*ย่อว่า* แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่า พจนานุกรม Longdo Dictionary แปลภาษา คำศัพท์
×
Dictionaries languages







English Phonetic Symbols




Chinese Phonetic Symbols


132 ผลลัพธ์ สำหรับ *ย่อว่า*
ภาษา
หรือค้นหา: ย่อว่า, -ย่อว่า-

มีผลลัพธ์ที่ไม่แสดงผลอยู่
ปรับการตั้งค่า
Longdo Unapproved MED - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
idiopathic respiratory distress syndrome(n) ภาวะหายใจลำบากในทารกแรกเกิด เรียกย่อว่า IRDS

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
กรมธรรม์(กฺรมมะทัน) น. เอกสารสัญญาซึ่งทำขึ้นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น เอกสารที่ทาสลูกหนี้ยินยอมให้กรมการอำเภอทำให้ไว้แก่เจ้าหนี้นายเงิน สัญญาขายฝากที่ไร่ที่สวน, คำนี้เรียกเต็มว่า สารกรมธรรม์ หรือย่อว่า สารกรม, บางทีเรียกเพียงคำเดียวว่า กรม ก็มี เช่น กู้หนี้ถือสีนกันเข้าชื่อในกรมหลายคน (สามดวง).
กรัม(กฺรำ) น. หน่วยมาตราชั่งนํ้าหนัก ตามมาตราเมตริก มีอัตรา = ๑๐๐ เซนติกรัม หรือ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ แห่งกิโลกรัม, อักษรย่อว่า ก.
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการน. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักประกันการจ่ายบำเหน็จบำนาญและให้ประโยชน์ตอบแทนการรับราชการแก่ข้าราชการเมื่อออกจากราชการ เรียกชื่อย่อว่า กบข.
กะรัตหลวงน. มาตรานํ้าหนักตามวิธีประเพณี ใช้สำหรับชั่งเพชรพลอยเท่านั้น เป็นเมตริกกะรัต เท่ากับ ๒๐ เซนติกรัม, อักษรย่อว่า กต.
กิโลกรัมน. ชื่อมาตราชั่งนํ้าหนัก เท่ากับ ๑, ๐๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า กก., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล หรือ โล.
กิโลเมตรน. ชื่อมาตราวัด เท่ากับ ๑, ๐๐๐ เมตร, อักษรย่อว่า กม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า กิโล.
กิโลลิตรน. ชื่อมาตราตวง เท่ากับ ๑, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๑ ลูกบาศก์เมตร, อักษรย่อว่า กล.
เกล้ากระผมส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย พูดกับผู้ใหญ่ด้วยความเคารพมากหรือกับพระสงฆ์ผู้ทรงสมณศักดิ์, พูดสั้น ๆ ว่า เกล้า หรือเขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
เกล้ากระหม่อมส. คำใช้แทนตัวผู้พูด เพศชาย กราบทูลพระอนุวงศ์ชั้นพระเจ้าวรวงศ์เธอที่มิได้ทรงกรม พระวรวงศ์เธอที่ทรงกรม และสมเด็จพระสังฆราช, ถ้าผู้พูดเป็นเพศหญิงใช้ว่า เกล้ากระหม่อมฉัน, เขียนย่อว่า เกล้าฯ, เป็นสรรพนามบุรุษที่ ๑.
เกวียนหลวงน. มาตราตวงตามแบบราชการ มีอัตราเท่ากับ ๒, ๐๐๐ ลิตร หรือ ๒ กิโลลิตร, อักษรย่อว่า กว.
คืบ ๑มาตราวัดตามวิธีประเพณี ๑ คืบ เท่ากับ ๑๒ นิ้ว, อักษรย่อว่า ค.
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริน. โครงการที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแนวทางแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับพระราชดำริไปพิจารณาความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการร่วมกันดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ของประชาชน หรือบรรเทาปัญหาต่าง ๆ ตามสภาพสังคมและภูมิประเทศ เดิมเรียกว่า โครงการตามพระราชดำริ มีสำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ เรียกย่อว่า กปร. มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการประสานงานโครงการ.
งาน ๒น. มาตราวัดเนื้อที่ตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตร, ลักษณนามเรียกเนื้อที่ ๑๐๐ ตารางวา หรือ ๔๐๐ ตารางเมตรว่า งานหนึ่ง หรือ ๑ งาน, อักษรย่อว่า ง.
เซนติกรัม(-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า ซก.
เซนติเกรด(-เกฺรด) น. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซนติเกรด, ปัจจุบันใช้ องศาเซลเซียส, อักษรย่อว่า ซ.
เซนติเมตรน. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า ซม., (ปาก) เรียกสั้น ๆ ว่า เซ็นต์.
เซนติลิตรน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ซล.
เซลเซียสน. ชื่อองศาที่ใช้วัดอุณหภูมิ แบ่งออกเป็น ๑๐๐ องศา เรียกว่า องศาเซลเซียส เดิมเรียกว่า องศาเซนติเกรด กำหนดเป็นมาตรฐานว่า จุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๐ องศา (เขียนย่อว่า ๐ ºซ.) และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์เป็น ๑๐๐ องศา (เขียนย่อว่า ๑๐๐ ºซ.), อักษรย่อว่า ซ.
เดคากรัม(-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ กรัม, อักษรย่อว่า ดคก.
เดคาเมตรน. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ เมตร, อักษรย่อว่า ดคม.
เดคาลิตรน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐ ลิตร, อักษรย่อว่า ดคล.
เดซิกรัม(-กฺรำ) น. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของกรัม, อักษรย่อว่า ดก.
เดซิเมตรน. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของเมตร, อักษรย่อว่า ดม.
เดซิลิตรน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑๐ ของลิตร, อักษรย่อว่า ดล.
ตัวคูณร่วมน้อยน. จำนวนเต็มบวกที่มีค่าน้อยที่สุดซึ่งนำจำนวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จำนวนขึ้นไปมาหาร แล้วจะได้ผลลัพธ์ลงตัวพอดี เช่น ๗๐ เป็นตัวคูณร่วมน้อยของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ค.ร.น.
ตัวหารร่วมมากน. จำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากที่สุดซึ่งนำไปหารจำนวนเต็มบวกอื่น ๆ ตั้งแต่ ๒ จำนวนขึ้นไปได้ลงตัวพอดี เช่น ๗ เป็นตัวหารร่วมมากของ ๑๔ และ ๓๕, ใช้อักษรย่อว่า ห.ร.ม.
ทราบเกล้าทราบกระหม่อมก. รู้ (ใช้กราบทูลเจ้านายตั้งแต่ชั้นพระองค์เจ้าขึ้นไป), เขียนย่อว่า ทราบเกล้าฯ.
ทะนานหลวงน. ชื่อหน่วยในมาตราตวง มีอัตราเท่ากับ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า ท.
โทรศัพท์น. ระบบโทรคมนาคมซึ่งใช้อุปกรณ์ทางไฟฟ้าเป็นเครื่องมือสื่อสารให้ติดต่อพูดถึงกันได้ในระยะไกลโดยใช้สายตัวนำโยงติดต่อถึงกัน และอาศัยอำนาจแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นหลักสำคัญ. (อ. telephone), คำว่าโทรศัพท์ที่อยู่หน้าหมายเลขโทรศัพท์มักเขียนย่อว่า โทร. ออกเสียงว่า [ โท ].
ธุรกิจหลักทรัพย์น. การประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่าคณะกรรมการ ก.ล.ต.
นานาเนกว. ต่าง ๆ กันมากมาย, ใช้ย่อว่า นาเนก ก็มี.
นิวคลิอิกน. ชื่อกรดชนิดหนึ่ง ซึ่งมีโมเลกุลใหญ่มากและมีโครงสร้างซับซ้อน มี ๒ ชนิด คือ กรดดีออกซีไรโบ-นิวคลิอิก (deoxyribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า DNA และกรดไรโบนิวคลิอิก (ribonucleic acid) ซึ่งเรียกย่อว่า RNA มีปรากฏอยู่ในสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ทำหน้าที่เก็บรวบรวมและถ่ายทอดพันธุกรรม.
บริษัทหลักทรัพย์น. บริษัทหรือสถาบันการเงิน ที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ประเภทการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์ การค้าหลักทรัพย์ การเป็นที่ปรึกษาการลงทุน การจัดจำหน่ายหลักทรัพย์ การจัดการกองทุนรวม การจัดการกองทุนส่วนบุคคล หรือกิจการอื่นที่เกี่ยวกับหลักทรัพย์ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนดตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ ก.ล.ต.
บาท ๒น. มาตราเงินตามวิธีประเพณี ๑๐๐ สตางค์ หรือ ๔ สลึง เท่ากับ ๑ บาท, อักษรย่อว่า บ.
บุหงารำไปน. ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ มีมะลิ กระดังงา กุหลาบ เป็นต้น ที่ปรุงด้วยเครื่องหอมแล้วบรรจุในถุงผ้าโปร่งเล็ก ๆ ทำเป็นรูปร่างต่าง ๆ, มักเรียกย่อว่า บุหงา.
ปัจฉิมลิขิต(ปัดฉิม-) น. “เขียนภายหลัง” คือหนังสือที่เขียนเพิ่มเติมลงท้ายเมื่อเซ็นชื่อแล้ว, ใช้อักษรย่อว่า ป.ล.
มิลลิกรัมน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ กรัม, อักษรย่อว่า มก.
มิลลิเมตรน. ชื่อมาตราวัดตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ เมตร, อักษรย่อว่า มม.
มิลลิลิตรน. ชื่อมาตราตวงตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑ ใน ๑, ๐๐๐ ของ ๑ ลิตร, อักษรย่อว่า มล.
เมตริกตันน. ชื่อมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ ๖๐ หาบ, อักษรย่อว่า ต.
ระดับทะเลปานกลางน. ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำทะเล ซึ่งคำนวณจากผลการตรวจระดับนํ้าทะเลขึ้นลงในที่ใดที่หนึ่งที่ได้บันทึกติดต่อกันไว้เป็นระยะเวลานาน, ใช้ย่อว่า รทก.
เรือพระที่นั่งชัยน. เรือพระที่นั่ง เช่น เรือสุพรรณหงส์ เรืออนันตนาคราช เรือเอนกชาติภุชงค์ ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระชัยวัฒน์ประดิษฐานขึ้นเป็นประธานบนบุษบกกลางลำ เป็นเรือนำกระบวนพยุหยาตราทางชลมารคเสด็จพระราชดำเนินไปในการพระราชสงคราม หรือการพระราชพิธีสำคัญ, เรียกย่อว่า เรือชัย.
ล้นเกล้าล้นกระหม่อมว. ใช้เป็นราชาศัพท์ หมายความว่า มากล้นพ้นประมาณ, ใช้เขียนย่อว่า ล้นเกล้าฯ ก็ได้ เช่น นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณล้นเกล้าฯ หาที่สุดมิได้.
วา ๑น. มาตราวัดตามวิธีประเพณี เท่ากับ ๔ ศอก มีอัตราเท่ากับ ๒ เมตร, อักษรย่อว่า ว.
วาตารางเหลี่ยมน. มาตราวัดตามวิธีประเพณี มีอัตราเท่ากับ ๔ ตารางเมตร, ตารางวา ก็ว่า, อักษรย่อว่า ตร.ว. หรือ ว.
สตางค์(สะตาง) น. เหรียญกระษาปณ์ปลีกย่อย ๑๐๐ สตางค์ เป็น ๑ บาท, อักษรย่อว่า สต., โดยปริยายหมายถึงเงินที่ใช้สอย เช่น วันนี้ไม่มีสตางค์ติดตัวมาเลย เขาเป็นคนมีสตางค์
เสียเศวตฉัตรก. เสียความเป็นเจ้าเป็นใหญ่, เสียราช-สมบัติ, เสียบ้านเสียเมือง, เสียเอกราช, ใช้พูดย่อว่า เสียฉัตร ก็มี.
โสฬสเรียกเงินปลีกสมัยก่อน ๑๖ อัน เป็น ๑ เฟื้อง, เรียกย่อว่า ฬส.
อุโบสถ ๑(อุโบสด) น. เรียกสถานที่ที่พระสงฆ์ประชุมกันทำสังฆกรรมเช่นสวดพระปาติโมกข์ อุปสมบท ว่า โรงอุโบสถ หรือ อุโบสถ, เรียกย่อว่า โบสถ์
เฮกโตกรัมน. หน่วยมาตราชั่งตามวิธีเมตริก มีอัตราเท่ากับ ๑๐๐ กรัม, อักษรย่อว่า ฮก.

ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
Rex (King) (L.)พระมหากษัตริย์ [ ใช้คำย่อว่า R. (ปร.) ] [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕]

คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
International Civil Aviation Organizationเรียกโดยย่อว่า ICAO คือองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1947 หลังจากที่ประเทศสมาชิก 28 แห่ง ได้ให้สัตยาบันแก่อนุสัญญาว่าด้วยการบินพลเรือน ซึ่งได้ร่างขึ้นโดยที่ประชุมองค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศในนครชิคาโก เมื่อปี ค.ศ.1944วัตถุประสงค์ของ ICAO คือการศึกษาปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับการบินพลเรือนระหว่างประเทศ รวมทั้งจัดวางมาตรฐานระหว่างประเทศ และระเบียบข้อบังคับสำหรับการบินพลเรือนองค์การจะพยายามสนับสนุนให้มีการใช้ มาตรการว่าด้วยความปลอดภัย วางระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการปฏิบัติให้เสมอเหมือนกันหมด และให้ใช้วิธีปฏิบัติที่สะดวกง่ายขึ้นตรงพรมแดนระหว่างประเทศ องค์การจะส่งเสริมการใช้วิธีการทางเทคนิคและอุปกรณ์เครื่องมือใหม่ ๆ ดังนั้น ด้วยความร่วมมือจากประเทศสมาชิก องค์การจะจัดวางแนวบริการทางอุตุนิยมวิทยา การควบคุมการจราจรทางอากาศ การคมนาคมสื่อสารไฟสัญญาณด้านวิทยุ จัดระเบียบการค้นหาและช่วยเหลือ รวมทั้งอุปกรณ์ความสะดวกอื่น ๆ ซึ่งจำเป็นที่จะให้การบินระหว่างประเทศได้รับความปลอดภัยยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ยังชักจูงให้รัฐบาลประเทศสมาชิกวางแนวทางปฏิบัติด้านศุลกากรให้สะดวกง่าย ขึ้น รวมทั้งการตรวจคนเข้าเมือง และระเบียบเกี่ยวกับสาธารณสุขที่ใช้กับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศ นอกจากนี้ องค์การยังรับผิดชอบต่องานร่างกฎหมายเกี่ยวกับการบินระหว่างประเทศ ทั้งยังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางอากาศระหว่างประเทศในด้านเศรษฐกิจมาก มายหลายอย่างองค์การ ICAO ดำเนินงานโดยองค์การต่าง ๆ ดังนี้1. สมัชชา (Assembly) ประกอบด้วยผู้แทนของประเทศสมาชิกทุกประเทศ ทำการประชุมกันปีละครั้ง และจะลงมติเกี่ยวกับมาตรการทางการเงิน และจะรับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่คณะมนตรีส่งมาให้ดำเนินการ2. คณะมนตรี (Council) ประกอบด้วยผู้แทนจากชาติต่าง ๆ 21 ชาติ ซึ่งสมัชชาเป็นผู้เลือก โดยคำนึงถึงประเทศที่มีความสำคัญในการขนส่งทางอากาศ รวมทั้งประทเศที่มีส่วนเกื้อกูลไม่น้อยในการจัดอำนวยอุปกรณ์ความสะดวกแก่การ เดินอากาศฝ่ายพลเรือนระหว่างประเทศ และจัดให้มีตัวแทนตามจำนวนที่เหมาะสมในเขตภูมิศาสตร์ใหญ่ ๆ ของโลก คณะมนตรีเป็นผู้เลือกตั้งประธาน (President) ขององค์การ3. เลขาธิการ (Secretary-General) ซึ่งเป็นผู้แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ [การทูต]
International Telecommunica-tion Unionสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1865 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในตอนนั้นมีชื่อว่าสหภาพโทรเลขระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ.1932 จึงมีการรับรองอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ณ กรุงมาดริด ประเทศสเปน และหลังจากนั้นอีก 2 ปี คือ ค.ศ.1934 ก็ได้มีการเปลี่ยนชื่ออนุสัญญาโทรเลขและวิทยุโทรเลข เป็นอนุสัญญาโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ต่อมาในปี ค.ศ. 1947 ได้มีการปรับปรุงใหม่ ณ เมืองแอตแลนติกซิตี้ สหรัฐอเมริกา แล้วเปลี่ยนชื่อเป็นสหภาพโทรคมนาคมระหว่างประเทศ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ.1954 เป็นต้นมา สหภาพดังกล่าวหรือที่เรียกโดยย่อว่า ITU อยู่ภายใต้การบริหารปกครองตามอนุสัญญา ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมเต็มคณะ ณ กรุงบุเอนอสไอเรส เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม ค.ศ. 1952วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การไอทียูคือ ต้องการวางระเบียบข้อบังคับระหว่างประเทศสำหรับโทรเลข โทรศัพท์และบริการทางวิทยุ เพื่อที่จะส่งเสริมและขยับขยายให้ประชาชนได้มีโอกาสใช้บริการเหล่านี้ให้ กว้างขวางยิ่งขึ้น โดยต้องการให้อัตราค่าบริการต่ำที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ กล่าวโดยทั่วไปองค์การไอทียูนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะส่งเสริมความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เพื่อปรับปรุงการใช้โทรคมนาคมทุกชนิดให้เป็นประโยชน์ก้าวหน้าขึ้น พัฒนาอุปกรณ์เครื่องมือทางเทคนิคให้นำออกใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด เท่าที่จะเป็นไปได้และพยายามประสานการปฏิบัติของชาติต่าง ๆ ให้กลมกลืนกันเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน หัวหน้าของสหโทรคมนาคมระหว่างประเทศมีตำแหน่งเรียกว่า เลขาธิการ องค์การนี้ตั้งอยู่ในนครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต]
Silicone rubberยางซิลิโคนเป็นยางสังเคราะห์ชนิดหนึ่งซึ่งในแกนสายโซ่หลักของโมเลกุล ประกอบด้วยอะตอมของซิลิกอน (Si) และออกซิเจน (O) มีสูตรโครงสร้างทางเคมีเป็นพอลิไซลอกเซน (polysiloxane) ยางซิลิโคนมีหลายเกรด แต่ละเกรดจะแตกต่างกันที่หมู่ R ที่เกาะอยู่บนสายโซ่หลัก ดังนี้ MQ หมู่ R เป็นหมู่เมทิล (CH 3 ) VMQ หมู่ R เป็นหมู่ไวนิล (CH 2 = CH 2) PMQ หมู่ R เป็นหมู่ฟีนิล (C 6 H 5 ) PVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ฟีนิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล FVMQ หมู่ R มีทั้งหมู่ไตรฟลูออโรโพรพิล หมู่ไวนิล และหมู่เมทิล แต่เกรดที่ใช้กันมากที่สุดจะเป็นพอลิเมอร์ของไดเมทิลไซลอกเซน (หมู่ R คือ CH 3) หรือที่มีชื่อย่อว่า MQ สมบัติโดยทั่วไปมีค่าความทนต่อแรงดึง ความต้านทานต่อการขัดถู และความต้านทานต่อแรงกระแทกต่ำมาก ดังนั้นจึงต้องมีการเติมสารตัวเติมเสริมแรงเช่น ซิลิกาเข้าช่วย แต่ยางซิลิโคนทนต่อสภาพอากาศ ออกซิเจน โอโซน แสงแดด และความร้อนได้ดี นอกจากนี้ยังสามารถใช้งานได้ที่อุณหภูมิสูงหรือต่ำมากๆ ได้ เนื่องจากยางชนิดนี้มีราคาสูงมาก ดังนั้นการใช้งานจึงจำกัดอยู่ในผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถใช้ยางชนิดอื่นๆ ได้ เช่น การผลิตชิ้นส่วนของยานอวกาศ เครื่องบิน รถยนต์ ยางโอริง หน้ากากออกซิเจน แป้นกดของโทรศัพท์มือถือ งานทางการแพทย์และเภสัชกรรม เป็นต้น [เทคโนโลยียาง]
ribonucleic acid (RNA)กรดไรโบนิวคลีอิก (อาร์เอ็นเอ), กรดนิวคลีอิกชนิดหนึ่ง เขียนย่อว่า RNA ทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนในโพรโทพลาซึม  RNA มี 3 ชนิดคือ t RNA  m RNA และ r RNA [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
least common multiple (L.C.M.)ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.), ตัวคูณร่วมน้อยที่สุดของจำนวนใด ๆ หมายถึงจำนวนที่มีค่าน้อยที่สุดที่มีจำนวนเหล่านั้นเป็นตัวประกอบ ใช้ตัวย่อว่า  ค.ร.น. เช่น  ค.ร.น. ของ 4 และ 6  คือ 12 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
greatest common divisor (G.C.D.)ตัวหารร่วมมาก (ห.ร.ม.), ตัวหารร่วมมากของจำนวนใด ๆ หมายถึง ตัวประกอบร่วมที่มีค่ามากที่สุดของจำนวนเหล่านั้น ใช้ตัวย่อว่า ห.ร.ม.  เช่น ห.ร.ม. ของ 4,   8,   12  คือ 4 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
electromotive force [ e.m.f. ]แรงเคลื่อนไฟฟ้า (ร.ค.ฟ.), พลังงานที่แหล่งกำเนิดไฟฟ้าให้ต่อหนึ่งหน่วยประจุไฟฟ้าซึ่งเคลื่อนที่ผ่านแหล่งกำเนิดนั้น โดยทั่วไปแรงเคลื่อนไฟฟ้ามีค่าใกล้เคียงความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วไฟฟ้าของเซลล์ไฟฟ้า หรือเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขณะที่วงจรเปิด ใช้ตัวย่อว่า e.m.f. แทนด้วยสัญลักษณ์ E  มีหน่ว [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
International System of Units, SIระบบหน่วยระหว่างประเทศ, ระบบของหน่วยที่กำหนดเป็นมาตรฐานสำหรับการใช้งานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ (ดู SI) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.]
Interstitial Cell Stimulating Hormoneฮอร์โมนชื่อย่อว่า ICSH [การแพทย์]

Longdo Approved EN-TH
terabyte(n) ใช้ตัวย่อว่า TB เป็นหน่วยวัดความจุข้อมูล 1 TB เท่ากับหนึ่งล้านล้านไบต์
plant breeders' rights(n) สิทธิของผู้ปรับปรุงพันธุ์ ย่อว่า PBR

NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
alternating current(n) กระแสไฟฟ้าสลับ (มีคำย่อว่า AC)
ante meridiem(adv) ก่อนเที่ยง (เขียนย่อว่า A.M., a.m., AM หรือ am), Syn. A.M., AM, a.m.: am
anti-ballistic missile(n) ขีปนาวุธสำหรับยิงขีปนาวุธ (เขียนย่อว่า ABM)
abbreviate to(phrv) ย่อ, See also: ย่อคำ, ย่อว่า, ย่อเป็น
limited(adj) บริษัทจำกัด (มีคำย่อว่า Ltd. )
post meridiem(adj) หลังเที่ยง, See also: ช่วงระยะเวลาระหว่าง 12.00 น. ถึง 24.00 น. มีคำย่อว่า P.M., p.m., PM หรือ pm
tablespoon(n) ช้อนโต๊ะ (มีคำย่อว่า tbs.), Syn. dipper
trinitrotoluene(n) วัตถุระเบิดชนิดหนึ่ง (เรียกย่อว่า TNT), Syn. trinitrotoluol
trinitrotoluol(n) วัตถุระเบิดชนิดหนึ่ง (เรียกย่อว่า TNT), Syn. trinitrotoluene
unidentified flying object(n) จานผี (มีคำย่อว่า UFO), See also: จานบินมนุษย์ต่างดาว, ยูเอฟโอ, Syn. flying saucer, UFO
Union of Soviet Socialist Republics(n) สหภาพโซเวียต (อดีต), See also: สหภาพโซเวียต มีตัวย่อว่า USSR
versus(prep) ต่อสู้กับ, See also: โดยเฉพาะทางกีฬาหรือกฎหมาย มีคำย่อว่า v หรือ vs, Syn. against
versus(prep) เปรียบเทียบสองสิ่ง, See also: เช่น ความคิด, ทางเลือก มีคำย่อว่า v หรือ vs

Hope Dictionary
advanced technologyเทคโนโลยีก้าวหน้าใช้ตัวย่อว่า AT หมายถึงคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มรุ่นหนึ่งที่ใช้บัสชนิด 16 บิต แทนแผ่นวงจร 8 บิตที่ใช้ก่อนหน้านั้น ทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น ปัจจุบันไม่ใช้แล้ว
alcoholics anonymousสมาคมอดเหล้าของอเมริกา ใช้อักษรย่อว่า AA หรือ A. A.
american national standarสถาบันมาตรฐานแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ANSI (อ่านว่า แอนซี) เป็นชื่อของสถาบันเอกชนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ทำหน้าที่กำหนดและควบคุมมาตรฐานของอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ รวมทั้งอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยไม่หวังผลกำไรใด ๆ ทั้งสิ้น
american standard code foรหัสมาตรฐานของสหรัฐอเมริกาเพื่อการสับเปลี่ยนสารสนเทศ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า แอสกี (ASCII) เป็นรหัสมาตรฐานแบบหนึ่งที่ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ เรียกว่า "รหัส แอสกี "
angstrom(แอง' สทรอม) n. หน่วยความยาวที่เท่ากับ 1/10 ของมิลลิไมครอน, มีอักษรย่อว่า A, A.U., a.u.
ante meridiem(แอนทีมะริด' เดียม) (Latin) ก่อนเที่ยง, เขียนย่อว่า A.M., หรือ a.m.
apple desktop busตัวนำข้อมูลเข้า <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ADB หมายถึง ตัวประสาน (interface) ที่ทำหน้าที่ประสานการทำงานของแป้นพิมพ์ เมาส์ (mouse) แทร็กบอลล์ (trackball) ฯ และอุปกรณ์ป้อนข้อมูลอื่น ๆ ให้สามารถนำข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ (เฉพาะแมคอินทอช)
arithmetic logic unitหน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ
artificial intelligenceปัญญาประดิษฐ์ใช้ตัวย่อว่า AI หมายถึง แขนงการศึกษาทางวิทยาการคอมพิวเตอร์แขนงหนึ่งที่พยายามจะทำให้คอมพิวเตอร์สามารถคิดหาเหตุผลได้ เรียนรู้ได้ ทำงานได้เหมือนสมองมนุษย์
automatic data processingขบวนการป้อนข้อมูลโดยคอมพิวเตอร์ ใช้อักษรย่อว่า ADP
automatic teller machineเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ <คำแปล>นิยมใช้ตัวย่อว่า ATM หมายถึง เครื่องปลายทาง (terminal) ของคอมพิวเตอร์ของธนาคารที่ลูกค้าสามารถกดรหัสติดต่อกับธนาคารเพื่อใช้บริการบางอย่าง เช่น ฝากหรือถอนเงินได้ ในกรุงเทพ เครื่องเอทีเอ็ม นี้จะเห็นได้อยู่ทั่วไป เพราะได้รับความนิยมมาก ในปัจจุบัน เนื่องจากสะดวกและรวดเร็วกว่าการเดินทางไปธนาคาร แล้วยังต้องรอรับบริการจากพนักงาน การสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องเอทีเอ็ม และคอมพิวเตอร์ของธนาคาร จะใช้ผ่านทางสายโทรศัพท์เป็นส่วนใหญ่
begin of tapeจุดเริ่มต้นเทป <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BOT หมายถึง จุดบนแถบบันทึกหรือเทป (tape) ที่กำหนดให้เป็นจุดเริ่มต้นให้มีการบันทึกข้อมูลลงได้ ปกติจะทำเป็นจุดสะท้อนแสงบนแถบบันทึก ซึ่งจะทำให้เกิดสัญญาณ บังคับให้เริ่มมีการอ่านข้อมูลบนแถบบันทึกโดยเริ่มจากจุดนั้นเป็นต้นไป
billisecondใช้ตัวย่อว่า BS เป็นหน่วยวัดความเร็วในการทำงานหรือการประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์
binary coded decimalเลขฐานสิบเข้ารหัสฐานของ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า BCD หมายถึงรหัสที่ใช้แทนเลขฐาน ซึ่งกำหนดให้เลขฐานสิบแต่ละตัวแทนด้วยเลขฐานสอง 4 บิต ตัวอย่าง เช่น เลข 17 ในฐานสิบ เขียนเป็นเลขฐานสองว่า 0001 0111 โดยที่เลขหลักของบิตจากซ้ายไปขวา เป็นลำดับเพิ่มตามสูตร 8-4-2-1 เลข 17 ที่เป็นฐานสิบ เมื่อแสดงในรูปเลขฐานสองธรรมดาจะเป็น 10001
bits per inchบิตต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึก โดยวัดว่า แถบบันทึก 1 นิ้วจะเก็บตัวอักขระได้กี่บิต
bits per secondบิตต่อวินาทีใช้ตัวย่อว่า BPS เป็นหน่วยวัดความเร็วของการถ่ายโอนข้อมูลผ่านโมเด็มว่า มีความเร็วกี่บิตต่อวินาที
bulletin board systemระบบการบริการเครือข่ายที่อนุญาตให้ผู้ใช้ที่มีผลประโยชน์ร่วมให้ส่งและรับข้อมูลหรือได้รับซอฟแวร์ เป็นต้น ระบบแผงข่าวศูนย์รวมข่าวใช้ตัวย่อว่า BBS (อ่านว่า บีบีเอส) เป็นโปรแกรมหนึ่งที่ทำหน้าที่เก็บรายการ หัวข้อ หรือข้อมูลที่เป็นที่สนใจ ผู้ที่ต้องการทราบข้อมูลเหล่านี้ อาจจะโทรศัพท์ผ่านเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อขอคัดลอกแฟ้มข้อมูล หรือสอบถามข้อความ ก็ได้ เช่น ระบบแผงข่าวของมหาวิทยาลัยก็อาจมีประกาศต่าง ๆ เช่น ประกาศรับสมัครนิสิตเข้าเรียนในระดับต่าง ๆ ปฏิทินการศึกษา รายการกีฬา ฯ ผู้ใช้บริการจะต้องมีคอมพิวเตอร์และโมเด็มพร้อมกับโปรแกรมที่จำเป็น ถ้าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับข้อมูลสำคัญในทางธุรกิจ จะมีการเรียกเก็บค่าบริการด้วย (มีใช้เฉพาะในระบบเครือข่าย)
bytes per inchไบต์ต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า BPI เป็นหน่วยวัดความจุของตัวอักขระในเทปหรือแถบบันทึก (tape) หมายความว่า ขนาดความยาวของแถบบันทึก 1 นิ้ว จะบรรจุตัวอักขระได้เท่าใดอาจต่างกันได้ตั้งแต่ 200 ถึง 1600 ไบต์ต่อนิ้ว และอาจมีการปรับให้มากหรือน้อยกว่านั้นก็ได้ (บางทีใช้กับความยาวของแทร็กของพื้นผิวของจานบันทึก (disk) ด้วย
carriage returnปัดแคร่แป้นปัดแคร่ใช้ตัวย่อว่า CR ในทางคอมพิวเตอร์ ถือเป็นตัวอักขระตัวหนึ่งที่มองไม่เห็น ใช้เมื่อสิ้นสุดการพิมพ์แต่ละบรรทัด และทำให้ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) ลงไปอยู่เป็นตำแหน่งแรกของบรรทัดถัดลงมา โดยปกติ จะกำหนดให้กดแป้น <RETURN> หรือ <ENTER>
cash on deliveryn. จ่ายสดเมื่อของถึง ใช้อักษรย่อว่า C.O.D.
cathode ray tubeหลอดภาพใช้ตัวย่อว่า CRT หมายถึงหลอดอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้กับจอภาพของคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะทำหน้าที่แสดงข้อมูลเป็นตัวหนังสือ หรือภาพ
central processing unitหน่วยประมวลผลกลางนิยมใช้ตัวย่อว่า CPU (ซีพียู) หมายถึง ส่วนที่เป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนที่เรียกว่าตัวประมวลผล (microprocessor) และหน่วยความจำ ประกอบด้วยชิป (chip) ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำ คัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่ใช้ทำหน้าที่ในการประมวลผล หรือทำการคำนวณ เมื่อทำการประมวลผล หรือคำนวณในส่วนนี้เสร็จแล้ว ก็จะถ่ายโอนผลลัพธ์ที่ได้ไปไว้ในส่วนอื่นอีกชั้นหนึ่ง ดู input unit และ output unit ประกอบ
characters per inchจำนวนอักขระต่อนิ้วใช้ตัวย่อว่า CPI แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อนิ้ว เป็นหน่วยวัดความจุของแถบบันทึกว่า เนื้อเทป 1 นิ้ว จะเก็บข้อมูลได้กี่ตัวอักขระ
characters per secondจำนวนอักขระต่อวินาทีใช้ตัวย่อว่า CPS แปลตรง ๆ ได้ว่า อักขระต่อวินาที ใช้เป็น หน่วยวัดความเร็วในการพิมพ์ว่าเครื่องพิมพ์สามารถพิมพ์ได้กี่ตัวอักขระในเวลา 1 วินาที ใช้กับเครื่องพิมพ์แบบจุด (dot matrix) และแบบฉีดหมึก (ink jet) เท่านั้น (เครื่องพิมพ์เลเซอร์จะพิมพ์ที่ละหน้า) ดู printer ประกอบ
chief information officerประธานฝ่ายสารสนเทศใช้ตัวย่อว่า CIO (อ่านว่า ซีไอโอ) งานสารสนเทศเป็นงานที่สำคัญที่สุดงานหนึ่ง เพราะหน่วยงานนี้ก็คือหน่วยงานที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นหลักนั่นเอง เป็นที่เก็บรวบรวมข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ แล้วส่งผล (สารสนเทศ) ให้ผู้ที่มีอำนาจ ใช้ในการตัดสินใจ หรือเพื่อไม่ให้ผู้ที่มีอำนาจตัดสินใจผิดพลาดเพราะขาดข้อมูล (บางทีใช้ในความหมายเดียวกันกับหัวหน้าฝ่ายคอมพิวเตอร์)
color graphic adapterตัวปรับต่อภาพสีใช้ตัวย่อว่า CGA หมายถึง ตัวปรับสำหรับภาพกราฟิกที่จะมองเห็นบนจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัวปรับนี้เป็นมาตรฐานจอภาพของเครื่องไอบีเอ็ม แต่ภาพที่ปรากฏให้เห็นบนจอนั้นยังดูแข็ง ไม่ได้ผสมกลมกลืนสนิท ดูแล้วพาลจะปวดศรีษะได้ง่าย ๆ คอมพิวเตอร์รุ่นใหม่ ๆ จึงพัฒนาตัวปรับสีนี้ใหม่ มีชื่อ เรียกว่า EGA หรือ VGA
common user accessการเข้าถึงผู้ใช้ร่วมกันใช้ตัวย่อว่า CUA หมายถึง ตัวชี้นำ (guidelines) ที่ เครื่องไอบีเอ็มสร้างขึ้นมา ใช้เพื่อทำให้การเข้าสู่โปรแกรมมีลักษณะเป็นแบบเดียวกัน แม้แต่เครื่องแมคอินทอชก็ใช้ตัวชี้นำนี้
compact diskใช้ตัวย่อว่า CD เป็นสื่อที่ใช้บันทึกข้อมูลชนิดใหม่ที่กำลังได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้นทุกวัน เครื่อง คอมพิวเตอร์ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยบันทึกที่อ่านจานบันทึกนี้ได้ ข้อมูลที่เก็บในสื่อชนิดนี้จะเป็นข้อความ ภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหว (ภาพยนตร์) หรือเสียงก็ได้ รูปลักษณะทั่วไปก็เหมือนจานซีดีที่บรรจุเพลง มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 4.72 นิ้ว จุข้อมูล 600 เมกะไบต์หรือประมาณ 400 เท่าของจานบันทึกขนาด 3.5 นิ้ว ส่วนมากนิยมใช้เก็บโปรแกรม หรือใช้เป็นฐานข้อมูลของห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ นิยมใช้ในระบบเครือข่าย ทำให้สะดวกสำหรับผู้ใช้คอมพิวเตอร์ตามสาย (on line) ส่วนใหญ่จานบันทึกประเภทนี้ยังคงใช้อ่านได้อย่างเดียว (read only) การบันทึกยังต้องมีอุปกรณ์พิเศษ ราคายังค่อนข้างแพง
computer aided designการออกแบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAD (อ่านว่า แคด) หมายถึงการสร้างโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์สามารถช่วยในการสร้างภาพ แบบจำลอง (model) ฯ แล้วจะบันทึกแบบเก็บไว้ในสื่อ สามารถเรียกแบบที่ออกไว้นั้นมาแสดงบนจอภาพเมื่อใดก็ได้ หรือจะสั่งให้พิมพ์ออกมาดูบนกระดาษก็ได้ โดยสามารถสั่งขยาย ย่อ หมุนพลิกภาพนั้น ๆ ด้วยก็ได้ ภาพหรือแบบที่ออกไว้จะปรับเปลี่ยนไปตามสูตรที่กำหนดเอาไว้แล้ว ตัวอย่าง เช่น การออกแบบชิ้นส่วนของรถยนต์หรือโครงสร้างอาคาร ผู้ออกแบบจะสามารถแก้ไขได้ตลอดเวลา โดยปกติ คอมพิวเตอร์ที่จะนำมาใช้เพื่องานประเภทนี้ จะต้องมีฮาร์ดดิสก์ (hard disk) ที่มีความจุสูงมาก ๆ มีจอภาพที่มีความละเอียดสูง และมีตัวประมวลผลที่ทำงานเร็ว ส่วนการแสดงผล มักจะใช้เครื่องวาด (plotter) แทนเครื่องพิมพ์
computer aided engineerinงานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล
computer aided instructioการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อมผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่าเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอน
computer aided manufacturการผลิตใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAM (อ่านว่า แคม) มักใช้คู่กับแคด หมายถึง การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมการผลิตในโรงงาน เช่นการควบคุมจำนวนสินค้าที่ผลิต หรือ ควบคุมการทำงาน แต่ละส่วน เช่น การนับ และการบรรจุ เป็นต้นดู CAD ประกอบ เพราะมักใช้คู่กันเป็น CAD/CAM
computer aided software eวิศวกรรมซอฟต์แวร์ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การนำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการทำซอฟต์แวร์
computer aided system engวิศวกรรมระบบใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CASE (อ่านว่าเคส) หมายความถึง การสร้างโปรแกรมระบบโดอาศัยคอมพิวเตอร์ช่วย
computer graphics metafilใช้ตัวย่อว่า CGM (อ่านว่า ซีจีเอ็ม) เป็นรูปแบบที่คอมพิวเตอร์ใช้เก็บภาพแบบหนึ่ง แฟ้มข้อมูลที่เก็บภาพประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file type) ว่า .cgm
computer input from microไมโครฟิล์มสู่คอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า CIM (ซีไอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการอ่านข้อมูลต่าง ๆ ในไมโครฟิล์มเข้าไปเก็บในหน่วยความจำของคอมพิวเตอร์ (โดยต้องแปลงเป็นรหัสที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้)
computer output on microfไมโครฟิล์มจากคอมพิวเตอร์ใช้ตัวย่อว่า COM (อ่านว่า ซีโอเอ็ม) หมายถึง เทคโนโลยีในการนำข้อมูลจากเอกสารหรือผลที่คอมพิวเตอร์ประมวลได้ไปเก็บไว้ในไมโครฟิล์ม แล้วสามารถส่งสัญญาณออกมาให้อ่านได้ทางจอภาพ ในการบันทึกเก็บลงในไมโครฟิล์มนั้น จะต้องทำผ่านเลนส์ ซึ่งจะย่อส่วนลงประมาณ 24 หรือ 48 เท่า ฟิล์มหนึ่งกรอบจะสามารถเก็บข้อมูลได้เต็มหน้าจอภาพ แล้วก็จะเลื่อนต่อไปอีกหนึ่งกรอบ การบันทึกจะสามารถทำด้วยความเร็วอย่างน้อย 120, 000 ตัวอักษรต่อวินาที
computer-aided instructioใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ การสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer assissted instruction
computer-aided translatioการแปลใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAT (อ่านว่า ซีเอที) หมายถึงการแปลจากภาษาหนึ่งเป็นอีกภาษาหนึ่ง โดยใช้คอม พิวเตอร์ช่วย เช่น แปลไทยเป็นอังกฤษ หรืออังกฤษเป็นไทย การแปลในลักษณะนี้ จะใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจำศัพท์ ไวยากรณ์ และบริบท (context) ต่าง ๆ โปรแกรมที่ได้รับการพัฒนาไปมากแล้วคือโปรแกรมที่แปลจากอังกฤษเป็นฝรั่งเศส และฝรั่งเศสเป็นอังกฤษ
computer-assissted instruใช้ตัวย่อว่า CAI (อ่านว่า ซีเอไอ) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือการสร้างโปรแกรมบทเรียน หรือหน่วยการเรียน ซึ่งอาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนได้ด้วยตนเอง หรือเรียนได้เป็นรายบุคคล การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยนี้ ถือว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การสอน แต่ไม่ใช่เป็นครูผู้สอนความหมายเดียวกับ computer aided instruction
customer engineerวิศวกรประจำเครื่องใช้ตัวย่อว่า CE หมายถึงวิศวกรที่บริษัทที่ขายเครื่องคอมพิวเตอร์มักจัดไว้ให้บริการ หรือคำแนะนำในการใช้เครื่อง แก่ลูกค้า
cyclic redundancy checkการตรวจสอบด้วยส่วนซ้ำซ้อนแบบวนใช้ตัวย่อว่า CRC หมายถึง เทคนิคการตรวจสอบหาข้อผิดพลาดในการบันทึกหรือถ่ายทอดข้อมูล มักจะใช้วิธีการวนทำซ้ำ เพื่อทบทวนดูความแม่นตรง ถ้ามีที่ผิด การทำสองครั้งย่อมจะให้ผลไม่ตรงกัน
data base management systระบบจัดการฐานข้อมูลใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่า ดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
data encryption standardsมาตรฐานการเข้ารหัสใช้ตัวย่อว่า DES หมายถึงข้อกำหนดมาตรฐานในการเข้าถึงข้อมูลที่รัฐบาลเป็นผู้กำหนดขึ้น โดยวิธีใช้รหัส ผ่าน (password) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของข้อมูล
data processingn. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น
data terminal readyปลายทางพร้อมใช้ตัวย่อว่า DTR (อ่านว่า ดีทีอาร์) หมายถึงสัญญาณจากเครื่องคอมพิวเตอร์ที่บอกให้รู้ว่า โมเด็ม (modem) พร้อม และสถานีปลายทางก็พร้อมที่จะรับข้อมูลเข้ามาได้แล้ว
database management systeใช้ตัวย่อว่า DBMS (อ่านว่าดีบีเอ็มเอส) หมายถึง ซอฟต์แวร์ที่สร้างขึ้นเพื่อรวบรวมข้อมูลให้เป็นระบบ เพื่อจะได้นำไปเก็บรักษา เรียกใช้หรือนำมาปรับปรุงให้ทันสมัยได้ง่าย ทั้งนี้จำเป็นต้องคำนึงถึงการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลเป็นเรื่องสำคัญด้วย
delete(ดิลีท') vt. ลบออก, เอาออก ลบทิ้งลบออกลบ1. หมายถึง แป้นสำหรับสั่งให้ลบทิ้ง การกดแป้นนี้ จะทำให้ลบตัวอักขระที่ตัวชี้ตำแหน่ง (cursor) นำอยู่ออก ตัวอักขระที่อยู่ถัดไปจะเลื่อนขึ้นมาทางซ้ายอีกตำแหน่งหนึ่งตามกันมาเป็นกระบวน2. ในความหมายทางคอมพิวเตอร์ที่แท้จริงนั้น หมายถึง การลบข้อความหรือข้อมูล หรือระเบียน ออกจากแฟ้มข้อมูล (file) หรือฐานข้อมูล (database) 3. ในระบบดอส ใช้เป็นคำสั่งลบชุดคำสั่ง (program) หรือแฟ้มข้อมูล (file) ที่เก็บไว้ในจานบันทึก (disk) เช่นเดียวกับคำสั่ง ERASE อาจใช้ตัวย่อว่า DEL ก็ได้ เช่น A>DEL* . BASมีความหมายเหมือน erase
desk accessoryเครื่องใช้อำนวยความสะดวกใช้ตัวย่อว่า DA (อ่านว่า ดีเอ) หมายถึง โปรแกรมพิเศษประเภทโปรแกรมอรรถประโยชน์ (utility program) ต่าง ๆ ที่อำนวยประโยชน์ให้แก่ผู้ใช้ได้ตลอดเวลา แม้ในขณะที่ใช้โปรแกรมอื่นอยู่ เช่น เครื่องคิดเลข นาฬิกา ฯ (ดู DA)
desktop publishingการจัดพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะใช้ตัวย่อว่า DTP (อ่านว่า ดีทีพี) หมายถึง การนำภาพและข้อความมาจัดวางไว้ด้วยกันบนจอภาพ ในตำแหน่งที่สวยงาม ดูแล้วสบายตา มักใช้เป็นต้นแบบ (ต้นฉบับที่จะนำไปผลิตต่อ) ของเอกสารสิ่งพิมพ์ อธิบายง่าย ๆ ก็คือ การจัดเตรียมต้นฉบับเอกสารสิ่งพิมพ์โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะ (desktop computer) แทนที่จะเป็นการ "ตัดปะ" อย่างสมัยก่อน อย่างไรก็ตาม ก็ต้องใช้โปรแกรมช่วย โปรแกรมที่นิยมใช้กันมาก คือ PageMaker และ QuarkXpress การจัดเตรียมเอกสารสิ่งพิมพ์ด้วยวิธีนี้ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายได้มากทีเดียว และเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน

Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Pharmacopoeia[ฟามาโคเปีย] (n, pharm) หนังสือตำรายาฉบับสากล ยอมรับและใช้กันทั่วโลก บอกข้อมูลเกี่ยวกับยาและวิธีการตรวจสอบยาในหัวข้อต่างๆ หัวข้อใน pharmacopoeia เช่น Description, Purity rubric, Identification, Assay เป็นต้น Pharmacopoeia ที่ใช้กันในปัจจุบัน เช่น USP(pharmacopoeia ของUSA), BP(pharmacopoeia ของBritish) JP(pharmacopoeia ของ Japan) ปัจจุบันประเทศไทยมี pharmacopoeia เป็นของตัวเองแล้ว โดยใช้อักษรย่อว่า TP จัดพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษ
ทุกขอริยสัจ[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
ทุกขอริยสัจ[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
ทุกขอริยสัจ[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4
ทุกขอริยสัจ[ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4

Longdo Approved DE-TH
Kabinett(n) |das, pl. Kabinette| คณะรัฐมนตรี (ย่อว่า ครม.) เช่น Ohne Blutvergießen besetzten die Militärs die Schaltstellen der Macht, riefen das Kriegsrecht aus und erklärten das Kabinett und den Senat für aufgelöst.

ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ

Time: 0.0422 seconds, cache age: 0.246 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม