255 ผลลัพธ์ สำหรับ *ปัจจัย*
ภาษา
หรือค้นหา: ปัจจัย, -ปัจจัย-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ปัจจัย | (n) factor, See also: cause, means, element, consideration, essential, Syn. เหตุ, Example: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลออกเป็น 3 ประเภทคือ ปัจจัยทางด้านชีววิทยา ปัจจัยด้านจิตใจปัจจัยทางด้านสังคม, Count Unit: ปัจจัย, Thai Definition: เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล |
ปัจจัย | (n) requisite, See also: necessary thing, necessities of life, subsistence, means of livelihood, Example: อาหารเป็นหนึ่งปัจจัยสี่อันเป็นปัจจัยสำคัญในการดำรงชีวิตของมนุษย์, Count Unit: อย่าง, Thai Definition: เครื่องอาศัยยังชีพ |
จตุปัจจัย | (n) the four necessities of a Buddhist monk: food, raiment, abode and medicine, Example: คนเราทุกคนต้องการปัจจัยสี่หรือจตุปัจจัยในการดำรงชีวิต, Thai Definition: เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา 4 อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) ศิลานเภสัช (ยา) |
ปัจจัยสี่ | (n) four requisites, Example: เรามีปัจจัยครบสี่แล้วเป็นการดี ถ้าปัจจัยสี่นี้ยิ่งสมบูรณ์เท่าไรก็ยิ่งดีขึ้นเท่านั้น, Count Unit: ปัจจัย, Thai Definition: เครื่องอาศัยของบรรพชิต 4 อย่าง ได้แก่ เครื่องนุ่งห่ม อาหาร ที่อยู่ ยารักษาโรค |
ปัจจัยหลัก | (n) basic necessity, See also: important factor, Syn. ปัจจัยสำคัญ, Example: การบังคับใช้แรงงานที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหารพม่า เพราะมีปัจจัยหลักคือการลงทุนของบริษัทข้ามชาติ, Thai Definition: สิ่งหรือเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผล |
ปัจจัยหลัก | (n) basic necessity, See also: important factor, Syn. ปัจจัยสำคัญ, Example: การบังคับใช้แรงงานที่เพิ่มมากขึ้นภายใต้การปกครองของรัฐบาลทหารพม่า เพราะมีปัจจัยหลักคือการลงทุนของบริษัทข้ามชาติ, Thai Definition: สิ่งหรือเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดผล |
ปัจจัยภายใน | (n) internal factor, See also: relevant factor, Ant. ปัจจัยภายนอก, Example: ปัจจัยภายในที่ทำให้ผิวคนเราเสื่อมนั้น เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายตามกาลเวลา, Thai Definition: เหตุภายในที่ทำให้เกิดผล |
ปัจจัยสำคัญ | (n) important factor, See also: important or key element, key factor, Syn. สิ่งสำคัญ, Example: ความผันผวนของภาวะเศรษฐกิจ คือ ปัจจัยสำคัญที่เป็นตัวบ่งชี้การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในทางการเมือง, Thai Definition: สิ่งที่มีความพิเศษกว่าสิ่งอื่น |
วัตถุปัจจัย | (n) material element, Syn. วัตถุ, สิ่งของ, ปัจจัย, Example: งานที่ดีไม่เพียงแต่จะช่วยให้มีความเป็นอยู่ที่ดี แต่ยังช่วยให้มีวัตถุปัจจัยตามต้องการด้วย |
ปัจจัยภายนอก | (n) external factor, See also: irrelevant factor, Ant. ปัจจัยภายใน, Example: ปัจจัยภายนอกที่ทำให้ผิวเราเสื่อม นอกจากอาหารการกินแล้วยังมีแสงแดด ซึ่งมีรังสี UV ไปทำลายคอลลาเจน และอิลัสติน, Thai Definition: เหตุภายนอกที่ทำให้เกิดผล |
ปัจจัยเสี่ยง | (n) risk factor, See also: valuation factor, uncertainty factor |
ปัจจัยการผลิต | (n) production factor, See also: factor of production, input factor |
ปัจจัยพื้นฐาน | (n) basic factor, See also: basic element, Syn. ปัจจัยเบื้องต้น, Example: การศึกษาของเยาวชนนับว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สำคัญประการหนึ่งในการพัฒนาประเทศ, Thai Definition: สิ่งสำคัญที่มีความจำเป็นในระดับต้น หรือระดับแรก |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คิลานปัจจัย | น. ปัจจัยสำหรับคนไข้, วัตถุเป็นเครื่องอาศัยของผู้เจ็บไข้, ยารักษาโรค. |
จตุปัจจัย | (-ปัดไจ) น. เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา). |
ปัจจัย | น. เหตุอันเป็นทางให้เกิดผล, หนทาง, เช่น การศึกษาเป็นปัจจัยให้เกิดความรู้ความสามารถ, องค์ประกอบ, ส่วนประกอบ, เช่น ปัจจัยในการผลิต, คำ “ปัจจัย” กับ คำ “เหตุ” มักใช้แทนกันได้ |
ปัจจัย | เครื่องอาศัยยังชีพ, เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธ-ศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) รวมเรียกว่า จตุปัจจัย คือ ปัจจัย ๔, โดยปริยายหมายถึง เงินตรา ก็ได้ (มักใช้แก่ภิกษุสามเณร) |
ปัจจัย | ส่วนเติมท้ายธาตุหรือศัพท์เพื่อแสดงความหมายเป็นต้น. |
ภาษามีวิภัตติปัจจัย | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการใช้วิภัตติปัจจัยประกอบเข้ากับรากศัพท์ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระทำให้เกิดเป็นคำที่แสดงเพศ พจน์ กาล มาลา วาจกอย่างชัดเจน เพื่อเข้าสัมพันธ์ทางไวยากรณ์กลมกลืนกับคำอื่นในประโยค เช่น ภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษากรีกโบราณ ภาษาละติน ภาษาฝรั่งเศส. |
ยุทธปัจจัย | น. สิ่งของทั้งปวงที่มิใช่ยุทธภัณฑ์ แต่เป็นสิ่งเกื้อกูลต่อการรบ เช่น อาหาร ยา เคมีภัณฑ์ รวมถึงสัตว์พาหนะด้วย. |
กัปปิยการก | (-การก) น. ผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย ๔ คือ จีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค. |
กัปปิยภัณฑ์ | น. สิ่งของที่ควรแก่ภิกษุ ได้แก่ ปัจจัย ๔ คือ จีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และสิ่งอื่น ๆ เช่น ร่ม รองเท้า. |
จตุปาริสุทธิศีล | (-ปาริสุดทิสีน) น. ศีลคือความบริสุทธิ์ หรือ ศีลคือเครื่องให้บริสุทธิ์ ๔ ประการ คือ ๑. สำรวมในพระปาติโมกข์ (ปาติโมกฺขสํวร) ๒. สำรวมตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ (อินฺทฺริยสํวร) ๓. เลี้ยงชีพโดยทางชอบ (อาชีวปาริสุทฺธิ) ๔. บริโภคปัจจัยด้วยการพิจารณา (ปจฺจยสนฺนิสฺสิต). |
ทายก | (-ยก) น. ผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร, ถ้าเป็นเพศหญิงเรียกว่า ทายิกา. |
ทำบุญ | ก. ประกอบกรรมดี มีการเลี้ยงพระ ตักบาตร ถวายจตุปัจจัยแก่พระสงฆ์ เป็นต้น, ทำบุญทำกุศล ก็ว่า. |
ธนาคารรับอนุญาต | น. ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับปัจจัยชำระเงินต่างประเทศ. |
บูชากัณฑ์เทศน์ | ก. ติดกัณฑ์เทศน์ด้วยจตุปัจจัยไทยธรรมเป็นต้น. |
ปฏิคาหก | น. ผู้รับทาน หมายถึง สมณพราหมณ์ เช่น วันรุ่งพรุ่งนี้จะมีเหตุด้วยปฏิคาหก ยาจกจะมารับพระราชทาน (ม. ร่ายยาว กุมาร), คู่กับ ทายก คือ ผู้ถวายจตุปัจจัยแก่ภิกษุสามเณร. |
ปรัตยัย | (ปฺรัดตะ-) น. ปัจจัย. |
ปัตยัย | (ปัดตะ) น. ปัจจัย. |
ผัสสาหาร | น. อาหารคือผัสสะ หมายเอาการประจวบกันแห่งอายตนะภายใน อายตนะภายนอก และวิญญาณ เป็นปัจจัยแห่งเจตสิกอันจะพึงเกิดโดยวิถีมีเวทนาเป็นต้น เป็นประการหนึ่งในอาหารทั้ง ๔ (อีก ๓ อย่าง คือ กวลิงการาหาร อาหารคือคำข้าว มโนสัญเจตนาหาร อาหารคือมโนสัญเจตนา และวิญญาณาหาร อาหารคือวิญญาณ). |
ภาษาคำติดต่อ | น. ภาษาแบบที่มีการสร้างคำด้วยการเติมอุปสรรค อาคม หรือปัจจัย ซึ่งเป็นหน่วยคำไม่อิสระและไม่มีความหมาย ผสานเข้ากับคำบางคำซึ่งเป็นคำตั้ง ทำให้เกิดเป็นคำใหม่ แต่จะมีรูปและความหมายเกี่ยวเนื่องกับคำตั้งนั้น เช่น ภาษาเขมร ภาษาญี่ปุ่น ภาษาตุรกี ภาษาฮังการี. |
มูลค่า | (มูนละ-, มูน-) น. ค่าของสิ่งของ, ราคาของสิ่งของ, เช่น ถวายจตุปัจจัยมีมูลค่า ๓๐ บาท. |
ยาวชีวิก | (ยาวะ-) น. ของที่พระสงฆ์เก็บไว้ฉันได้เสมอไป ไม่มีจำกัดกาล, ตามวินัยบัญญัติได้แก่ของที่ใช้ประกอบเป็นยาสงเคราะห์เข้าในคิลานปัจจัย. |
สังขตธรรม | น. สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่งขึ้น. |
สังขารธรรม | (สังขาระ-) น. สิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่ง. |
สังคมนิยม | (สังคมมะ-, สังคม-) น. ทฤษฎีเศรษฐกิจและการเมือง ที่มีหลักการให้รัฐหรือส่วนรวมเป็นเจ้าของปัจจัยในการผลิต ตลอดจนการจำแนกแจกจ่าย และวางระเบียบการบริโภคผลผลิต. |
อเหตุกทิฐิ | (อะเหตุกะทิดถิ) น. ความเห็นว่าบาปบุญในโลกไม่มีเหตุไม่มีปัจจัย เป็นความเห็นของเดียรถีย์พวกหนึ่ง. |
อัญมัญ- | (อันยะมันยะ-) ว. ซึ่งกันและกัน, แก่กันและกัน, ของกันและกัน, เช่น เป็นอัญมัญปัจจัย คือ เป็นปัจจัยของกันและกัน. |
อาขยาต | (-ขะหฺยาด) น. ชื่อคำกริยาประเภทหนึ่งในไวยากรณ์บาลีและสันสกฤต ประกอบด้วย ธาตุ วิภัตติ กาล บท พจน์ บุรุษ วาจก ปัจจัย เพื่อเป็นเครื่องหมายบอกเนื้อความให้ชัดเจน เช่น กโรติ = ย่อมกระทำ ประกอบด้วย กรฺธาตุ ติวิภัตติ ปัจจุบันกาล ปรัสสบท เอกพจน์ ปฐมบุรุษ กัตตุวาจก โอปัจจัย. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
predisposing factor | ปัจจัยโน้มรับโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pull factor | ปัจจัยชักจูง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
push factor | ปัจจัยผลักดัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
precipitating factor | ปัจจัยกระตุ้น, ปัจจัยชนวน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
risk factor | ปัจจัยเสี่ยง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
separation factor | ปัจจัยแยกแยะ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
syntropic | ๑. -ร่วมทิศ๒. -ปัจจัยสัมพันธ์ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
absolute contraband | ยุทธปัจจัยต้องห้ามเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Aristotle's cause | เหตุของอาริสโตเติล, ปัจจัยของอาริสโตเติล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
biotic factor | ปัจจัยชีวนะ [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] |
means of subsistence | ปัจจัยการยังชีพ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
material cause | วัสดุเหตุ, วัสดุปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
connecting factors | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับกรณี (ก. ระหว่างประเทศ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause, Aristotle's | เหตุของอาริสโตเติล, ปัจจัยของอาริสโตเติล [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause, efficient | สัมฤทธิเหตุ, สัมฤทธิปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause, final | อันตเหตุ, อันตปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause, formal | รูปเหตุ, รูปปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
causality | เหตุภาพ, ปัจจัยภาพ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause | เหตุ, ปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cause, material | วัสดุเหตุ, วัสดุปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contraband, absolute | ยุทธปัจจัยต้องห้ามเด็ดขาด [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
formal cause | รูปเหตุ, รูปปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factor, precipitating | ปัจจัยกระตุ้น, ปัจจัยชนวน [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
factor, predisposing | ปัจจัยโน้มรับโรค [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
factor, risk | ปัจจัยเสี่ยง [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
final cause | อันตเหตุ, อันตปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
factor | ปัจจัย [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
efficient cause | สัมฤทธิเหตุ, สัมฤทธิปัจจัย [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
escalation factor | ปัจจัยที่ทำให้ปรับราคา, ปัจจัยที่ทำให้ปรับอัตรา (เช่น อัตราค่าครองชีพ) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
visible means of support | ปัจจัยอันปรากฏชัดสำหรับดำรงชีพ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
teratogen | ๑. สารก่อวิรูป๒. ปัจจัยก่อวิรูป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
human factor | มนุษยปัจจัย [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
human factor | มนุษยปัจจัย [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
จตุปัจจัย | เครื่องอาศัยเลี้ยงชีวิตของบรรพชิตในพระพุทธศาสนา ๔ อย่าง คือ จีวร (ผ้านุ่งห่ม) บิณฑบาต (อาหาร) เสนาสนะ (ที่อยู่) คิลานเภสัช (ยา) [ศัพท์พระราชพิธี] |
Agricultural input | ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร [เศรษฐศาสตร์] |
Farm input | ปัจจัยการผลิตด้านไร่นา [เศรษฐศาสตร์] |
Input output table | ตารางปัจจัยการผลิตและผลผลิต [เศรษฐศาสตร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
Delayed neutrons | ดีเลย์นิวตรอน, นิวตรอนที่ถูกปล่อยออกมาจากผลผลิตการแบ่งแยกนิวเคลียสในช่วงเวลาหลายวินาทีหรือหลายนาทีภายหลังการเกิดปฏิกิริยาการแบ่งแยกนิวเคลียส ดีเลย์นิวตรอนที่เกิดขึ้นนี้มีไม่เกินร้อยละ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญสำหรับการออกแบบและควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ (ดู prompt neutrons ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Spontaneous mutations | การกลายพันธุ์เกิดเอง, การเปลี่ยนแปลงของสารพันธุกรรมหรือดีเอ็นเอ (DNA) ของเซลล์สิ่งมีชีวิต ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ ที่มีอยู่ในธรรมชาติ เช่น แสงแดด อุณหภูมิ หรือเกิดจากความผิดพลาดในกระบวนการสร้างและซ่อมแซมดีเอ็นเอของสิ่งมีชีวิตนั้น [นิวเคลียร์] |
Protection factor | ปัจจัยการป้องกัน, พีเอฟ, ปัจจัยการลดปริมาณรังสี, ดีอาร์เอฟ, Example: [นิวเคลียร์] |
Dose Reduction Factor | ปัจจัยการลดปริมาณรังสี, ดีอาร์เอฟ [นิวเคลียร์] |
Fundamental analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน, Example: เป็นวิธีการวิเคราะห์หลักทรัพย์แบบหนึ่ง การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานมุ่งจะประเมินมูลค่าของหลักทรัพย์ในปัจจุบัน โดยพิจารณาถึงผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับและราคาหลักทรัพย์ที่คาดว่าจะขายได้ในอนาคต ผลจากการวิเคราะห์นี้จะใช้เป็นเกณฑ์ตัดสินใจคือ จะซื้อหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวต่ำกว่ามูลค่าตามพื้นฐานที่คำนวณได้ และจะขายหลักทรัพย์นั้นหากพบว่าราคาตลาดของหลักทรัพย์ดังกล่าวสูงกว่ามูลค่าตามพื้นฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะวิเคราะห์ถึงภาวะเศรษฐกิจ ภาวะการเมือง ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง และผลการดำเนินงาน รวมทั้งฐานะทางเงินของบริษัทผู้ออกหุ้น วิธีวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานจะแตกต่างจากการวิเคราะห์ทางเทคนิค (technical analysis) ซึ่งมุ่งวิเคราะห์ลักษณะการเคลื่อนไหวของราคาหลักทรัพย์ และปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย์เป็นสำคัญ เพื่อคาดหมายแนวโน้มของราคาหลักทรัพย์ [ตลาดทุน] |
Climatic factors | ปัจจัยภูมิอากาศ [TU Subject Heading] |
Human factors | ปัจจัยมนุษย์ [TU Subject Heading] |
Input-output analysis | การวิเคราะห์ปัจจัยผลผลิต [TU Subject Heading] |
Input-output tables | ตารางปัจจัยผลผลิต [TU Subject Heading] |
Requisites | ปัจจัย [TU Subject Heading] |
Risk factors | ปัจจัยเสี่ยงทางการแพทย์ [TU Subject Heading] |
Suffixes and prefixes | อุปสรรคและปัจจัย [TU Subject Heading] |
Antagonism | ปัจจัยเสริมผลกระทบน้อย, Example: สถานการณ์ซึ่งเมื่อมีปัจจัย 2 ปัจจัยหรือมากกว่าก่อให้เกิดผลกระทบ น้อยกว่าปัจจัยเดียวโดดๆ ในการศึกษาผลกระทบที่มีต่อสิ่งมีชีวิตหรือที่เรียกว่าชีววิเคราะห์ (bioassay) นั้นคำว่า antagonism อาจหมายถึงสถานการณ์ซึ่งการตอบสนองบางอย่างเกิดขึ้นจากการได้รับ ปัจจัยใดปัจจัยหนึ่งใน 2 ปัจจัย แต่ไม่ได้รับพร้อมกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Synergistic Effect | ปัจจัยเสริมผลกระทบมาก, Example: ผลของสารเคมี 2 ชนิด ที่เมื่อรวมกันก่อให้เกิดผลกระทบมากกว่าที่เกิดขึ้นจากสารเคมีแต่ละชนิด สารเคมีดังกล่าวเรียกว่า มีคุณสมบัติเป็น synergism [สิ่งแวดล้อม] |
Waste Factor | ปัจจัยของเสีย, Example: อัตราส่วนพลังงานที่วัดได้จากการแปรรูปของเสีย [สิ่งแวดล้อม] |
Capital Recovery Factor (IRF) | ปัจจัยคืนทุน [สิ่งแวดล้อม] |
Application Factor | ปัจจัยประยุกต์, Example: ผลหารของความเข้มข้นของสารใดๆ ที่ไม่เป็นพิษ หลังจากการสัมผัส เป็นเวลานานหรืออย่างต่อเนื่อง ด้วยค่า TLm 96 ชม. ของสารนั้น [สิ่งแวดล้อม] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Mekong - Ganga Cooperation | ความร่วมมือแม่นำโขง - คงคา ริเริ่มขึ้นเมื่อกรกฎาคม พ.ศ.2543 ที่กรุงเทพฯ มีสมาชิก 6 ประเทศ คือกัมพูชา อินเดีย ลาว พม่า ไทย และเวียดนาม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจและสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงกับประเทศในลุ่มแม่น้ำคงคาในด้านการ ท่องเที่ยว การศึกษาวัฒนธรรม และคมนาคมขนส่งโดยอาศัยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่เกื้อกูลกันและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างกัน และเป็นยุทธศาสตร์เชื่อมโยง GMS (จีน) ไปสู่อินเดีย [การทูต] |
New Diplomacy | การทูตแบบใหม่ ภายหลังสงครามโลกครั้งแรก หรือตั้งแต่ ค.ศ. 1918 เป็นต้นมา ได้เกิดการทูตแบบใหม่ ซึ่งแตกต่างไปจาการทูตแบบเก่า อันได้ปฏิบัติกันมาเป็นเวลาหลายร้อยปี นักวิชาการบางท่านมีความเอนเอียงที่จะตำหนิว่า การที่เกิดสงครามโลกขึ้นนั้น เป็นเพราะการทูตประสบความล้มเหลวมากกว่าอย่างไรก็ดี บางท่านเห็นว่าแม้ส่วนประกอบของการทูตจะเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลา แต่เนื้อหาหรือสาระสำคัญของการทูตยังคงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง เป็นการผสมผสานเข้าด้วยกันระหว่างการทูตแบบเก่ากับการทูตแบบใหม่อาจกล่าวได้ ว่า มีปัจจัยสำคัญ ๆ อยู่สามประการ ที่มีอิทธิพลหรือบังเกิดผลโดยเฉพาะต่อวิธีการหรือทฤษฎีของการเจรจาระหว่าง ประเทศ กล่าวคือ ข้อแรก ชุมชนนานาชาติทั้งหลายเกิดการตื่นตัวมากขึ้น ข้อที่สอง ได้มีการเล็งเห็นความสำคัญของมติสาธารณะ ( Public Opinion) มากขึ้น และประการสุดท้าย เป็นเพราะการสื่อสารคมนาคมได้เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็วอดีตนักการทูตผู้มี ชื่อเสียงคนหนึ่งของอินเดีย ได้แสดงความไม่พอใจและรังเกียจความหยาบอย่างปราศจากหน่วยก้านของการดำเนิน การทูตแบบใหม่ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อเข้าใส่กัน การใช้ถ้อยคำในเชิงผรุสวาทต่อกัน การเรียกร้องกันอย่างดื้อ ๆ ขาดความละมุนละไมและประณีต อาทิเช่น การเรียกร้องข้ามหัวรัฐบาลไปยังประชาชนโดยตรงในค่ายของฝ่ายตรงกันข้ามการ กระทำต่าง ๆ ที่จะให้รัฐบาลต้องเสียชื่อหรือขาดความน่าเชื่อถือ ตลอดจนการใส่ร้ายป้ายสีกันด้วยวิธีการต่าง ๆ นานา ห้ามไม่ให้ประชาชนติดต่อกันทางสังคม และอื่น ๆ เป็นต้น [การทูต] |
Personal Inviolability of Diplomatic Agents | หมายถึง ตัวบุคคลของตัวแทนทางทูตจะถูกละเมิดมิได้ กล่าวคือ มาตรา 29 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูต ได้บัญญัติในเรื่องนี้ไว้ว่า ?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ ตัวแทนทางการทุตจะไม่ถูกจับกุมหรือกักขังในรูปใด ๆ ให้รัฐผู้รับปฏิบัติต่อตัวแทนทางการทูตด้วยความเคารพตามสมควร และดำเนินการที่เหมาะสมทั้งมวลที่จะป้องกันการประทุษร้ายใด ๆ ต่อตัวบุคคล เสรีภาพ หรือเกียรติของตัวแทนทางการทูต?ตัวบุคคลของตัวแทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้ นั้น ได้ถือเป็นปัจจัยหลักในการที่ให้ผู้แทนทางการทูตได้รับสิทธิและความคุ้มกัน ทั้งมวล ถึงกับมีการพูดกันว่า ผู้ใดประทุษร้ายต่อตัวเอกอัครราชทูต จักถือว่าเป็นการทำร้ายต่อประมุขของประเทศซึ่งผู้แทนทางการทูตผู้นั้นเป็น ตัวแทนอยู่ ทั้งยังถือว่าเป็นการยังผลร้ายต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพของประชาชาติทั้ง มวลด้วยตัวอย่างเช่น เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ค.ศ. 1964 ชายหนุ่มญี่ปุ่นคนหนึ่งซึ่งมีจิตวิปลาส ได้ใช้มีดแทง นายเอ็ดวิน โอไรส์ชาวเออร์ เอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ประจำประเทศญี่ปุ่น ในเขตนอกสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐฯ ในกรุงโตเกียว รัฐมนตรีว่าการกระทวงมหาดไทยญี่ปุ่นได้ลาออกจากตำแหน่งทันทีและรุ่งขึ้นใน วันที่ 25 มีนาคม ค.ศ. 1964 นายอิเคดะ นายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นในสมัยนั้น ได้ทำการขอโทษต่อประชาชนชาวอเมริกันทางวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งนับเป็นครั้งแรกที่ได้มีการดำเนินการในทำนองนี้ และการที่นายกรัฐมนตรีอิเคดะได้ปฏิบัติดังกล่าวได้แสดงให้เห็นว่า การที่ตัวบุคคลของผู้แทนทางการทูตจะถูกละเมิดมิได้นั้น มีความสำคัญมากเพียงใดตัวแทนทางการทูตจะถูกจับ ถูกฟ้องศาล หรือถูกลงโทษฐานประกอบอาชญากรรมนั้นไม่ได้ เพราะถือว่าผู้แทนทางการทูตมิได้อยู่ในอำนาจศาลของรัฐผู้รับ อย่างไรก็ดี หากผู้แทนทางการทูตกระทำความผิดอย่างโจ่งแจ้ง รัฐผู้รับอาจขอให้รัฐผู้ส่งเรียกตัวกลับไปยังประเทศของเขาได้ในทันที [การทูต] |
Work of the United Nations for the Independence of Colonial Peoples | งานขององค์การสหประชาชาติ ในการช่วยให้ชาติอาณานิคมทั้งหลายได้รับความเป็นเอกราช นับตั้งแต่เริ่มตั้งองค์การสหประชาชาติเมื่อปี ค.ศ.1945 เป็นต้นมา มีชนชาติของดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเอง รวมทั้งดินแดนในภาวะทรัสตีตามส่วนต่าง ๆ ของโลก ได้รับความเป็นเอกราชไปแล้วไม่น้อยกว่า 170 ล้านคน ดินแดนที่แต่ก่อนยังไม่มีฐานะปกครองตนเองราว 50 แห่งได้กลายฐานะเป็นรัฐเอกราช มีอธิปไตยไปแล้ว ขณะนี้ยังเหลือดินแดนที่ยังมิได้ปกครองตนเองอีกไม่มาก กำลังจะได้รับฐานะเป็นประเทศเอกราชต่อไปแม้ว่าปัจจัยสำคัญที่สุดซึ่งทำให้ เกิดวิวัฒนาการอันมีความสำคคัญทางประวัติศาสตร์ จะได้แก่ความปรารถนาอย่างแรงกล้าของประชาชนในดินแดนเมืองขึ้นทั้งหลาย แต่องค์การสหประชาชาติก็ได้แสดงบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนชนชาติ ที่ยังมิได้เป็นเอกราช และชาติที่ยังปกครองดินแดนเหล่านั้นอยู่ ให้รีบเร่งที่จะให้ชาชาติในดินแดนเหล่านั้นได้รับฐานะเป็นเอกราชโดยเร็วที่ สุดเท่าที่จะเป็นไปได้การที่องค์การสหประชาชาติมีบทบาทหน้าที่ดังกล่าวเพราะ ถือตามหลักแห่งความเชื่อศรัทธาที่ว่า มนุษย์ไม่ว่าชายหรือหญิง และชาติทั้งหลายไม่ว่าใหญ่หรือเล็ก ย่อมมีสิทธิเท่าเทียมกัน และได้ยืนยันความตั้งใจอันแน่วแน่ของประเทศสมาชิกที่จะใช้กลไกระหว่างประเทศ ส่งเสริมให้ชนชาติทั้งหลายในโลกได้ประสบความก้าวหน้าทั้งในทางเศรษฐกิจและ สังคมนอกจากนั้น เพื่อเร่งรัดให้ชนชาติที่ยังอยูใต้การปกครองแบบอาณานิคมได้ก้าวหน้าไปสู่ เอกราช สมัชชาของสหประชาชาติ (General Assembly of the United Nations) ก็ได้ออกปฏิญญา (Declaration) เกี่ยวกับการให้ความเป็นเอกราชแก่ประเทศและชนชาติอาณานิคม เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1960 ซึ่งในปฏิญญานั้น ได้ประกาศยืนยันความจำเป็นที่จะให้ลัทธิอาณานิคมไม่ว่าในรูปใด สิ้นสุดลงโดยเร็วและปราศจากเงื่อนไขใด ๆ สมัชชายังได้ประกาศด้วยว่า การที่บังคับชนชาติอื่นให้ตกอยู่ใต้อำนาจการปกครอง แล้วเรียกร้องประโยชน์จากชนชาติเหล่านั้น ถือว่าเป็นการปฏิเสธไม่ยอมรับสิทธิมนุษยชนขั้นมูลฐาน เป็นการขัดกับกฎบัตรของสหประชาชาติ เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมสันติภาพและความร่วมมือของโลกสมัชชาสหประชาชาติ ยังได้ประกาศต่อไปว่า จะต้องมีการดำเนินการโดยด่วนที่สุด โดยไม่มีเงื่อนไขหรือข้อสงวนใด ๆ ตามเจตนารมณ์ ซึ่งแสดงออกอย่างเสรี โดยไม่จำกัดความแตกต่างในเรื่องเชื้อชาติ หลักความเชื่อถือ หรือผิว เพื่อให้ดินแดนทั้งหลายที่ยังไม่ได้มีการปกครองของตนเองเหล่านั้นได้รับความ เป็นเอกราชและอิสรภาพโดยสมบูรณ์ในปี ค.ศ. 1961 สมัชชาสหประชาชาติก็ได้จัดตั้งคณะกรรมการพิเศษขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อตรวจดูและให้มีการปฏิบัติให้เป็นตามคำปฏิญญาของสหประชาชาติ และถึงสิ้นปี ค.ศ. 1962 คณะกรรมการดังกล่าวได้ประชุมกันหลายต่อหลายครั้งทั้งในและนอกสำนักงานใหญ่ ขององค์การสหประชาชาติ แล้วรวบรวมเรื่องราวหลักฐานจากบรรดาตัวแทนของพรรคการเมืองทั้งหลาย จากดินแดนที่ยังไม่ได้รับการปกครองตนเอง แล้วคณะกรรมการได้ตั้งข้อเสนอแนะต่าง ๆ โดยมุ่งจะเร่งรัดให้การปกครองอาณานิคมสิ้นสุดลงโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ [การทูต] |
Antidegradant | สารเคมีที่เติมลงไปในยางเพื่อลดอัตราเร็วในการเสื่อมสภาพของยางอัน เนื่องมาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ออกซิเจน ความร้อน แสงแดด และโอโซน เป็นต้น [เทคโนโลยียาง] |
Age Factors | อายุ, ปัจจัยเกี่ยวกับ [การแพทย์] |
Aggravating Factors | ปัจจัยที่ทำให้อาการมากขึ้น [การแพทย์] |
Aggressive Factors | ปัจจัยที่กระตุ้น [การแพทย์] |
Antenatal Factors | ปัจจัยก่อนคลอด [การแพทย์] |
Antithiamine Factors | ปัจจัยต่อต้านไธอามีน [การแพทย์] |
Blood Coagulation Factors | เลือด, ปัจจัยทำให้แข็งตัว;เลือดอด, ปัจจัยการแข็งตัว [การแพทย์] |
Biological Factors | ปัจจัยทางชีวภาพ, ปัจจัยทางชีววิทยา, ปัจจัยเกี่ยวกับชีววิทยา, มูลเหตุทางด้านชีววิทยา [การแพทย์] |
Biological Factors Flow of Wealth | ปัจจัยทางชีววิทยา [การแพทย์] |
Blood Group Factors | ปัจจัยเกี่ยวกับหมู่เลือด [การแพทย์] |
Cardiovascular Risk Profile, Total | เหตุปัจจัยเสี่ยงรวมต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด [การแพทย์] |
Causation | สาเหตุ, การอาศัยซึ่งกันและกัน, สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงต่อโรค [การแพทย์] |
Causes, Secondary | สาเหตุชนิดเซกันดารี่, ปัจจัยรอง [การแพทย์] |
Ceteris Paribus | ปัจจัยต่างๆคงที่ [การแพทย์] |
Chemical Factors | ปัจจัยทางเคมี [การแพทย์] |
Clotting Factors | องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด, การจับลิ่มของเลือด, ปัจจัยการตกตะกอนของเลือด, ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด [การแพทย์] |
Co-Factors | ปัจจัยร่วม, การเป็นส่วนประกอบปัจจัยร่วม [การแพทย์] |
Coagulation Factors | ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือด, สารที่ทำให้เลือดแข็งตัว, ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด, องค์ประกอบในการแข็งตัวของเลือด, ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด, ปัจจัยการแข็งตัวของเลือด, สารช่วยห้ามเลือด, สารที่ทำให้เลือดแข็งตัว [การแพทย์] |
Coagulation Factors, Labile | ปัจจัยการแข็งตัวของเลือดชนิดที่สลายง่าย [การแพทย์] |
Cofactors | โคแฟคเตอร์, ปัจจัยร่วม, ตัวประกอบร่วม [การแพทย์] |
Common Factors | ปัจจัยร่วม [การแพทย์] |
Conception Variables | ปัจจัยที่ยังผลต่อการตั้งครรภ์ [การแพทย์] |
Constitutional Factors | ปัจจัยเฉพาะตัวบุคคล, สิ่งที่ติดตัวเด็กมาแต่กำเนิด, ความอ่อนแอเฉพาะบุคคล, ลักษณะส่วนตัว [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
จตุปัจจัย | [jatupatjai] (n) EN: the four necessities of a Buddhist monk: food, raiment, abode and medicine |
การวิเคราะห์ปัจจัย | [kān wikhrǿ patjai] (n, exp) EN: factor analysis |
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน | [kān wikhrǿ patjai pheūnthān] (n, exp) EN: fundamental analysis |
การวิเคราะห์ปัจจัยทางเทคนิค | [kān wikhrǿ patjai thāng thēknik] (n, exp) EN: technical analysis |
คำปัจจัย | [kham patjai] (n, exp) EN: suffix FR: suffixe [ m ] |
ข้อจำกัดจากปัจจัยภายนอก | [khø jamkat jāk patjai phāinøk] (n, exp) EN: external constraints |
ปัจจัย | [patjai] (n) EN: factor ; cause ; means ; element ; consideration FR: élément [ m ] ; facteur [ m ] ; moyen [ m ] |
ปัจจัย | [patjai] (n) EN: requisite ; necessary thing ; necessities of life ; subsistence ; means of livelihood ; essential |
ปัจจัยเบื้องต้น | [patjai beūangton] (n, exp) EN: basic factor |
ปัจจัยชี้ขาด | [patjai chīkhāt] (n, exp) EN: decisive factor ; deciding factor |
ปัจจัยการดำรงชีวิต | [patjai kān damrongchīwit] (n, exp) EN: means of livelihood ; means of subsistence |
ปัจจัยการผลิต | [patjai kān phalit] (n, exp) EN: means of production ; capital goods |
ปัจจัยหลัก | [patjai lak] (n, exp) EN: basic necessity |
ปัจจัยภายใน | [patjai phāinai] (n, exp) EN: internal factor ; intrinsic factor |
ปัจจัยภายนอก | [patjai phāinøk] (n, exp) EN: external factor |
ปัจจัยพื้นฐาน | [patjai pheūnthān] (n, exp) EN: basic factor |
ปัจจัยสำคัญ | [patjai samkhan] (n, exp) EN: key element |
ปัจจัยสี่ | [patjai sī] (n, exp) EN: four requisites |
ปัจจัยเสี่ยง | [patjai sīeng] (n, exp) EN: risk factor FR: facteur de risque [ m ] |
ปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ | [patjai thī mai samāt khūapkhum dāi] (n, exp) EN: uncontrollable factors FR: facteurs incontrôlables |
วัตถุปัจจัย | [watthu patjai] (n, exp) EN: material element |
Longdo Approved EN-TH
essential | (adj) จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นเนื้อแท้, เป็นปัจจัยพื้นฐาน, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
cofactor | (n) ปัจจัยที่เกิดร่วม |
condition | (n) ปัจจัยแวดล้อม |
element | (n) องค์ประกอบ, See also: ส่วนประกอบ, ปัจจัย, ปัจจัยสำคัญ, ส่วนสำคัญ, Syn. component, constituent, portion |
essential | (n) องค์ประกอบสำคัญ, See also: เนื้อแท้, ปัจจัยพื้นฐาน, สิ่งจำเป็น |
factor | (n) ปัจจัย, See also: ตัวประกอบ, ปัจจัยที่ทำให้เกิดผลหรือมีอิทธิพลต่อสิ่งต่างๆ, Syn. constituent, determinant, portion |
keep | (n) อาหารและที่พัก, See also: ปัจจัยสี่, Syn. maintenance |
necessary | (n) ปัจจัย, See also: สิ่งจำเป็น |
parameter | (n) ตัวแปร, See also: พารามิเตอร์, ปัจจัยที่กำหนด, Syn. limiting factor |
watershed | (n) จุดบอกการเปลี่ยนแปลง, See also: จุดผกผัน, ปัจจัยที่บอกการเปลี่ยนแปลง |
Hope Dictionary
auxin | (ออค'ซิน) n. สารที่เป็นปัจจัยการเจริญเติบโตของพืช (regulate the growth of plants) |
auxochrome | (ออค'ซะโครม) n. กลุ่มของอะตอมที่เป็นปัจจัยทำให้สีของสารเข้มขึ้น. -auxochromatic adj. |
cacognics | n. การศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ทำให้เกิดการเสื่อมของพันธุ์ |
chantry | (ชาน'ทรี) n. ปัจจัยที่ถวายพระ, โบสถ์เล็ก ๆ ในสังกัด |
cofactor | (โคแฟค'เทอะ) n. ปัจจัยร่วม |
determinant | (ดิเทอ'มิเนินทฺ) n. ปัจจัย, ตัวกำหนด, ลักษณะชี้เฉพาะ |
element | (เอล'ละเมินทฺ) n. ธาตุ, ธาตุแท้, ปัจจัยสำคัญ, หน่วย, ที่อยู่ตามธรรมชาติ, สภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ, รากฐาน, พื้นฐาน, ขั้วไฟฟ้า, See also: elemental adj. |
essence | (เอส'เซินซฺ) n. ส่วนประกอบสำคัญ, เนื้อแท้, แก่นแท้, ใจความ, ปัจจัย, จุดสำคัญ, หัวใจ, ตัวยาสำคัญ, หัวน้ำมัน, หัวน้ำหอม, เอกลักษณ์, สิ่งที่มีอยู่จริง, Syn. quintessence |
essential | (อะเซน'เชิล) adj. จำเป็นที่สุด, ซึ่งขาดเสียมิได้, เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ, เป็นปัจจัย, เกี่ยวกับตัวยาสำคัญ, เกี่ยวกับหัวน้ำมัน, เกี่ยวกับหัวน้ำหอม, เป็นธรรมชาติ, ซึ่งเกิดขึ้นเอง., See also: essentialness n. ดูessential, Syn. funda |
factor | (แฟค'เทอะ) n. ปัจจัย, เหตุ, กรณี, ตัวคูณ, ตัวหาร, ผู้แทนบริษัท. vt. แสดงว่าเป็นผลคูณ., See also: factorial n., adj. factorable adj. factorship n., Syn. agent |
inability | (อินอะบิล' ลิที) n. การขาดความสามารถ, การไม่มีความสามารถ, การไร้กำลังหรือปัจจัย, Syn. incapability, incapacity |
latency | (เลท'เทินซี) n. การซ่อนเร้นอยู่ภายใน, การแฝงอยู่, ศักยภาพ, ระยะแฝง, สิ่งที่แฝงอยู่, ปัจจัยที่แฝงอยู่, Syn. abeyance |
material | (มะเทีย'เรียล) n. วัตถุ, ส่วนประกอบ, วัสดุ, ปัจจัย, เนื้อหา, เนอความ, สาระ, กลุ่มของความคิด ข้อเท็จจริงหรือข้อมูล, สิ่งทอ adj. ประกอบด้วยวัตถุ, ทางกาย, เป็นปัจจัยสำคัญ, เกี่ยวกับวัตถุพยาน., See also: materials n. อุปกรณ์เครื่องมือ |
monism | (มอน'นิซึม, โม'นิสซึม) ความเชื่อที่ว่ามีเพียงปัจจัย, See also: monist n. monistic adj. monistical adj. |
pages per minute | ใช้ตัวย่อว่า ppm. (อ่านว่า พีพีเอ็ม) เป็นหน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์ (ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์) หมายถึง จำนวนหน้าที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ได้ใน 1 นาที อย่างไรก็ตาม การที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า การพิมพ์ที่ใช้ตัวอักษรธรรมดา หรือตัวอักษรพิเศษ เป็นการพิมพ์ภาพสีเดียว หรือภาพหลายสี ฯ เครื่องพิมพ์บางชนิด วัดความเร็วในการพิมพ์เป็นบรรทัดต่อนาที (lines per minute) ก็มี |
ppm | (พีพีเอ็ม) ย่อมาจาก pages per minute เป็นหน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์ (ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์) หมายถึง จำนวนหน้าที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ได้ใน 1 นาที อย่างไรก็ตาม การที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า การพิมพ์ที่ใช้ตัวอักษรธรรมดา หรือตัวอักษรพิเศษ เป็นการพิมพ์ภาพสีเดียว หรือภาพหลายสี ฯ เครื่องพิมพ์บางชนิด วัดความเร็วในการพิมพ์เป็นบรรทัดต่อนาที (lines per minute) ก็มีดู lpm เปรียบเทียบprecedence : การทำก่อนในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง การดำเนินการที่ทำก่อนอย่างอื่น เช่น ในนิพจน์ใดที่เครื่องหมาย + - * (คูณ) / (หาร) และวงเล็บ () ก็ต้องทำในวงเล็บก่อน แล้วมาทำ * และ / หลังจากนั้นจึงจะทำ + และ - เช่นนี้ เรียกว่า วงเล็บเป็นลำดับก่อน |
requisition | (เรคควิซิช'เชิน) n. การเรียกร้อง, ความต้องการ, คำเรียกร้อง, ปัจจัยที่ต้องการ, ปัจจัยที่จำเป็น, แบบหนังสือเรียกร้อง vt. เรียกร้อง, ต้องการ, See also: requisitionary adj. requisite ist n. requisitioner n. |
strategic | (สทระที'จิค) adj. เกี่ยวกับ (กลยุทธ, ยุทธวิธี) , เป็นยุทธปัจจัย., See also: strategically adv., Syn. strategical, major, vital |
stuff | (สทัฟ) n. ปัจจัย, วัตถุดิบ, ไส้ขนม, ยัดไส้, เนื้อแท้, แก่นแท้, ธาตุแท้, ความเชี่ยวชาญ, ความเชี่ยวชาญเฉพาะอย่าง, การกระทำเฉพาะอย่าง, สระ, สัพเพเหระ, ของเลว, คำพูดที่ไร้สาระ, เรื่องเหลวไหล. vt. ยัดไส้, ใส่ไส้, บรรจุ, อัด, เบีบด. vi. กินจนอิ่มเกินไป, กินอย่างตะกละ |
subsistence | (ซับซิส'เทินซฺ) n. การมีอยู่, การยังชีพ, การดำรงชีพ, วิธีการอยู่รอดหรือดำรงชีพ, แหล่งอาหารและปัจจัยการยังชีพอื่น ๆ , สิ่งที่มีอยู่, สิ่งที่เป็นของจริง, Syn. life, existence, sustenance |
suffix | (ซัฟ'ฟิคซฺ) n. คำเสริมท้าย, คำต่อท้าย, อาคม, ปัจจัย, สิ่งต่อท้าย, เครื่องหมายต่อท้าย. vt. ต่อท้าย, เสริมท้าย, เติมปัจจัย., See also: suffixal adj. suffixion n. suffixation n. |
terminal | (เทอ'มะเนิล) adj. ปลาย, ท้าย, กำลังสิ้นสุด, สรุป, ลงเอย, มีกำหนดเวลา, เกี่ยวกับสถานีรถไฟ, เกี่ยวกับขอบเขต, สุดเขต, เกี่ยวกับเครื่องหมายของเขต, บั้นปลายชีวิต. n. ส่วนปลาย, ส่วนท้าย, ส่วนหาง, สุดเขต, ขั้วปลายสายไฟ, สถานีปลายทาง, สถานีชุมทาง, ปลายทาง, คำที่อยู่ท้ายคำ, ปัจจัย. |
termination | (เทอมะเน'เชิน) n. การสิ้นสุด, การยุติ, การลงเอย, การลงท้าย, การจบลง, จุดหมาย, ปลาย, สุดเขต, ขอบเขต, ส่วนท้าย, ส่วนปลาย, ข้อสรุป, ผล, คำลงท้าย, ปัจจัย., See also: terminational adj., Syn. discontinuation |
utility | (ยูทิล'ลิที) n. ประโยชน์, ผลประโยชน์, การบริการสาธารณะ (เช่นรถเมล์ รถราง, รถไฟ, โทรศัพท์, ไฟฟ้า) , ปัจจัยที่เป็นประโยชน์, หลักการของลัทธิผลประโยชน์, adj. สำหรับใช้สอย (มากกว่าสำหรับการประดับตกแต่งให้สวยงาม), See also: utilities n. หุ้นหรือหลักทรัพย์ของทรัพ |
Nontri Dictionary
auxiliary | (adj) เป็นองค์ประกอบ, เป็นปัจจัยส่งเสริม |
chantry | (n) ปัจจัยถวายพระในการบังสุกุล |
cofactor | (n) ปัจจัยร่วม |
determinant | (n) ตัวกำหนด, สิ่งที่แสดงผล, ลักษณะเฉพาะ, ปัจจัย |
elemental | (adj) เป็นส่วนประกอบ, เกี่ยวกับธาตุ, เป็นปัจจัย, สำคัญ, เป็นพื้นฐาน |
essence | (n) สิ่งจำเป็น, ส่วนสำคัญ, ปัจจัย, หัวใจ, แก่นแท้ |
essential | (adj) จำเป็น, สำคัญ, เป็นหัวใจ, เป็นปัจจัย, เป็นเนื้อแท้, เป็นธรรมชาติ |
factor | (n) ส่วนประกอบ, ปัจจัย, ส่วนย่อย, เหตุ, กรณี |
material | (n) สิ่งของ, วัตถุ, เนื้อหา, ส่วนประกอบ, ปัจจัย, สิ่งทอ |
requisition | (n) การเรียกร้อง, ปัจจัยที่จำเป็น |
strategic | (adj) เป็นกลยุทธ์, สำคัญทางยุทธศาสตร์, เป็นยุทธปัจจัย |
stuff | (n) สิ่งของ, เนื้อแท้, ปัจจัย, วัตถุดิบ, ความเชี่ยวชาญ |
suffix | (n) อาคม, วิภัตติ, ปัจจัย, คำต่อท้าย |
suffix | (vt) ต่อท้าย, เติมท้าย, เติมปัจจัย |
terminal | (n) บั้นปลายชีวิต, สถานีปลายทาง, ขั้วปลายสายไฟ, ปัจจัย, คำท้าย |
termination | (n) การสิ้นสุด, การลงเอย, จุดหมายปลายทาง, ขอบเขต, ปัจจัย |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Abiotic factors | (n) ปัจจัยที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ ความแห้งแล้ง ความหนาวเย็น แสงแดดเผา การขาดสารอาหาร ค่าความเป็นกรดด่างไม่สมดุล เป็นต้น |
Biotic factors | (n, modal, verb) ปัจจัยที่มีชีวิต ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย ไวรัส ไส้เดือนฝอย |
disease | (n) การตอบสนองทางพยาธิสรีรวิทยาต่อปัจจัยภายนอก หรือภายใน |
overlapping territorial claims area | (n) พื้นที่ทับซ้อน, พื้นที่ทางบกหรือทางทะเลซึ่งมีประเทศมากกว่า ๑ ประเทศ อ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว เนื่องจากปัจจัยต่าง ๆ เช่น ความเป็นมาทางประวัติศาสตร์ สงคราม ความเชื่อทางศาสนา ที่ตั้งของชุมชนทางชาติพันธุ์หรือชนกลุ่มน้อย หรือผลประโยชน์แห่งรัฐ เช่น พื้นที่บริเวณปราสาทพระวิหารที่มีปัญหาการอ้างสิทธิ์เหนือพื้นที่ดังกล่าว ระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา. หมู่เกาะสแปรตลีที่เป็นพื้นที่ทับซ้อน มีหลายประเทศต่างอ้างสิทธิเหนือหมู่เกาะทั้งหมดหรือบางส่วนของหมู่เกาะ ได้แก่ จีน เวียดนาม ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน บูรไน และ มาเลเซีย |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจ | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารอยต่อเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าไร้สนิม เนื่องจากมีความแตกต่างด้านสมบัติวัสดุทั้งสองชนิดทำให้เกิดจุดบกพร่องต่างๆทำให้การเชื่อมรอยต่อโลหะทั้งสองได้ค่อนข้างยาก งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาปัจจัยการเชื่อมที่มีผลต่อสมบัติเชิงกลความต้านแรงดึงและค่าความแข็งด้วยโปรแกรม ทางสถิติ โดยใช้กระบวนการเชื่อม มิกส์ ลวดเชื่อมสเตนเลสSpeedarc308 Lsi*1.2mm การทดสอบประกอบด้วยโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง ความแข็งแรงดึง การดัดโค้ง และการใช้โปรแกรมทางสถิติ กระแสไฟเชื่อม 112A ความเร็วเชื่อ 2 m/s แก๊สปกคลุมแนวเชื่อม Ar 80% + CO2 20 % การทดสอบตามมาตรฐาน ASME BPVC IX ผลการทดสอบค่าความแข็งเฉลี่ย 166.23 HV ความแข็งแรงดึงเฉลี่ย 262.25 MPa การดัดโค้งพบว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นแตกหัก (Broken) ทั้งหมด จึงสรุปได้ว่าชิ้นงานที่ทำการทดสอบนั้นไม่สามารถรับแรงดัดโค้งได้ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมทางสถิติ เมื่อกำหนดค่า α มีค่าเท่ากับ 0.05 พิจารณาอันตรกิริยาจากค่า P-Value Strength เท่ากับ 0.884 และค่าความแข็ง Hardness เท่ากับ 0.227 การทดลองทั้งหมดมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 95% ทำให้การทดลองครั้งนี้ไม่มีอิทธิพลต่อผลการทดลองอย่างนี้นัยสำคัญ คำสำคัญ: เหล็กคาร์บอน SS400 , เหล็กกล้าไร้สนิม SUS304 , การเชื่อมมิก , โปรแกรมทางสถิติ |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
ทุกขอริยสัจ | [ทุก-อะ-ริ-ยะ-สัต] (n) ทุกขอริยสัจ คือความรู้สึกจากสภาพธรรมชาติ 3 อย่างของมนุษยชาติวิญญูชนคือรู้สึกว่าเกิดมาแล้วจะต้องแสวงหาปัจจัยเครื่องค้ำจุนให้มีชีวิตอยู่รอด รู้สึกร่างกายของตนจะต้องแก่เพื่อพัฒนาไปวัยต่าง ๆ ตามสภาพธรรมชาติ 3 อย่างคือเกิด แก่ และตายของมนุษยชาติ และรู้สึกว่าในที่สุดจะต้องตาย ซึ่งพุทธะศาสดาของศาสนาพุทธเรียกโดยย่อว่า อุปาทานขันธ์ 5 หรือตัวทุกข์หรือตัวปัญหาในการดำเนินชีวิตประจำวันของมนุษยชาติวิญญูชนที่อาศัยอยู่บนโลกใบนี้ทุก ๆ คนเหมือนกันเป็นตัวทุกข์ในอริยสัจ 4 เมื่อมนุษยชาติวิญญูชนใช้วิธีแก้ปัญหาแบบอริยสัจ 4 |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
要素 | [ようそ, youso] (n) [ N ] องค์ประกอบ, See also: ส่วนประกอบ, ปัจจัย, ปัจจัยสำคัญ, ส่วนสำคัญ, Syn. component, constituent, portion |
Longdo Approved DE-TH
Risikofaktor | (n) |der, pl. Risikofaktoren| ปัจจัยการเสี่ยง |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.8549 seconds, cache age: 0.354 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม