนี้จะให้ความสว่างเรืองรองออกเป็นสีส้ม ดูคล้าย ๆ กับกัมมันตภาพรังสี ใช้กำลังไฟสูง ราคาแพง และมักจะไม่มีสี (มีแต่สีขาว/ดำ) ปัจจุบันจอโทรทัศน์ก็ใช้จอแบบเดียวกันนี้ แต่มีสีสันสวยงาม |
geiger counter | (ไก'เกอะเคา'เทอะ) n. เครื่องตรวจรังสิ' (โดยเฉพาะกัมมันตภาพรังสี) |
half-life | n. ระยะเวลาที่อะตอมครึ่งหนึ่งของปริมาณสารกัมมันตรังสีที่กำหนดให้ที่จะสลายตัว -pl. half-lives, Syn. half-life period |
incidence | (อิน' ซิเดินซฺ) n. การบังเกิด, เหตุการณ์, การที่รังสีหรือลำแสงกระทบผิวหน้า |
infrared | (อินฟราเรด') n. รังสีใต้แดง มีความยาวคลื่นแสง0.8 - 1, 000ไมครอนส์ เป็นรังสีที่มองไม่เห็น., Syn. infra-red |
irradiation | (อิเรดิเอ'เชิน) n. การฉายรังสี, การส่องสว่าง, ปริมาณรังสีที่กระทบต่อหน่วยพื้นที่, Syn. irradiating, beam |
isotope | (ไอ'โซโทพฺ) n. ธาตุที่มีคุณสมบัติทางเคมีเหมือนกันแต่ต่างกันที่น้ำหนักอะตอมและประจุไฟฟ้าisotopeหลายชนิดที่มีกัมมันตภาพรังสี |
mendelevium | (เมนดะลี'เวียม) n. ธาตุกัมมันตรังสีที่มนุษย์สร้างขึ้น |
photosensitive | (โฟโทเซน'ซิทิฟว) adj. ไวต่อแสงหรือรังสีอย่างผิดปกติ., See also: photosensitivity n. photosensitiveness n. |
plutonium | (พลูโท'เนียม) n. ธาตุกัมมันตภาพรังสีชนิดหนึ่ง; Pu |
quantum | (ควอน'ทัม) n. หน่วยของพลังงานรังสี, Syn. radiant energy |
radiant | (เร'เดียนทฺ) adj. ซึ่งออกจากจุดศูนย์กลาง, ปล่อยแสง, สว่าง, ส่องสว่าง, ส่องสว่าง. n. รังสีที่แผ่ออก, Syn. shining, bright |
radiate | (เร'ดิเอท) vi. แผ่รังสี, ปล่อยออกมาเหมือนรังสี, ปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, แวววาวไปด้วย. adj. ออกจากจุดศูนย์กลาง, ซึ่งมีรังสีออกจากจุดสูนย์กลาง, See also: radiability n. radiably, adv., Syn. shine, spread out |
radiation | (เรดิเอ'เชิน) n. การแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า, พลังงานรังสี, สิ่งที่ถูกปล่อยออกจากจุดศูนย์กลาง, กัมมันตภาพรังสี. |
radiator | (เร'ดิเอเทอะ) n. สิ่งที่ปล่อยรังสี, เครื่องนำความร้อน, หม้อน้ำรถยนต์, หม้อที่ต่อกับท่อน้ำร้อนริมผนัง |
radio | (เร'ดิโอ) n. วิทยุ. adj. เกี่ยวกับวิทยุหรือใช้รังสี. -v. ถ่ายทอดโดยวิทยุ |
radio- | Pref. วิทยุ, ธาตุradium, มีกัมมันตภาพรังสี, เป็นรังสี, ปล่อยออกจากจุดกลาง |
radioactive | (เรดิโอแอค'ทิฟว) adj. เกี่ยวกับหรือเกิดจากกัมมันตภาพรังสี. |
Nontri Dictionary
beam | (vi) เปล่งแสง, สว่าง, แผ่รังสี, ส่งสัญญาณวิทยุ, ยิ้ม |
irradiate | (vi) ฉายแสง, ฉายรังสี |
radiate | (vi, vt) แผ่รังสี, ส่งแสง, กระจายเสียง, ปล่อยออกมา |
radiation | (n) กัมมันตภาพรังสี, การส่งแสง, การแผ่รังสี, การฉายแสง |
radiator | (n) หม้อน้ำรถยนต์, ท่อนำความร้อน, ผู้ปล่อยรังสี |
radius | (n) รังสี, รัศมี, ขอบเขต |
ray | (n) รังสี, ปลากระเบน |
ray | (vi) ปล่อยแสง, ปล่อยรังสี, ปล่อยรัศมี |
X-X-ray | (n) รังสีเอกซ์, ภาพเอกซ์เรย์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
absorbed dose | (n) ปริมาณรังสีดูดซึม--ปริมาณพลังงานรังสีนิวเคลียร์(หรืออนุภาคไออน) ที่แผ่ออกมาซึ่งหน่วยมวลของวัตถุรับไว้ หน่วยพลังงานรังสีนี้เรียกว่า "แรด" |
Absorptiometry | การวัดปริมาณรังสีที่ดูดซึม (ตามเนื้อเยื่อที่มีชีวิต) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อตรวจสอบความหนาแน่น |
Aplastic Anemia | โรคโลหิตจางที่มีลักษณะบกพร่องของอวัยวะที่ก่อให้เกิดเลือด (เช่นไขกระดูก) และเกิดจากสารพิษ (เช่นสารเคมีหรือรังสีเอกซ์) หรือไม่ทราบสาเหตุในแหล่งกําเนิด |
fluoroscopy | (n) การตรวจดูอวัยวะภายในร่างกายโดยใช้รังสี ซึ่งภาพที่เกิดขึ้นจะมีลักษณะเป็น real time แสดงบนหน้าจอ monitor digital fluoroscopy |
gray (Gy) | (n) หน่วยวัดปริมาณรังสี |
Hepatobiliary scintigraphy (HIDA) | เทคนิคการวินิจฉัยที่ภาพสองมิติของเนื้อเยื่อภายในร่างกายมีการผลิตผ่านการตรวจสอบของรังสีที่ออกมาจากสารกัมมันตรังสีที่ได้รับการจัดการในร่างกาย ที่เกี่ยวข้องกับ, ตั้งอยู่ในหรือใกล้, ผลิตใน, หรือส่งผลกระทบต่อตับและน้ำดี, ท่อน้ำดี, และถุงน้ำดี |
radiator | [เรดิเอเตอร์] (n) ธาตุกัมมันตรังสี, ธาตุที่สามารถแผ่รังสีได้ (ธาตุสุดท้ายของแต่ละหมู่ของตารางธาตุและธาตุที่ไม่เสถียรต่างๆ) |
radiological technologist | [เรดิโอโลจิคัล เทคโนโลจีส] (n, uniq) นักรังสีเทคนิค |
tomography | (n) การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
Longdo Approved JP-TH
紫外線 | [しがいせん, shigaisen] (n) รังสีอัลตราไวโอเลต |
赤外線 | [せきがいせん, sekigaisen] (n) รังสีอินฟราเรด |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
放射能汚染 | [ほうしゃのうおせん, houshanouosen] การเปรอะเปื้อนสารกัมมันตรังสี |
放射能 | [ほうしゃのう, houshanou] (n) กัมมันตภาพรังสี, See also: R. radioactivity |
放射性廃棄物 | [ほうしゃせいはいきぶつ, houshaseihaikibutsu] (n) กากกัมมันตรังสี, See also: R. radioactive waste |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
日射し | [ひざし, hizashi] TH: รังสีจากดวงอาทิตย์ EN: rays of the sun |
Longdo Approved DE-TH
Tomografie | (n) |die, pl. Tomografien| การสร้างภาพตัดขวางของรูปทรงโดยใช้เทคนิคต่างๆ ดังเช่น จากการสั่นพ้องของคลื่นสนามแม่เหล็ก หรือ จากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข |
Computertomographie | (n) |die, pl. Computertomographien| ระบบสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, Syn. Computertomografie |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0427 seconds, cache age: 6.45 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม