506 ผลลัพธ์ สำหรับ *ปฏิบัติ*
ภาษา
หรือค้นหา: ปฏิบัติ, -ปฏิบัติ-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
abidance | (n) การคงอยู่, การยอมปฏิบัติตาม |
nurse practitioner | (n) พยาบาลเวชปฏิบัติ |
ฌาณ | (n) ฌาณ หรือ อธิจิต(supraconscious) เป็นจิตที่เป็นที่สุดของปัญญา คือความรู้ชัดธรรมชาติของมนุษย์ว่านี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา(คือความรู้มรรค 8 การคิดปฏิบัติเพื่อดับทุกข์) เป็นจิตที่อยู่เหนือและสามารถ ควบคุมหรือข่ม ได้ทั้งจิตสำนึก(consious) และจิตใต้สำนึก(subconsious) ซึ่งเป็นความรู้ที่สูดของวิญญาณคือความรู้แจ้งของธรรมชาติของมนุษย์ว่า นี้สุข นี้ทุกข์ นี้มิใช่ทุกข์ มิใช่สุข อธิจิตใช้สำหรับดับกิเลส ซึ่งสามารถทำให้เกิดนิมิตขึ้นมาได้ เพื่อดับกิเลสในเวลาที่เกิดกิเลสขึ้น พระผู้มีพระภาค(พระพุทธเจ้า)ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ในพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์๑๐. วิตักกสัณฐานสูตรว่าด้วย อาการแห่งวิตก การเรียกอธิจิตของตนเอง ถ้าไม่มีพรสวรรค์หรือบารมีที่สะสมมาแต่ปางก่อน จะเรียกไม่ได้ เพราะจิตยังไม่มั่นคงพอ จะต้องเรียนรู้และทำความเพียรที่ทนได้ยาก ฝึกฝน จนเกิดความชำนาญ ซึ่งข้าพเจ้ามีความสามารถที่จะให้คนทั่วไปเรียกอธิจิตของตนเองได้ เช่นให้ผู้ป่วยเรียกอธิจิตของเขาออกมารักษาโรคภัยไข้เจ็บทั้งทางกายและใจของเขาที่เป็นอยู่ โดยสั่งให้จิตของเขาตกอยู่ในภาวะภวังค์ ด้วยการสั่งระงับจิตหยาบที่ทำให้เขาเกิดโรคทั้งทางกายและทางใจ เพื่อเขาจะได้มีจิตที่มั่นคงถึงอธิจิตแล้วสั่งยาหรือภูมิต้านทานในตัวของเขาออกมารักษาโรค ซึ่งได้ผลดีกว่าแพทย์แผนปัจจุบัน และแพทย์ทางเลือกวิธีอื่น นี่คือประโยชน์จากการเรียกหรือฝึกเรียกอธิจิตของตนเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าสามารถเรียก Stem cell ในพระวรกายของพระองค์ออกมารักษาโรคได้นานมาแล้วหรือมากกว่า 2554 ปี ส่วนนักวิทยาศาสตร์พึ่งจะมาค้นพบวิธีใช้ Stem cell รักษาบางโรคเมื่อ 50 ปีมานี้เอง การรักษายังมีข้อบ่กพร่องและเงื่อนไขในการรักษาเพื่อจะได้ผลลัพท์จนเป็นที่น่าพอใจของแพทย์อยู่อีกมาก แต่วิธีของพระพุทธองค์ไม่มีเงื่อนไข ถ้าคนป่วยสามารถเรียกอธิจิตของตนเองได้ ข้าพเจ้าได้ใช้อธิจิตรักษา โรคปวดตามอวัยวะและโรคหวัดป่วยของข้าพเจ้าเอง และรักษาโรคปวดและอัมพาลให้กับคนป่วยแล้วหลายราย ซึ่งได้รับผลเป็นที่น่าพอใจของข้าพเจ้าและของคนป่วย |
Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ด่วน | PRIORITY ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติเท่าที่จะทำได้ |
ด่วนที่สุด | URGENT ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น |
ด่วนมาก | IMMEDIATE ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว |
ปฏิบัติการ(ระดับ) | (n, phrase, title) Practitioner Level |
ปฏิบัติราชการแทน | (adv, conj) For + position Ex. For Governor = ปฏิบัติราชการแทนผู้ว่าราชการจังหวัด |
ปฏิบัติราชการแทน | (exp) (ตำแหน่งต่ำกว่า)...for...(ตำแหน่งสูงกว่า) เช่น "รองอธิบดีกรมสรรพากร ปฏิบัติราชการแทนอธิบดี" เขียนว่า "Deputy Director-General of the Revenue Department for the Director-General" |
Longdo Unapproved JP - JP
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
พันธกิจ | [ミッション] (n, org) กิจการหรืองานที่มีภาระรับผิดชอบที่ต้องปฏิบัติให้บรรลุผล |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ปฏิบัติ | (v) minister, See also: look after, Syn. ปรนนิบัติรับใช้, ดูแล, ปรนนิบัติ, Example: ลูกทุกคนต้องปฏิบัติต่อบิดามารดาเพื่อทดแทนบุญคุณ |
ปฏิบัติ | (v) perform, See also: carry out, execute, implement, Syn. ทำตาม, กระทำตาม, ปฏิบัติตาม, Example: นักเรียนต้องรู้จักปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง, Thai Definition: ปฏิบัติตามภาระหน้าที่ คำสั่ง |
ปฏิบัติ | (v) observe, See also: abide by, comply with, Syn. กระทำตาม, ปฏิบัติตาม, Example: พนักงานต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบของบริษัทที่ได้กำหนดไว้, Thai Definition: ปฏิบัติตามกฎข้อบังคับ กฎหมาย |
ปฏิบัติ | (v) behave, See also: conduct, Syn. ประพฤติ, ปฏิบัติตัว |
ปฏิบัติตน | (v) behave, See also: conduct oneself, Syn. ประพฤติตน, กระทำตน, Example: บ้านเมืองจะมีความเรียบร้อย ความมั่นคง ก็ต่อเมื่อประชาชนปฏิบัติตนถูกต้องตามระเบียบของบ้านเมือง |
การปฏิบัติ | (n) practice, See also: performance, commitment, Syn. การกระทำ |
ข้อปฏิบัติ | (n) procedure, See also: practice, Syn. ข้อควรกระทำ, ข้อพึงกระทำ, ข้อพึงปฏิบัติ, Ant. ข้อยกเว้น, Example: กลุ่มประเทศ G10 ได้ร่วมประชุมกันเพื่อพิจารณารายละเอียดข้อปฏิบัติในการดำรงเงินกองทุนให้เป็นมาตรฐานเดียวกันเพื่อความมั่นคงและเสถียรภาพ, Count Unit: ข้อ |
ปฏิบัติการ | (v) take action, See also: act, operate, perform, Syn. ทำ, กระทำ, ทำงาน, ดำเนินงาน, ดำเนินการ, ปฏิบัติ, จัดการ, Example: ตำรวจออกปฏิบัติการโดยทันที หลังจากรับคำสั่ง, Thai Definition: ทำงานตามหน้าที่ |
ปฏิบัติงาน | (v) work, Syn. ทำงาน, ทำ, ดำเนินงาน, จัดการ, บริหาร, Example: บริษัทก่อสร้างเริ่มปฏิบัติงานแล้ว หลังจากเซ็นสัญญา, Thai Definition: กระทำตามภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย |
ปฏิบัติตัว | (v) behave, See also: conduct, Syn. ประพฤติตัว, ประพฤติ, กระทำ, ทำตัว, Example: เขาปฏิบัติตัวราวกับเป็นเศรษฐี |
ปฏิบัติตาม | (v) follow, See also: observe the precepts, behave, track, trace, Syn. ประพฤติตาม, ทำตาม, เจริญรอยตาม, Ant. ฝ่าฝืน, Example: คุณจงวางแผนกลยุทธ์ในการทำสำรองข้อมูล รวมทั้งกำหนดวิธีการแล้วก็ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดด้วยนะครับ |
ภาคปฏิบัติ | (n) practical part, See also: practical section, Ant. ภาคทฤษฎี, Example: แนวคิดและทฤษฎีบางอย่าง เมื่อนำไปใช้ในภาคปฏิบัติแล้วก็ไม่สามารถกระทำได้จริง, Thai Definition: ส่วนที่มีการลงมือกระทำกันจริงๆ |
แนวปฏิบัติ | (n) regulation, See also: rule, Example: การดำเนินงานกิจการนักศึกษาควรยึดระเบียบและกฎเกณฑ์อันเดียวกัน เพื่อมิให้แนวปฏิบัติแตกต่างกัน, Thai Definition: แนวทางในประพฤติตน |
ปฏิบัติธรรม | (v) practice the dharma, Syn. ประพฤติตามธรรม, เจริญภาวนา, Example: ผู้ทรงศีลปฏิบัติธรรมอย่างเคร่งครัด, Thai Definition: ประพฤติตามคำสอนของศาสนา |
ปฏิบัตินิยม | (n) pragmatism, Example: กลุ่มนักปฏิบัตินิยมได้ออกโรงแย้งอิทธิพลความคิดเห็นของชาวตะวันตก |
ปฏิบัติบูชา | (n) worship, Syn. บูชา, Example: ปฏิบัติบูชาเป็นสิ่งที่เรียกว่าเป็นการบูชาด้วยการปฏิบัติ, Thai Definition: แสดงความเคารพ ยกย่อง โดยการปฏิบัติตามคำสั่งสอน |
หลักปฏิบัติ | (n) practice, See also: rule, basic, standard, Syn. กฎเกณฑ์, หลักเกณฑ์, ข้อกำหนด, Example: หลายคนอดสงสัยไม่ได้ว่าครูมีหลักปฏิบัติเป็นกิจวัตรประจำวันอย่างไร |
ทดลองปฏิบัติ | (v) try out, Syn. ทดลองทำ, Example: นักการเมืองท่านนี้มักจะทดลองปฏิบัติสิ่งใหม่ๆ โดยไม่ลังเล |
ในทางปฏิบัติ | (adv) practically, See also: in practice, Example: ในทางปฏิบัติเราอาจจะสามารถประยุกต์กฎเกณฑ์ต่างๆ ที่มีอยู่มาใช้กับกรณีที่ไม่อยู่ในเงื่อนไขได้ |
ข้อควรปฏิบัติ | (n) regulation, See also: rule, obligation, Example: พนักงานควรกระทำตามข้อควรปฏิบัติของโรงงานเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น, Thai Definition: กฎระเบียบต่างๆ |
ปฏิบัติภารกิจ | (v) do one's task, See also: perform one's mission, perform one's duty, carry out one's duty, discharge one's duty, Syn. ปฏิบัติหน้าที่, ทำหน้าที่, Example: ทหารกำลังปฏิบัติภารกิจป้องกันชายแดนจาการลุกล้ำอธิปไตยของประเทศเพื่อนบ้าน |
ผู้ปฏิบัติการ | (n) executor, See also: operator, implementor, Syn. ผู้กระทำการ, ผู้ปฏิบัติ, Example: เจ้าหน้าที่จัดเตรียมสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ให้เพียงพอกับผู้ปฏิบัติการ, Count Unit: คน |
ผู้ปฏิบัติงาน | (n) officer, See also: performer, employee, worker, Syn. พนักงาน, Example: ผู้บริหารของบริษัทมีนโยบายให้รางวัลกับผู้ปฏิบัติงานที่มีผลงานดีเด่น, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายจากองค์กร |
แผนปฏิบัติงาน | (n) objective plan, Example: บริษัทแจ้งให้พนักงานทราบถึงแผนปฏิบัติงานในปีต่อไป, Count Unit: แผน, Thai Definition: แผนที่กำหนดไว้เพื่อเป็นแนวทางในการทำงาน |
ปฏิบัติหน้าที่ | (v) perform one's duty, See also: perform one's mission, do one's task, carry out one's duty, discharge one's duty, Syn. ปฏิบัติภารกิจ, ทำหน้าที่, Example: ตำรวจถูกยิงตายขณะปฏิบัติหน้าที่ |
ระบบปฏิบัติการ | (n) operating system, Example: ระบบปฏิบัติการเปรียบเสมือนผู้ที่จัดสรรทรัพยากรคอมพิวเตอร์ที่มีมีอยู่ ให้ผู้ใช้งานได้ใช้ทรัพยากรอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม, Thai Definition: โปรแกรมที่ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ |
ระเบียบปฏิบัติ | (n) practice, Example: ทุกคนทำตามนโยบายและตามหน้าที่จนกลายเป็นระเบียบปฏิบัติ |
ระเบียบปฏิบัติ | (n) regulation, See also: constitution, rule, Example: ทุกคนทำตามนโยบาย และตามหน้าที่จนกลายเป็นระเบียบปฏิบัติ |
ห้องปฏิบัติการ | (n) laboratory, Syn. ห้องทดลอง, Example: นักวิทยาศาสตร์กำลังทำงานวิจัยอยู่ในห้องปฏิบัติการ, Count Unit: ห้อง |
ห้องปฏิบัติการ | (n) laboratory, See also: lab, Syn. ห้องทดลอง, Example: นักวิทยาศาสตร์กำลังทำงานวิจัยอยู่ในห้องปฏิบัติการ, Count Unit: ห้อง |
สถานปฏิบัติธรรม | (n) dhamma retreat, Syn. สถานที่ปฏิบัติธรรม |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ | (n) righteousness, See also: piety, saintliness, devoutness, devotion, reverence, religiousness, Thai Definition: การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ, Notes: (บาลี, สันสกฤต) |
ห้องปฏิบัติการวิจัย | (n) laboratory, Example: ห้องปฏิบัติการวิจัยทางโทรคมนาคมในมหาวิทยาลัยกำลังเปิดรับสมัครนักวิจัยที่สนใจจะทำงานในด้านโทรคมนาคม, Count Unit: ห้อง, Thai Definition: สถานที่ที่ใช้ทำการวิจัย |
หน่วยปฏิบัติการพิเศษ | (n) special detachment, See also: armed spies, special operating agency, commando, Syn. นปพ., Thai Definition: หน่วยปฏิบัติการที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบในด้านการสืบสวนหาข่าว และปฏิบัติการอื่นใด เพื่อประโยชน์ในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และในด้านที่เกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ |
ความรู้เชิงปฏิบัติการ | (n) know-how, Example: นักวิจัยที่จะเข้ามาทำงานนี้จะต้องมีความรู้เชิงปฏิบัติการอย่างเชี่ยวชาญ, Thai Definition: ความรู้ความสามารถในการลงมือกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่งจริงๆ |
ความรู้เชิงปฏิบัติการ | (n) know-how |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกัน | ว. ต่างฝ่ายต่างปฏิบัติดีต่อกันในเรื่องเดียวกันหรือในทำนองเดียวกัน. |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ | (ทำมา-) น. การประพฤติธรรมสมควรแก่ธรรม, การประพฤติความดีสมควรแก่ฐานะ. |
ธรรมานุธรรมปฏิบัติ | ดู ธรรม ๑, ธรรม-, ธรรมะ. |
ปฏิบัติ | ก. ดำเนินการไปตามระเบียบแบบแผน เช่น ปฏิบัติราชการ, กระทำเพื่อให้เกิดความชำนาญ เช่น ภาคปฏิบัติ |
ปฏิบัติ | กระทำตาม เช่น ปฏิบัติตามสัญญา |
ปฏิบัติ | ประพฤติ เช่น ปฏิบัติสมณธรรม ปฏิบัติต่อกัน |
ปฏิบัติ | ปรนนิบัติรับใช้ เช่น ปฏิบัติบิดามารดา ปฏิบัติครูบาอาจารย์. |
ปฏิบัติการ | ก. ทำงานตามหน้าที่. |
ปฏิบัติการ | ว. ที่ทดลองเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงตามทฤษฎีหรือฝึกงานเพื่อให้เกิดความชำนาญเป็นต้น เช่น ห้องปฏิบัติการ. |
ปฏิบัติธรรม | ก. ประพฤติตามธรรม |
ปฏิบัติธรรม | เจริญภาวนา. |
ปฏิบัติบูชา | น. การบูชาด้วยการปฏิบัติตามคำสั่งสอน, คู่กับ อามิสบูชา ซึ่งเป็นการบูชาด้วยสิ่งของ. |
ภาคปฏิบัติ | น. ภาคลงมือทดลองทำจริง ๆ, คู่กับ ภาคทฤษฎี. |
เรียนปฏิบัติ | ก. ขอหารือต่อผู้ใหญ่ เช่น เรียนปฏิบัติมาเพื่อโปรดพิจารณาแนะนำ. |
วัตรปฏิบัติ | (วัดตฺระ-, วัด-) น. การปฏิบัติตามหน้าที่หรือตามศีล. |
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง | น. การเตรียมการและการดำเนินการของเจ้าหน้าที่เพื่อจัดให้มีคำสั่งทางปกครองหรือกฎ และรวมถึงการดำเนินการใด ๆ ในทางปกครองตามกฎหมายว่าด้วยพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง. |
ศิลปะปฏิบัติ | น. วิชาว่าด้วยการปฏิบัติทางศิลปะ เช่น วาดเขียน ปั้นดิน จักสาน เย็บปักถักร้อย. |
กฎ | ข้อกำหนดหรือข้อบัญญัติที่บังคับให้ต้องมีการปฏิบัติตาม เช่น พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง |
กฎเกณฑ์ | น. ข้อกำหนดที่วางไว้เป็นหลักให้ปฏิบัติ, หลักเกณฑ์. |
กฎข้อบังคับ | น. ข้อกำหนดที่กำหนดไว้เป็นแนวทางหรือระเบียบในการปฏิบัติหรือดำเนินการตามกฎหมาย. |
กฎหมาย | น. กฎเกณฑ์ที่ผู้มีอำนาจตราขึ้นเพื่อใช้บังคับบุคคลให้ปฏิบัติตามเป็นการทั่วไป ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามย่อมได้รับผลร้าย กฎหมายอาจตราขึ้นเพื่อกำหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหรือระหว่างบุคคลกับรัฐ หรือเพื่อใช้ในการบริหารประเทศ กฎหมายอาจเกิดจากจารีตประเพณีอันเป็นที่ยอมรับนับถือกันก็ได้. |
กฎหมายระหว่างประเทศ | น. หลักกฎหมายหรือหลักปฏิบัติที่ยอมรับกันว่าด้วยรัฐและความเกี่ยวพันระหว่างรัฐ รวมทั้งความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับองค์การระหว่างประเทศและประชาคมระหว่างประเทศ. |
กฎหมายเหตุ | กฎเกณฑ์การปฏิบัติที่ตราขึ้นหรือเนื่องจากประเพณีซึ่งมีค่าบังคับ. |
กติกา | (กะ-) น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกำหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น กติกาชกมวย กติกาฟุตบอล |
กฤษฎีกา | (กฺริดสะ-) น. กฎเกณฑ์หรือข้อตกลงที่บุคคลตั้งแต่ ๒ ฝ่ายขึ้นไปกำหนดขึ้นเป็นหลักปฏิบัติ เช่น ก็รับพระกฤษฎีกากำหนดแห่งพระดาบสว่าสาธุแล (ม. คำหลวง วนปเวสน์) |
กลไก | (กน-) น. ตัวจักรต่าง ๆ, โดยปริยายหมายความว่าบุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในระดับต่าง ๆ, ระบบหรือองค์การที่บุคคลผู้เป็นเจ้าหน้าที่ในระดับต่าง ๆ ปฏิบัติงานร่วมกันดุจเครื่องจักร, ระบบที่จะให้งานสำเร็จตามประสงค์, เช่น กลไกการปกครอง |
กัปปิยการก | (-การก) น. ผู้ปฏิบัติภิกษุในเรื่องปัจจัย ๔ คือ จีวร อาหาร ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค. |
การก่อวินาศกรรม | น. การกระทำใด ๆ อันเป็นการมุ่งทำลายทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ หรือสิ่งอันเป็นสาธารณูปโภค หรือการรบกวนขัดขวางหน่วงเหนี่ยวระบบการปฏิบัติงานใด ๆ ตลอดจนการประทุษร้ายต่อบุคคลอันเป็นการก่อให้เกิดความปั่นป่วนทางการเมืองการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ โดยมุ่งหมายที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของรัฐ. |
กาลจักร | (กาละ-) น. ชื่อพิธีกรรมในลัทธิตันตระ ซึ่งมีข้อปฏิบัติเบื้องต้น ๕ อย่าง คือ ดื่มนํ้าเมา กินเนื้อสัตว์ พรํ่ามนตร์ แสดงท่ายั่วยวน และเสพเมถุน ซึ่งปฏิบัติในเวลากลางคืนหรือที่มืด, กาฬจักร ก็ว่า. |
กิจกรรม | น. การที่ผู้เรียนปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อการเรียนรู้ |
เก | ไม่ยอมปฏิบัติตามระเบียบ |
เกลี้ยกล่อม | ก. ชักชวนจูงใจให้ร่วมพวก, พูดจูงใจให้คล้อยตามหรือปฏิบัติตาม. |
ข่มขืนใจ | ก. บังคับจิตใจหรือฝืนใจให้ต้องกระทำการหรืองดเว้นกระทำการ เช่น ข่มขืนใจเจ้าพนักงานให้ปฏิบัติการอันมิชอบด้วยหน้าที่ หรือให้ละเว้นการปฏิบัติการตามหน้าที่ โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย ซึ่งเป็นความผิดต่อเจ้าพนักงาน. |
ข้อกำหนด | น. ข้อความที่ระบุเป็นหลักเกณฑ์หรือวิธีการให้บุคคลที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติหรือดำเนินการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง. |
ข้อบังคับ | น. กฎเกณฑ์หรือรายละเอียดที่กำหนดให้ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องปฏิบัติ. |
ข้านอกเจ้าข้าวนอกหม้อ | น. จำนวนคนซึ่งมีจำนวนมาก ย่อมกระทำหรือประพฤตินอกออกไปจากคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมามากเช่นกัน ดังข้อความว่า กาลแต่ก่อนเจ้านายน้อยตัว ก็ไม่รั่วไม่ร้ำข้างไหนหนัก ครั้นภายหลังเจ้านายมากขึ้นก็เกิดการรั่วร้ำไปต่าง ๆ เป็นการข้านอกเจ้า เข้านอกหม้อ ลูกนอกพ่อ หลานนอกปู่ เป็นขึ้น (พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ ๔). |
ข้านอกเจ้าบ่าวนอกนาย | น. ผู้ที่กระทำหรือประพฤตินอกเหนือคำสั่งหรือแบบอย่างขนบธรรมเนียมที่ถือปฏิบัติกันมา. |
ข้าพระ | น. คนที่พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานแก่สงฆ์ เพื่อรักษาวัดและปฏิบัติพระสงฆ์, ผู้ที่มูลนายยกให้เพื่อรักษาวัดและปฏิบัติพระสงฆ์. |
ข้าราชการ | ผู้ปฏิบัติราชการในส่วนราชการ |
เข้าปริวาส, เข้าปริวาสกรรม | ก. เข้าปฏิบัติปริวาสกรรมให้ครบตามวันที่กำหนด (ใช้แก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสส), อยู่กรรม หรือ อยู่ปริวาส ก็ว่า. |
เข้าวัดเข้าวา | ก. ไปวัดเพื่อฟังเทศน์ฟังธรรม, ไปอยู่ที่วัดเพื่อปฏิบัติธรรม, ประพฤติตนอยู่ในศีลในธรรม. |
แขวง | (แขฺวง) น. เขต, แดน, ส่วน, ฝ่าย, อาณาบริเวณที่กำหนดไว้เพื่อสะดวกในการปฏิบัติราชการอย่างใดอย่างหนึ่ง. |
คชกรรม | น. กิจการในทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง เช่น การขี่ การฟันขอ, ประเภทตำราว่าด้วยทางปฏิบัติอันเกี่ยวกับช้าง. |
คณะกรมการจังหวัด | น. คณะบุคคลซึ่งทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของผู้ว่าราชการจังหวัดในการบริหารราชการแผ่นดินในจังหวัดนั้น และให้ความเห็นชอบในการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด กับปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่กฎหมายหรือมติของคณะรัฐมนตรีกำหนด. |
คณะกรรมาธิการวิสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา หรือที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา แต่งตั้งจากผู้เป็นหรือมิได้เป็นสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เฉพาะเรื่องที่สภามอบหมาย และเมื่อปฏิบัติหน้าที่เสร็จแล้ว คณะกรรมาธิการนั้นย่อมพ้นจากตำแหน่ง. |
คณะกรรมาธิการสามัญ | น. คณะกรรมาธิการที่สภาผู้แทนราษฎร หรือวุฒิสภา เลือกและแต่งตั้งจากสมาชิกแห่งสภานั้น ๆ เพื่อปฏิบัติหน้าที่เป็นประจำ. |
ความรู้ | น. สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ เช่น ความรู้เรื่องประวัติศาสตร์, สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ เช่น ความรู้เรื่องสุขภาพ ความรู้เรื่องนิทานพื้นบ้าน |
คำขาด | น. คำบอกกล่าวอย่างเด็ดขาดครั้งที่สุดให้ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่มีการผ่อนผัน เช่น ยื่นคำขาดให้ผู้เช่าออกไปจากบ้านเช่าภายใน ๓ วัน, ข้อเสนอเด็ดขาด, ข้อเสนอที่ยื่นให้อีกฝ่ายหนึ่งปฏิบัติตามโดยเด็ดขาด เช่น เขายื่นคำขาดให้เธอปฏิบัติตาม. |
คำบังคับ | น. คำสั่งของศาลซึ่งออกเพื่อสั่งให้คู่ความหรือบุคคลซึ่งเป็นฝ่ายแพ้คดีปฏิบัติตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง. |
คู่มือ | น. สมุดหรือหนังสือที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ต้องการรู้เพื่อใช้ประกอบตำรา เพื่ออำนวยความสะดวกเกี่ยวกับการศึกษาหรือการปฏิบัติเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือเพื่อแนะนำวิธีใช้อุปกรณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
probation | ๑. การคุมประพฤติ๒. การรอพินิจ๓. การทดลองปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
probation | ๑. การคุมประพฤติ (ก. อาญา) [ ดู controlling of behaviour ]๒. การทดลองปฏิบัติงาน (ก. ปกครอง) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
probational appointment | การแต่งตั้งให้ทดลองปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pragmatism | ปฏิบัตินิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
positive discrimination | การเลือกปฏิบัติเชิงบวก, การเลือกปฏิบัติเพื่อความเป็นธรรม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
performance | ๑. การปฏิบัติการ๒. การชำระหนี้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
performance appraisal | การประเมินผลการปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
performance bond | หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
pacta sunt servanda (L.) | สัญญาเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pacta sunt servanda (L.) | สัญญาเป็นสิ่งที่ต้องปฏิบัติตาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
practical examination | การสอบภาคปฏิบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
practice | การปฏิบัติ, การประกอบกิจ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
practice, general | เวชปฏิบัติทั่วไป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
practitioner, general | แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
pragmatic theory of truth | ทฤษฎีความจริงแบบปฏิบัตินิยม [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
position, sensitive | ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับความลับของทางราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
lex loci solutionis (L.) | กฎหมายแห่งถิ่นที่พึงปฏิบัติตามสัญญา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
laboratory diagnosis | การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
laboratory phonetics | สัทศาสตร์ปฏิบัติการ [สัทศาสตร์ ๘ มี.ค. ๒๕๔๕] |
layered operating system | ระบบปฏิบัติการเป็นชั้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
reprisal | การตอบโต้, การปฏิบัติตอบโต้ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reprisal | การตอบโต้, การปฏิบัติตอบโต้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reciprocal relations; relations, reciprocal | ความสัมพันธ์แบบถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reciprocity | ภาวะถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ, ภาวะตอบสนองกัน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
rule of court | หลักปฏิบัติของศาล [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
reverse discrimination | การเลือกปฏิบัติสวนทาง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rating, service | การประเมินผลการปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reciprocity | ๑. ภาวะถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ (ก. ระหว่างประเทศ)๒. ภาวะตอบสนองกัน (ก. ทั่วไป) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
racial discrimination | การถือผิว, การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
racial discrimination | การถือผิว, การเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relations, reciprocal; reciprocal relations | ความสัมพันธ์แบบถ้อยทีถ้อยปฏิบัติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
reasonable despatch clause | ข้อกำหนดปฏิบัติการโดยพลันตามควร [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
research, operation | การวิจัยเชิงปฏิบัติการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
Rules of Practice | กฎวิธีการปฏิบัติ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
rule application | การใช้กฎ, การปฏิบัติตามกฎ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
secondment | การให้ยืมตัวบุคคล (ไปช่วยปฏิบัติงาน) [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
sue and labour clause | ข้อกำหนดการเรียกค่าเสียหายและปฏิบัติการ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
service rating | การประเมินผลการปฏิบัติงาน [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
survey of knowledge, attitude and practice (KAP survey) | การสำรวจความรู้ เจตคติหรือทัศนคติ และการปฏิบัติ (การสำรวจ เคเอพี) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
sex discrimination | การเลือกปฏิบัติตามเพศ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
sensitive position | ตำแหน่งที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับความลับของทางราชการ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
observation | ๑. การสังเกต, ข้อสังเกต๒. การปฏิบัติตาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
operating ratio | อัตราส่วนปฏิบัติการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
operating system (OS) | ระบบปฏิบัติการ (โอเอส) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
operating system | ระบบปฏิบัติการ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
operating system (OS) | ระบบปฏิบัติการ (โอเอส) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
open shop | ห้องปฏิบัติงานแบบเปิด [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
OMC (operation and maintenance center) | โอเอ็มซี (ศูนย์ปฏิบัติการและบำรุงรักษา) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
operation | การดำเนินการ, การปฏิบัติการ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
operation and maintenance (O&M) | การปฏิบัติการและบำรุงรักษา (โอแอนด์เอ็ม) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Innovation | นวัตกรรม, นวัตกรรม หรือนวกรรม หมายถึง วิธีการปฏิบัติใหม่ๆ ที่แปลกไปจากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมา หรือการปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่และเหมาะสม และสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลองพัฒนาจนเป็นที่เชื่อถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฏิบัติ ทำให้ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางได้อย่างมีประสิทธิภาพขึ้น โดย มีหลักการที่สำคัญอยู่ 3 ประการ ที่จัดเป็นหลักพิจารณาว่าสิ่งใดเป็นนวัตกรรมทางการศึกษาหรือไม่ คือ <ul><li>สิ่งนั้นควรเป็นสิ่งที่ค้นพบ หรือประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่ หรือการปรับปรุงแต่งของเก่าให้ใหม่เหมาะสมกับกาลสมัยมาใช้ในวงการศึกษา เพื่อให้ระบบการศึกษาก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ</li><li>ได้ผ่านการทดลอง การปรับปรุงพัฒนา จนเป็นที่ยอมรับกับอย่างแพร่หลาย</li><li>ได้มีการนำมาปฏิบัติจริงในวงการนั้น</li></ul> [เทคโนโลยีการศึกษา] |
ถวายอดิเรก | การถวาย พระพร ซึ่งพระสงฆ์ปฏิบัติต่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเท่านั้น [ศัพท์พระราชพิธี] |
Longhorn (Computer operating system) | ลองฮอร์น (ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
พระอิสริยยศ | ยศอันยิ่งใหญ่, ยศที่แสดงถึงความยิ่งใหญ่ หมายถึง สกุลยศของพระราชวงศ์ที่ถือกำเนิดมาว่ามียศทางขัตติยราชสกุลชั้นใด เช่น เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า, ถ้าพระราชวงศ์พระองค์ใดได้ปฏิบัติราชการแผ่นดิน มีความดีความชอบ ก็อาจได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นเจ้าต่างกรมจึงต่อพระนามกรมไว้ท้ายพระ นามเดิม เช่น พลตรีพระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ [ศัพท์พระราชพิธี] |
Barrel per Day | ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง, ปริมาณน้ำมันที่กลั่นออกมาได้ในรอบปี หารด้วยจำนวนวันที่ปฏิบัติงานจริง (ไม่นับวันที่หยุดและซ่อมแซมอุปกรณ์) (ความหมายในแง่การกลั่น) [ปิโตรเลี่ยม] |
Company Man | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] |
Company Representative | พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ, พนักงานของบริษัทผู้ดำเนินการ ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของบริษัทสำหรับดูแลการปฏิบัติงานทุกอย่างที่แท่นเจาะ ตั้งแต่การวางแผนการเจาะ สั่งอุปกรณ์การเจาะ และทำหน้าที่ตัดสินใจในระหว่างปฏิบัติการเจาะหลุม [ปิโตรเลี่ยม] |
Derrick man | พนักงานบนแท่นเจาะ, พนักงานบนแท่นเจาะซึ่งปฏิบัติงานอยู่ที่ Monkey board, Example: มีหน้าที่คอยจับส่วนบนสุดของก้านเจาะเมื่อเวลาดึงก้านเจาะขึ้นจากหลุมหรือเวลาหย่อนก้านเจาะลงหลุม และยังรับผิดชอบเกี่ยวกับการดูแลปั๊มหรืออุปกรณ์สำหรับการไหลเวียนของของเหลวที่ใช้ระหว่างการเจาะ (drilling fluid) [ปิโตรเลี่ยม] |
Shut Down | หยุดปฏิบัติงาน, Example: การหยุดปฏิบัติงานในหลุมเจาะชั่วคราว [ปิโตรเลี่ยม] |
Work over | การกลับเข้าไปปฏิบัติงานกับหลุมที่ได้เจาะเสร็จสมบูรณ์แล้ว, การกลับเข้าไปปฏิบัติงานกับหลุมที่ได้เจาะเสร็จสมบูรณ์แล้ว หรือหลุมที่มีการผลิตแล้ว, Example: เพื่อการบำรุงรักษาหลุม หรือเพื่อซ่อมแซมหลุม หรือเพื่อเพิ่มสมรรถนะหลุมให้สามารถผลิตได้ดีขึ้น [ปิโตรเลี่ยม] |
Down Time | ระยะเวลาที่การปฏิบัติงานในทะเล, ระยะเวลาที่การปฏิบัติงานในทะเล, Example: ระยะเวลาที่การปฏิบัติงานในทะเลไม่สามารถดำเนินการต่อไปได้ เนื่องมาจากสภาพอากาศผิดปรกติหรือจากสาเหตุอื่นๆ [ปิโตรเลี่ยม] |
Discrimination | การเลือกปฏิบัติ [เศรษฐศาสตร์] |
Discriminatory currency arrangements | การเลือกปฏิบัติเกี่ยวกับเงินตราต่างประเทศ [เศรษฐศาสตร์] |
Discriminatory trade practice | การเลือกปฏิบัติทางการค้า [เศรษฐศาสตร์] |
Economic discrimination | การเลือกปฏิบัติทางเศรษฐกิจ [เศรษฐศาสตร์] |
Escape clause action | การปฏิบัติตามข้อกำหนดงดเว้น [เศรษฐศาสตร์] |
Diagnosis, Laboratory | การวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Best practices | วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ [การจัดการความรู้] |
Community of practice | ชุมชนนักปฏิบัติ, ชุมชนนักปฏิบัติ นอกจากนี้ยังมีการใช้ในความหมาย ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ชุมชนแนวปฏิบัติ [การจัดการความรู้] |
Action level | ระดับต้องปฏิบัติ, ระดับอัตราปริมาณรังสี หรือ ความเข้มข้น<em>กัมมันตภาพ</em> ซึ่งต้องดำเนินการตามมาตรการแก้ไขหรือป้องกันทันที เพื่อไม่ให้บุคคลได้รับรังสีแบบเรื้อรัง หรือกรณีฉุกเฉิน [นิวเคลียร์] |
As Low As Reasonably Achievable | อะลารา, การดำเนินการใดๆ ในทางปฏิบัติที่ทำให้งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์โดยได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ [นิวเคลียร์] |
Area monitoring | การเฝ้าสังเกตพื้นที่, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี หรือการเปื้อนของสารกัมมันตรังสีจากการตรวจวัดพื้นที่ในสถานปฏิบัติการทางรังสี ณ ตำแหน่งต่างๆ [นิวเคลียร์] |
Area survey | การสำรวจพื้นที่, ขั้นตอนเบื้องต้นในการหาพื้นที่เพื่อเป็นที่ตั้งสถานปฏิบัติการทางนิวเคลียร์หรือทางรังสี โดยสำรวจข้อมูลและปัจจัยต่างๆ ของแต่ละพื้นที่ เพื่อพิจารณาผลกระทบที่อาจมีต่อความปลอดภัยของสถานปฏิบัติการ และคัดสถานที่ที่ไม่เหมาะสมออก [นิวเคลียร์] |
Derived Air Concentration | ค่ากำหนดความเข้มข้นนิวไคลด์กัมมันตรังสีในอากาศ, ดีเอซี, ขีดจำกัดความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิดในอากาศ ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้นตลอดระยะเวลาทำงานใน 1 ปี ได้รับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายเท่ากับขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี โดยคำนวณจากแบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) (ดู annual limit on intake (ALI) ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Disposal, waste | การขจัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเก็บกากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม โดยไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีก รวมถึงการระบายน้ำและแก๊สจากสถานปฏิบัติการทางรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ดู radioactive discharge ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Dose limit | ขีดจำกัดปริมาณรังสี, ค่ากำหนดสูงสุดของปริมาณรังสียังผลหรือปริมาณรังสีสมมูลที่บุคคลอาจได้รับจากการดำเนินกิจกรรมทางรังสี ซึ่งคณะกรรมาธิการระหว่างประเทศด้านการป้องกันรังสี (International Commission on Radiation Protection, ICRP) ได้กำหนดขีดจำกัดปริมาณรังสีไว้ดังนี้ 1. ผู้ปฏิบัติงาน -ปริมาณรังสียังผลเฉลี่ยไม่เกิน 20 มิลลิซีเวิร์ตต่อปีในระยะเวลา 5 ปีติดต่อกัน โดยในปีใดปีหนึ่งต้องได้รับปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 50 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่เลนส์ตา ไม่เกิน 150 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี -ปริมาณรังสีสมมูลที่มือและเท้า หรือที่ผิวหนัง ไม่เกิน 500 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี 2. บุคคลทั่วไป ปริมาณรังสียังผลไม่เกิน 1 มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยไม่รวมปริมาณรังสีจากธรรมชาติและปริมาณรังสีจากการรักษาพยาบาลทางการแพทย์ ทั้งนี้ในทางปฏิบัติต้องจำกัดให้ได้รับรังสีน้อยที่สุด (ดู sievert ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Emergency action level | ระดับต้องปฏิบัติกรณีฉุกเฉิน, อีเอแอล, เกณฑ์แสดงระดับปฏิบัติกรณีฉุกเฉินทางรังสี โดยกำหนดเป็นค่าเฉพาะเพื่อระบุระดับของเหตุการณ์ฉุกเฉินทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Environmental monitoring | การเฝ้าสังเกตสิ่งแวดล้อม, การเฝ้าสังเกตปริมาณรังสี และความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีในตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมภายนอกสถานปฏิบัติการทางรังสี [นิวเคลียร์] |
Workplace monitoring | การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ, การตรวจติดตามปริมาณรังสี และ/หรือ ความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสี ในสภาวะแวดล้อมของสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] |
Waste package | หีบห่อกากกัมมันตรังสี, ภาชนะที่มีกากกัมมันตรังสีในรูปแบบต่างๆ หลังการปรับสภาพบรรจุอยู่ รวมทั้งวัสดุดูดซับ และ/หรือ วัสดุบุผนังภาชนะ ซึ่งต้องจัดเตรียมให้เป็นไปตามข้อกำหนดว่าด้วยการปฏิบัติงาน การเก็บรักษา การขนส่ง และการขจัดกากกัมมันตรังสี เช่น ถังเหล็กขนาด 200 ลิตร ที่มีกากแก้วกัมมันตรังสีหลังจากปรับสภาพแล้วบรรจุอยู่ [นิวเคลียร์] |
Waste disposal | การขจัดกากกัมมันตรังสี, การดำเนินการเก็บกากกัมมันตรังสีไว้ในสถานที่ที่เหมาะสม โดยไม่มีการนำกลับมาใช้งานอีก รวมถึงการระบายน้ำและแก๊สจากสถานปฏิบัติการทางรังสีออกสู่สิ่งแวดล้อม ซึ่งต้องปฏิบัติให้เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดโดยคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ (ดู radioactive discharge ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Very high radiation area | บริเวณรังสีสูงมาก, บริเวณที่มีการแผ่รังสีปริมาณสูงมากซึ่งอาจทำให้ผู้ที่เข้าไปปฏิบัติงานในบริเวณนั้นที่ระยะห่าง 1 เมตร จากต้นกำเนิดรังสี หรือ พื้นผิวที่รังสีทะลุผ่านได้รับปริมาณรังสีดูดกลืนเกิน 5 เกรย์ ในเวลา 1 ชั่วโมง การรับรังสีปริมาณสูงมากมักจะวัดในหน่วยของปริมาณรังสีดูดกลืน เนื่องจากให้ค่าการวัดที่แม่นยำกว่าการวัดปริมาณรังสีสมมูล, Example: [นิวเคลียร์] |
Task related monitoring | การเฝ้าสังเกตตามภารกิจ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีที่เกี่ยวข้องกับปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อให้ได้ข้อมูลสนับสนุนการตัดสินใจอย่างเร่งด่วนสำหรับการบริหารจัดการในการปฏิบัติงาน ซึ่งอาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ [นิวเคลียร์] |
Standard dosimetry laboratory | ห้องปฏิบัติการมาตรฐานการวัดรังสี, ห้องปฏิบัติการด้านการวัดรังสี ซึ่งมีต้นกำเนิดรังสี อุปกรณ์ เครื่องมือ วิธีการ และบุคลากร ในการวัดรังสี ที่สามารถอ้างอิงได้กับมาตรฐานสากล, Example: [นิวเคลียร์] |
Special monitoring | การเฝ้าสังเกตพิเศษ, การตรวจติดตามที่กำหนดขึ้นสำหรับสถานการณ์จำเพาะ ของสถานปฏิบัติการ เพื่อให้ได้ข้อมูลเพียงพอที่แสดงให้เห็นว่ามีการควบคุมที่ดี โดยมากจะใช้ในขั้นตอนดำเนินการของสถานปฏิบัติการใหม่ ใช้ในกรณีที่มีการดัดแปลงที่สำคัญของสถานปฏิบัติการและวิธีปฏิบัติ หรือใช้กับปฏิบัติการภายใต้ภาวะผิดปกติ เช่น การเกิดอุบัติเหตุ การเฝ้าสังเกตพิเศษนี้ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือ การเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการเฉพาะแห่ง, Example: [นิวเคลียร์] |
Microsoft Disk Operating System | เอ็มเอส ดอส ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์จากค่ายไมโครซอฟต์ [คอมพิวเตอร์] |
Operating system | ระบบปฏิบัติการ [คอมพิวเตอร์] |
Network operating system | ระบบปฏิบัติการเครือข่าย [คอมพิวเตอร์] |
Operator | พนักงานปฏิบัติการ [คอมพิวเตอร์] |
Source monitoring | การเฝ้าสังเกตต้นกำเนิดรังสี, การตรวจติดตามกัมมันตภาพที่ปลดปล่อยจากวัสดุกัมมันตรังสีสู่สิ่งแวดล้อม หรืออัตราปริมาณรังสีจากต้นกำเนิดรังสีในสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์] |
Safety culture | วัฒนธรรมความปลอดภัย, พฤติกรรมขององค์กรและบุคคลในองค์กร ที่สะท้อนการได้รับการปลูกจิตสำนึกด้านความปลอดภัย ทั้งจากการอบรม การเรียนรู้และการถ่ายทอด จนเกิดเป็นนิสัยและเจตคติที่ให้ความสำคัญต่อการระวังป้องกันเพื่อให้เกิดความปลอดภัย ตัวอย่างเช่น ผู้ปฏิบัติงานทางนิวเคลียร์และรังสี ย่อมรู้ดีว่าจะต้องใช้อุปกรณ์ใดบ้างเพื่อให้เกิดความปลอดภัย เช่น ต้องติดมาตรปริมาณรับรังสี ต้องใช้เครื่องมือหยิบจับสารกัมมันตรังสี มีวัสดุและอุปกรณ์กำบังรังสีที่พอเพียง รวมทั้งการสวมแว่นตาและหน้ากากกันไอระเหย ให้เหมาะสมตามลักษณะของงาน [นิวเคลียร์] |
Routine monitoring | การเฝ้าสังเกตประจำ, การตรวจติดตามปริมาณรังสีอย่างต่อเนื่อง โดยมีความมุ่งหมายเพื่อแสดงว่า สภาพการปฏิบัติงาน รวมทั้งระดับของปริมาณรังสีรายบุคคล เป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด การเฝ้าสังเกตประจำ อาจเป็นการเฝ้าสังเกตรายบุคคล หรือการเฝ้าสังเกตสถานปฏิบัติการ, Example: [นิวเคลียร์] |
Roentgen equivalent man | หน่วยเดิมที่ใช้วัดปริมาณรังสีสมมูล, เป็นผลคูณระหว่างปริมาณรังสีดูดกลืนที่มีหน่วยเป็นแร็ด กับค่าปรับเทียบที่แตกต่างกันตามชนิดและพลังงานของรังสี (อาร์บีอี) สำหรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา ค่าปรับเทียบมีค่าใกล้เคียงกับ 1 (ในทางปฏิบัติใช้ค่า 1) นั่นคือ เมื่อรังสีก่อไอออนชนิดใดก็ตามที่ก่อให้เกิดผลทางชีวภาพต่อเซลล์ที่มีชีวิตเทียบเท่ากับการรับรังสีเอกซ์หรือแกมมา 1 แร็ด เรียกว่าได้รับปริมาณรังสีสมมูล 1 เรม ปัจจุบันหน่วยเรมนี้ใช้หน่วยซีเวิร์ตแทน โดย 1 ซีเวิร์ตเท่ากับ 100 เรม (ดู equivalent dose, H$_T$ และ sievert, Sv ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Radioactive standard | สารมาตรฐานกัมมันตรังสี, สารกัมมันตรังสี ที่รู้จำนวนและชนิดของอะตอมกัมมันตรังสี ณ เวลาอ้างอิงใดๆ ใช้เป็นสารมาตรฐานสำหรับปรับเทียบอุปกรณ์วัดรังสี หรือใช้ในการวัดเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ ปกติใช้สารกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตยาวเป็นสารมาตรฐานกัมมันตรังสี, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation worker | ผู้ปฏิบัติงานรังสี, ผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงานในบริเวณรังสีชนิดก่อไอออน เช่น ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี ผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี ผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีอาจรวมถึงผู้ที่ไม่ได้ปฏิบัติงานด้านเทคนิค แต่มีความจำเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับบริเวณรังสีหรือรังสีดังกล่าวเป็นประจำ ทำให้มีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าประชาชนทั่วไป เช่น พนักงานทำความสะอาด พนักงานขับรถขนส่งสารกัมมันตรังสี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของเจ้าหน้าที่ป้องกันอันตรายจากรังสีจะกำหนดให้บุคคลใดเป็นผู้ปฏิบัติงานทางรังสีตามกฎระเบียบ หรือแล้วแต่กรณี</br> <br>ผู้ปฏิบัติงานรังสีดังกล่าวข้างต้น ย่อมมีโอกาสได้รับรังสีจากการปฏิบัติงานเป็นปริมาณแตกต่างกัน กล่าวคือ ผู้ปฏิบัติงานผลิตสารไอโซโทปรังสี หรือผู้ปฏิบัติงานฉายรังสี จะมีโอกาสได้รับรังสีมากกว่าผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องวัดเชิงนิวเคลียร์ และเครื่องมือวิเคราะห์ต่างๆ</br> [นิวเคลียร์] |
Radiation safety | ความปลอดภัยจากรังสี, การป้องกันหรือลดอุบัติเหตุต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นจากต้นกำเนิดรังสี หรืออุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น โดยมีมาตรการบรรเทาผลแก่ผู้ปฏิบัติงานทางรังสี ประชาชน และสิ่งแวดล้อมภายหลังจากที่เกิดเหตุขึ้น, Example: [นิวเคลียร์] |
Radiation protection | การป้องกันรังสี, การดำเนินการตามกฎหมาย กฎระเบียบ มาตรการ และวิธีปฏิบัติ ซึ่งกำหนดขึ้นตามเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย เพื่อควบคุมให้ผู้ปฏิบัติงานทางรังสีและประชาชนทั่วไปได้รับรังสีชนิดก่อไอออนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ (ALARA: as low as reasonably achievable) [นิวเคลียร์] |
Disk Operating System | ระบบปฏิบัติการ, ระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์] |
DOS prompt | ตัวพร้อม เมื่อเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ระบบปฏิบัติการ MS-DOS หากเครื่องของเรามีฮาร์ดิสก์ ข้อความสุดท้ายที่จะเห็นบนจอก็คือ C> ข้อความนี้ก็คือตัวพร้อม ซึ่งแสดงว่า DOS พร้อมรับคำสั่ง [คอมพิวเตอร์] |
Public exposure | การรับรังสีของบุคคลทั่วไป, การได้รับรังสีของบุคคลทั่วไปจากต้นกำเนิดรังสี หรือจากการดำเนินกิจการทางรังสีซึ่งได้รับอนุญาต หรือกรณีเกิดอุบัติเหตุ ทั้งนี้ไม่รวมถึงการได้รับรังสีจากการปฏิบัติงาน จากการรักษาทางการแพทย์ และจากต้นกำเนิดรังสีในธรรมชาติ (ดู occupational exposure และ medical exposure ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
โดยการปฏิบัติ | [dōi kān patibat] (x) EN: by doing FR: par la pratique |
ฟิสิกส์เชิงปฏิบัติการ | [fisik choēng patibatkān] (n, exp) EN: experimental physics FR: physique expérimentale [ f ] |
ห้องปฏิบัติการ | [hǿng patibatkān] (n, exp) EN: laboratory ; lab ; operations room FR: laboratoire [ m ] ; labo [ m ] (abrév. - fam.) |
การเลือกปฏิบัติ | [kān leūak patibat] (n, exp) EN: discrimination |
การเลือกปฏิบัติตามเชื้อชาติ | [kān leūak patibat tām cheūachāt] (n, exp) EN: racial discrimination FR: discrimination raciale [ f ] |
การเลือกปฏิบัติทางเพศ | [kān leūak patibat thāngphēt] (n, exp) EN: sex discrimination ; sexual discrimination |
การไม่ปฏิบัติตาม | [kān mai patibattām] (n, exp) EN: non-observance |
การไม่ปฏิบัติตามข้อผูกพัน | [kān mai patibattām khøphūkphan] (n, exp) EN: non-performance |
การปฏิบัติ | [kān patibat] (n) EN: practice ; performance ; commitment FR: pratique [ f ] ; procédé [ m ] |
การปฏิบัติโดยมิชอบ | [kān patibat dōi michøp] (n, exp) EN: malpractice |
การปฏิบัติการ | [kān patibatikān] (n) EN: operating ; actions FR: opération [ f ] |
การปฏิบัติการฉุกเฉิน | [kān patibatikān chukchoēn] (n, exp) EN: crisis management |
การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ | [kān patibat nāthī dōi michøp] (n, exp) EN: abuse of function |
การปฏิบัติหน้าที่ทางการทูต | [kān patibat nāthī thāng kānthūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts |
การปฏิบัติหน้าที่ทางทูต | [kān patibat nāthī thāng thūt] (n, exp) EN: performance of diplomatic acts |
การปฏิบัติงาน | [kān patibatngān] (n, exp) EN: performance ; action |
การปฏิบัติตามสัญญา | [kān patibat tām sanyā] (n, exp) EN: execution of a contract |
การปฏิบัติตามกลยุทธ์ | [kān patibat tām konlayut] (n, exp) EN: strategy implementation |
การปฏิบัติตามวินัย | [kān patibat tām winai] (n, exp) EN: disciplinary action |
การประเมินผลการปฏิบัติงาน | [kān pramoēnphon kān patibat ngān] (n, exp) EN: performance appraisal |
การเรียนโดยการปฏิบัติ | [kān rīenrū dōi kān patibat] (n, exp) EN: learning by doing FR: apprentissage par la pratique |
การวางแผนปฏิบัติการ | [kān wāngphaēn patibatkān] (n, exp) EN: operational plan FR: plan opérationnel [ m ] |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ | [kān wijai choēng patibatkān] (n, exp) EN: action research ; |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม | [kān wijai choēng patibatkān baēp mī suanruam] (n, exp) EN: Participatory Action Research (PAR) |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการทางการศึกษา | [kān wijai choēng patibatkān thāng kānseuksā] (n, exp) EN: action research in education |
ข้อปฏิบัติ | [khøpatibat] (n) EN: procedure ; practice ; instructions ; rules ; directions ; routine FR: procédure [ f ] |
ข้อพึงปฏิบัติ | [khø pheung patibat] (n, exp) EN: code of conduct |
ขอบเขตการปฏิบัติ | [khøpkhēt kān patibat] (n, exp) EN: sphere of activity |
คู่มือการปฏิบัติงาน | [khūmeū kān patibat ngān] (n, exp) EN: work manual |
ความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ | [khwām penpai dāi nai thāng patibat] (n, exp) EN: feasibility |
กระบวนการปฏิบัติงานมาตรฐาน | [krabūankān patibat ngān māttrathān] (n, exp) EN: standard operating procedure (SOP) |
หลักปฏิบัติ | [lak patibat] (n, exp) EN: principles of conduct |
หลักปฏิบัติ | [lak patibat] (n, exp) EN: practice |
ไม่ปฏิบัติ | [mai patibat] (v, exp) EN: breach |
มาตรฐานวิธีปฏิบัติ | [māttrathān withī patibat] (n, exp) EN: standard practice ; standard operating procedure |
แนวปฏิบัติ | [naēo patibat] (n, exp) EN: regulation |
แนวทางปฏิบัติ | [naēothāng patibat] (n, exp) EN: guideline |
ในภาคปฏิบัติ | [nai phāk patibat] (adv) EN: in practice |
ในทางปฏิบัติ | [nai thāng patibat] (adv) EN: in practice ; pratically FR: pratiquement ; en pratique |
นำมาปฏิบัติ | [nam mā patibat] (v, exp) EN: apply ; put into practice ; implement |
นำไปปฏิบัติ | [nam pai patibat] (v, exp) EN: put into practice |
นำแผนไปปฏิบัติ | [nam phaēn pai patibat] (v, exp) EN: implement a plan |
ปฏิบัติ | [patibat] (v) EN: behave ; conduct FR: se comporter ; se conduire ; agir |
ปฏิบัติ | [patibat] (v) EN: perform ; carry out ; execute ; implement ; practice ; do ; act ; conduct ; put into practice FR: exécuter ; accomplir ; appliquer ; pratiquer ; procéder ; conduire ; mener ; exploiter ; faire |
ปฏิบัติ | [patibat] (v) EN: observe ; abide by ; comply with ; practice ; follow FR: observer ; suivre |
ปฏิบัติ | [patibat] (v) EN: minister ; look after ; handle FR: s'occuper de |
ปฏิบัติบิดามารดา | [patibat bidā-māndā] (v, exp) EN: look after one's parents ; serve one's parents ; wait upon one's parents |
ปฏิบัติบูชา | [patibat būchā] (v, exp) EN: worship |
ปฏิบัติได้ | [patibat dāi] (v, exp) EN: put into effect ; be doable |
ปฏิบัติได้ | [patibat dāi] (adj) EN: practicable FR: exécutable ; praticable ; réalisable |
Longdo Approved EN-TH
MFC | (name) ย่อมาจากคำว่า Microsoft Foundation Classes เป็นชื่อของชุดโปรแกรมพื้นฐานชุดหนึ่ง ประกอบด้วย class ของการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ สำหรับใช้เพื่อพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนระบบปฏิบัติการ Windows, See also: ATL WTL |
nursing practice | (n) ปฏิบัติการพยาบาล |
civil disobedience | (n) ลัทธิดื้อแพ่ง/อารยะขัดขืน, เป็นการปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายบางมาตรา ด้วยเหตุผลที่ว่ากฎหมายนั้นๆ ไม่ชอบธรรม |
Ubuntu | (n) ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งที่พัฒนาบนพื้นฐานของระบบ Linux |
casserole | (n) ชามก้นลึกหรือหม้อสำหรับอบหรือปิ้ง, อาหารอบหรือปิ้งจากภาชนะดังกล่าว, ชามเล็กๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ, หม้อที่มีฝาปิดสำหรับต้มหรือเคี่ยว เช่น In the casserole dish, heat the water with the salt and pepper. |
psy-ops | (n) ปฏิบัติการทางจิตวิทยา, Syn. psychological operations |
direction | (n) คำสั่ง คำแนะนำ (ให้ปฏิบัติหรือให้ทำ), Syn. instructions |
adherence | การปฏิบัติตาม |
condescend (to somebody) | (vi) ปฏิบัติตนกับผู้อื่นในลักษณะที่คิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่า เช่น When giving a talk, be careful not to condescend to your audience. เวลาที่พูด ระวังอย่าพูดในลักษณะที่คิดว่าตนเองสำคัญหรือฉลาดกว่าผู้ฟัง |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
abuse | (n) การข่มเหง, See also: การกระทำทารุณ, การปฏิบัติไม่ดีต่อ, Syn. mistreatment, harm, damage, Ant. help |
academic | (adj) ในทางทฤษฎี, See also: ซึ่งไม่เหมาะในทางปฏิบัติ |
act | (n) การทำหน้าที่, See also: การปฏิบัติหน้าที่ |
act | (vi) ปฏิบัติตัว, See also: ประพฤติตน, ทำตัว, วางตัว, Syn. perform, do, behave |
act | (vt) ปฏิบัติตัว, See also: ประพฤติตน, ทำตัว, วางตัว |
action | (n) การกระทำ, See also: ปฏิบัติการ, Syn. activity, operation, performance |
active | (adj) ซึ่งปฏิบัติการ, See also: ซึ่งพร้อมปฏิบัติการ, ซึ่งประจำการ |
agency | (n) หน้าที่, See also: การปฏิบัติงาน |
allopath | (n) ผู้ที่เชื่อหรือปฏิบัติตามหลัก |
attention | (n) การรักษาที่เหมาะสม, See also: การปฏิบัติที่สมควร, การดูแล |
act on | (phrv) ทำตาม, See also: ปฏิบัติตาม, เชื่อฟัง |
act up to | (phrv) ทำตาม, See also: ปฏิบัติตาม, Syn. live up to |
act upon | (phrv) ทำตาม, See also: ปฏิบัติตาม, เชื่อฟัง, Syn. act on |
advise about | (phrv) แนะนำ (บางคน) ให้ทำบางสิ่ง, See also: แนะให้ปฏิบัติ, Syn. advise on |
advise on | (phrv) แนะนำ (บางคน) ให้ทำบางสิ่ง, See also: แนะให้ปฏิบัติ, ให้ความเห็น, Syn. advise about |
bear | (vt) ประพฤติตัว, See also: ปฏิบัติตัว, Syn. behave |
behave | (vi) ประพฤติตัว, See also: ประพฤติ, วางตัว, ปฏิบัติตัว, Syn. act, perform |
be against | (phrv) ทำผิดต่อ, See also: ปฏิบัติขัดแย้งกับ, Syn. go against |
be hard on | (phrv) ปฏิบัติกับ (บางคน) อย่างหยาบคายมาก, See also: กระทำรุนแรงกับ, เลวร้ายกับ |
be out | (phrv) ออกปฏิบัติหน้าที่ข้างนอก, See also: ปฏิบัติงานนอกสถานที่, Syn. be out in |
bind over | (phrv) ให้สัญญาว่าจะปฏิบัติตาม (ทางกฎหมาย), See also: สัญญาที่จะปฏิบัติตาม |
bring someone into line with | (idm) ทำให้ปฏิบัติตาม |
bring something into line | (idm) ทำให้ปฏิบัติตาม |
Catholicism | (n) ศรัทธาและการปฏิบัติของนิกายโรมันคาทอลิก |
conservatism | (n) หลักปฏิบัติของนักอนุรักษ์ |
conventional | (adj) เกี่ยวกับประเพณีนิยม, See also: เกี่ยวกับธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. customary |
conventionality | (n) การปรับให้เข้ากับธรรมเนียมปฏิบัติ |
conventioneer | (n) ผู้ที่ปฏิบัติตามธรรมเนียม |
course | (n) แนวทางปฏิบัติ, See also: แนวความคิด, แนวคิด |
culture | (n) คนที่เชื่อและปฏิบัติเหมือนกัน |
condescend to | (phrv) ปฏิบัติราวกับ...ต่ำต้อย |
deal by | (phrv) ได้รับการปฏิบัติอย่างดีหรือไม่ด (มักใช้รูป passive voice) |
differentiate between | (phrv) ปฏิบัติต่อ (บางคน) อย่างไม่ยุติธรรม, Syn. discriminate between |
discriminate against | (phrv) ปฏิบัติอย่างเลือกที่รักมักที่ชังกับ, See also: เลือกปฏิบัติกับ, แบ่งแยกกับ |
do about | (phrv) ปฏิบัติ, See also: ทำเกี่ยวกับ, ทำในเรื่อง |
do by | (phrv) ปฏิบัติต่อ |
do justice to | (phrv) ปฏิบัติกับ...อย่างยุติธรรม, See also: ยุติธรรมกับ |
do somehow by someone | (idm) ปฏิบัติบางอย่างต่อบางคน |
do with | (phrv) จัดการกับ (คน), See also: ปฏิบัติต่อ |
dose of one's own medicine | (idm) การปฏิบัติแบบเดียวกับที่เคยกระทำกับผู้อื่น (มักเป็นสิ่งไม่ดี) |
down to earth | (idm) เป็นจริง, See also: ทางปฏิบัติ, ตามความจริง, ไม่เพ้อฝัน |
down-to-earth | (idm) เป็นจริง, See also: ทางปฏิบัติ, ตามความจริง, ไม่เพ้อฝัน |
deal | (vt) ปฏิบัติตัว, See also: ทำ, ทำตาม, กระทำ, ปฏิบัติ, ประพฤติ, Syn. act, behave |
did | (aux) กริยาช่อง 2 ของกริยา do, See also: ทำ, กระทำ, ปฏิบัติ |
discharge | (vt) ปฏิบัติหน้าที่ (คำทางการ), See also: ทำตามหน้าที่, Syn. accomplish, achieve, Ant. neglect, ignore |
do | (vt) จัดการ, See also: กระทำ, ทำ, ปฏิบัติ, เตรียม, Syn. manage, deal with, behave, act |
DOS | (n) ระบบการปฏิบัติการในคอมพิวเตอร์, See also: ระบบดอส, Syn. Disk Operating System |
ecumenicity | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenism |
ecumenism | (n) ความเชื่อและการปฏิบัติตนเพื่อส่งเสริมความสามัคคีของคริสเตียนทั่วโลก, Syn. ecumenicity |
emissary | (n) นักการทูต, See also: ทูต, ตัวแทนที่ส่งออกไปปฏิบัติภารกิจ, Syn. consul, envoy, representative |
Hope Dictionary
abc | (เอบีซี) ย่อมาจาก Atanasoff-Berry Computer ว่ากันว่า เป็นชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์อิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก (หนังสือบางเล่มว่า เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลกมีชื่อว่า ENIAC) ศาสตราจารย์ John Atanasoff แห่งมหาวิทยาลัยไอโอวา และ Clifford Berry เป็นผู้ประดิษฐ์เครื่องเอบีซีนี้เมื่อราวทศวรรษ 1940 ABEND การหยุดงานผิดปกติ <คำแปล>ย่อมาจาก abnormal end of task หมายถึงการหยุดงานที่เกิดขึ้นโดยที่ไม่ได้มีคำสั่งให้หยุดในโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักจะเกิดขึ้น เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ถูกสั่งให้ปฏิบัติงานหนึ่งงานใด แล้วไม่ยอมปฏิบัติ อาจจะเป็นเพราะเครื่องเสีย หรือโปรแกรมผิดพลาด |
abide | (อะไบดฺ') vi. รักษาหรือ ปฏิบัติตาม, อาศัยอยู่, ทน, ยืดถือ, รอคอย. -abidance n., Syn. stay, bear, live, Ant. evade |
abstractionism | (แอ็บสแทรค' ชันนิสซึม) การปฏิบัติหรือศิลปของนามธรรม |
acquit | (อะควิท') vt. ทำให้พ้นไป, ชำระ, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ดำเนินการได้ผล. -acquiter n., Syn. forgive, pardon, clear, free |
acquittal | (อะควิท' เทิล) n. การตัดสินให้พ้นโทษ, การปฏิบัติ, การชำระหนี้, Syn. discharge |
act | (แอคทฺ) n., vt., vi. การกระทำ, พฤติการณ์, ฉาก, องก์ (ละคร) , การเล่นละคร, ฤทธิ์, อำนาจ, การดำเนินคดี, การปฏิบัติหน้าที่, การบังเกิดผล, การแกล้งทำ, เหตุการณ์ในละครหรือหนังสือ, เครื่องจักร, การเคลื่อนไหว, การรบ, Syn. perform, do, pl abbr. activated clotting enzyme |
action | (แอค' เชิน) n. การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง, ขั้นตอน, การฟ้องร้อง, ฤทธิ์, อำนาจ, เหตุการณ์, การใช้กำลัง, การเดิน, การเคลื่อนไหว, การรบ, การพนัน, การกระทำที่ตื่นเต้น. -actions ความประพฤติ |
agency | (เอ'เจนซี) n. หน่วยงานบริการ, สำ-นักงานของตัวแทน, บริษัทตัวแทน, หน่วยงานราชการ, หน้าที่หรือการปฏิบัติงานของตัวแทน, กำลัง, พลัง, Syn. organization, office, means |
ahimsa | (อะฮิม' ซา, อะฮีง' ซา) อหึงสา, หลักปฏิบัติของฮินดูที่ไม่ยึดถือความรุนแรง |
allopath | (แอล' โลพาธ) n. ผู้ที่เชื่อหรือปฏิบัติ allopathy, Syn. allopathist |
altruism | (แอล' ทรูอิสซึม) n. หลักการปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นเป็นที่ตั้ง (philanthropy) -altruist n. |
altruistic | (แอลทูรอิส' ทิค) adj. ซึ่งยึดหลักปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ของผู้อื่นเป็นที่ตั้ง |
aludel | (แอล' ลูเดล) n. ภาชนะรูปผลแพร์ชนิดหนึ่งที่ใช้ในห้องปฏิบัติการทางเคมีสำหรับรองรับคราบระเบิดที่เกิดขึ้น |
anga | (อัง' กะ) n. วิธีการปฏิบัติข้อหนึ่งข้ใดของโยคะ |
antipope | (แอน' ทิโพพ) n. ผู้ที่อ้างเป็นสันตะปาปา, การเลือกสันตะปาปาที่ไม่ได้ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ |
appleshare | (แอปเปิลแชร์) หมายถึง โปรแกรมระบบปฏิบัติการที่จะใช้ในข่ายงาน (network) ที่บริษัทแอปเปิลสร้างขึ้นสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์แมคอินทอช (ดู networks ประกอบ) |
appletalk | (แอปเปิลทอล์ค) ในปัจจุบัน มีการนำเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่องมาใช้ร่วมกัน เพื่อทำให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ที่เรียกว่า "ข่ายงาน" (network) การทำเช่นนี้จำเป็นจะ ต้องมีระบบประสานการใช้เครื่อง แอปเปิล ทอล์คนั้น ทำหน้าที่นี้ แต่ใช้สำหรับทำให้นำเครื่องแอปเปิลแมคอินทอชและเครื่องไอบีเอ็ม พีซีซึ่งมีระบบปฏิบัติการต่างกันมาใช้ร่วมกันในข่ายงานเดียวกันได้ เครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอชทุกเครื่องจะมีช่องต่อออก สำหรับแอปเปิลทอลค์ แต่ไอบีเอ็มพีซียังไม่มี ดู network ประกอบ |
applicable | (แอพ'พลิคะเบิล) adj. ใช้สอยได้, ปฏิบัติได้, เหมาะสม -applicability n. |
applicative | (แอพ'พลิเค'ทิฟว) adj. ใช้ประโยชน์ได้, ใช้ได้, ปฏิบัติได้, Syn. practical |
applicatory | (แอพ'พลิเคโทรี) adj. เหมาะมือเหมาะสำหรับการใช้, ปฏิบัติได้, Syn. practical |
aquatic | (อะควอท'ทิค) adj.อาศัยหรือมีชีวิตอยู่ใต้น้ำ, ปฏิบัติการในหรือบนน้ำ. -aquatics กีฬาบนหรือในน้ำ (of water) |
aristotelian | (อะริสโทเทล'เยิน) adj. เกี่ยวอริสโตเติลหรือคำสอนของเขา. -n. ผู้ปฏิบัติตามคำสอนของอริสโตเติล (of, Aristotle) |
ascii file | แฟ้มข้อมูลแอสกี <คำแปล>หมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ไม่ใช่โปรแกรม มีตัวอักขระที่ใช้เป็นรหัสแอสกีทั้งหมด บางที เรียกว่า " text file " แฟ้มแอสกี (ASCII file) มีลักษณะเฉพาะคือเป็นแฟ้มที่ไม่มีรูปแบบในการจัดหน้า ข้อความจะยาวไปเรื่อย ๆ โดยไม่มีการขึ้นบรรทัดใหม่ นอกจาก จะเริ่มระเบียนใหม่ โปรแกรมเวิร์ด สตาร์ (WordStar) เป็นผู้นำคำนี้มาใช้ก่อน (ตรงข้ามกับ document file ซึ่งหมายถึง แฟ้มข้อมูลที่มีการจัดรูปหน้าไว้แล้ว) ส่วนมากจะใช้ศัพท์นี้เมื่อต้องการเปลี่ยน (convert) แฟ้มข้อมูลของโปรแกรมหนึ่งเป็นอีกโปรแกรมหนึ่ง เช่นจาก Word Perfect เป็น Microsoft Word ในกรณีเช่นนี้ อาจจะมีเมนูให้เลือกได้ว่าจะเปลี่ยนเป็น text file หรือ ASCII file หรือไม่ ซึ่งก็หมายความว่าเปลี่ยนเป็นแฟ้มข้อมูลที่ใช้รหัสแอสกีทั้งหมด ทำให้สามารถใช้ร่วมกันได้ ภายใต้ระบบปฏิบัติการเดียวกัน นิยมใช้กันมากในระบบสื่อสารและถ่ายโอนแฟ้มข้อมูล |
assemble | (อะเซม'เบิล) vt. รวบรวม, ประชุม, รวมเข้า. -assembler n., Syn. combine, collect, Ant. disperse, separate แปล ภาษาแอสเซมบลี หมายถึงแปลโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง machine language เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจและปฏิบัติตามคำสั่งนั้น ๆ ได้ |
assembler | แอสเซมเบลอร์ตัวแปลภาษาแอสเซมบลีหมายถึง โปรแกรมที่ใช้เพื่อทำหน้าที่แปลโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีเป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งจะทำให้คอมพิวเตอร์อ่านแล้วเข้าใจ และปฏิบัติตามคำสั่งได้ ดู assembly language |
automate | (ออ'โทเมท) vt. ทำให้เป็นอัตโนมัติ, ปฏิบัติการหรือควบคุมโดยขบวนการอัตโนมัติ |
basis | (เบ'ซิส) n. พื้นฐาน, รากฐาน, หลักสำคัญ, ส่วนสำคัญ, หลักเกณฑ์, มาตรฐาน, ฐานปฏิบัติการ, Syn. base -pl. bases |
batch file | แฟ้มคำสั่งรวมหมายถึง แฟ้มพิเศษที่ใช้เก็บคำสั่งระบบที่ต้องการใช้ เพื่อสั่งให้เครื่องทำงานให้ ถ้ามีแฟ้มข้อมูลนี้เก็บไว้ คอมพิวเตอร์จะปฏิบัติการตามขั้นตอนในคำสั่งที่บรรจุอยู่ในแฟ้มนี้ทันทีที่เริ่มเครื่องใหม่ (boot) แฟ้มข้อมูลประเภทนี้จะใช้นามสกุล (file tpe) ว่า .bat เช่น autoexec.bat เป็นต้น |
batch processing | การประมวลผลเชิงกลุ่มหมายถึงการประมวลผลที่ทำต่อเนื่องกันไปตามลำดับโดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) เป็นตัวควบคุม ในการประมวลผลแบบนี้ เราจะต้องจัดรวบรวมข้อมูลและแบ่งแยกเป็นกลุ่มไว้ให้เรียบร้อยก่อน จึงส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อประมวลผลทีเดียว เมื่อเสร็จแล้วจึงจัดรวบรวมเป็นรายงาน หรือสรุปผลอีกทีหนึ่ง วิธีการประมวลผลแบบนี้ทำง่าย ประหยัด และตรงไปตรงมา แต่อาจจะช้าไปบ้าง เพราะต้องรอให้ข้อมูลเรียบร้อยก่อน ตรงกันข้ามกับการประมวลผลแบบเชื่อมตรง (on line proessing) ซึ่งหมายถึงการที่เครื่องจะประมวลผลทันทีที่ได้รับข้อมูลดู on line processing ประกอบ |
beta test | ทดสอบรอบสองหมายถึง โปรแกรมที่ทำออกมาให้ลูกค้าทำการทดสอบเป็นครั้งที่สอง (ครั้งแรกเรียกว่า alpha test) เพื่อจะดูว่า โปรแกรมดังกล่าวปฏิบัติงานตามที่ต้องการได้เรียบร้อยครบถ้วนดีแล้วหรือยัง ก่อนที่จะนำออกขายในตลาด โปรแกรมที่นำออกมาทดสอบเหล่านี้มักจะมีเขียนบอกไว้ด้วย เพื่อให้ผู้ใช้รู้ว่า ยังเป็นโปรแกรมที่อยู่ในขั้นทดลองใช้ เช่น Alpha 1, Beta 5 ซึ่งหมายถึง รุ่น 1.0 หรือ 5.0 นั่นเองดู alpha test ประกอบ |
blackbox | กล่องไม่ติดไฟของเครื่องบิน/ใช้บันทึกการปฏิบัติการบินตลอดเวลา, Syn. flight recorder |
breach | (บรีช) { breached, breaching, breaches } n. การทำให้แตก, การแตกแยก, การทำลาย, การฝ่าฝืน, การไม่ปฏิบัติตาม, บาดแผล vt. ทำให้แตกออก, ฝ่าฝืน (กฎหมาย, สัญญา) vt. กระโดดข้ามผิวน้ำ |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
carry | (แค'รี) { carries, carrying, carries } vt. ขนส่ง, แบก, ลำเลียง, หอบ, หาบ, อุ้ม, ยก, ถือติดตัว, นำติดตัว, นำไปสู่, สะพาย, บรรทุก, ส่ง, แพร่กระจาย, ออกข่าว, ประกอบด้วย, สนับสนุน, ค้ำจุน, ผลักดัน, ยืดได้, รับภาระ, วางตัว, ปฏิบัติ, ยกยอด, โอน, มีไว้ในร้าน. vi. ถือติดตัว, มีกำลังดัน, ดัน, ถู เลขทดตัวทดหมายถึง ค่าที่เกิดจากการบวกตัวเลขตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปในหลักเดียวกัน แล้วได้ผลมากกว่าหรือเท่ากับเลขฐาน ซึ่งจะนำไปบวกกับเลขในหลักถัดไป |
catholicism | (คะธอล'ลิซิสซึม) n. ศรัทธาระบบและการปฏิบัติการของนิกายคาทอลิก, ความมีใจกว้าง, การแพร่หลาย, การมีอยู่ทั่วไป, Syn. catholicity |
compile | (คัมไพล์') { compiled, compiling, compiles } vt. รวบรวม, เรียบเรียง แปลโปรแกรมหมายถึง แปลโปรแกรมที่เขียนขึ้นด้วยภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษา โคบอล (COBOL) ซึ่งเป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์ไม่เข้าใจ ให้เป็นภาษาเครื่อง (machine language) ซึ่งเป็นภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจได้ การแปลนั้น คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมทั้งหมดเข้าไปแล้วจึงจะลงมือแปล เมื่อเข้าใจแล้ว คอมพิวเตอร์จึงจะปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมได้ |
compiler | (คัมไพ'เลอะ) n. ผู้รวบรวม, ผู้เรียบเรียง ตัวแปลโปรแกรมคอมไพเลอร์หมายถึง โปรแกรมที่แปลโปรแกรมภาษาต่าง ๆ เช่นภาษา FORTRAN, COBOL ฯ เป็นภาษาเครื่อง (machine language) การแปลโดยใช้โปรแกรมแปลนี้ จะใช้วิธีแปลทั้งโปรแกรม นำคำแปลเก็บไว้ในหน่วยความจำ แล้วจึงลงมือปฏิบัติการ (execute) ไปทีละคำสั่ง ถ้ามีการสั่งให้ทำบางคำสั่งซ้ำ ก็ไม่จำเป็นต้องแปลใหม่ดู translator ประกอบดู interpreter เปรียบเทียบ |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
computer operation | การดำเนินการคอมพิวเตอร์การปฏิบัติการคอมพิวเตอร์หมายถึง การที่คอมพิวเตอร์ทำงานไปตามคำสั่ง เช่น อ่านข้อมูล นำข้อมูลไปเก็บ นำข้อมูลมาบวก ลบ ฯ เป็นต้น แล้วได้ผลตามที่ต้องการ |
computer program | โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชุดคำสั่งคอมพิวเตอร์หมายถึง คำสั่งคอมพิวเตอร์ชุดหนึ่ง ๆ ที่เขียนขึ้นเป็นภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เช่น ภาษาซี (C) ภาษาโคบอล (COBOL) ภาษาเบสิก (BASIC) หรือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) ฯ คำ "โปรแกรม" นี้ อาจจะเรียกเป็นชื่ออื่นก็ได้ เช่น ซอฟต์แวร์ (software) หรือ แอพพลิเคชัน (application) โปรแกรมนั้น แบ่งได้เป็นหลายประเภท ประเภทแรกคือประเภทที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเองเพื่อให้ตรงกับความต้องการ กับอีกประเภทหนึ่งมีคนทำสำเร็จรูปไว้ขาย เช่น โปรแกรมสำหรับวาดภาพ (graphics) โปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) โปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) นอกจากนั้น ยังมีโปรแกรมระบบ (systems software) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ควบคุมการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ มีบางส่วนติดตั้งมาจากโรงงานที่ผลิตเลย และโปรแกรมระบบปฏิบัติการ (operating system) ที่จะทำหน้าที่เหมือนแม่บ้านคอยดูแลให้อุปกรณ์ต่าง ๆ ทำงานให้ประสานกัน สรุปว่า คอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ทุกอย่าง แต่คนเขียนคำสั่งต้องเข้าใจขั้นตอน วิธี (algorithm) และภาษาที่จะใช้เป็นอย่างดี จึงจะสามารถเขียนสั่งเครื่องให้ทำงานได้ |
computer programmer | นักเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์หมายถึง คนที่เขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามที่ต้องการได้ และควรจะมีความชำนาญด้วย (สำหรับคนที่หัดเขียนใหม่ ๆ ไม่ควรจะใช้คำ ๆ นี้) นักเขียนโปรแกรมที่ดีนั้น จะต้องรู้วิธีแก้ปัญหา และรู้ด้วยว่า จะแก้อย่างไร รวมทั้งต้องเข้าใจหลักและกฎเกณฑ์ของภาษาต่าง ๆ ที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจด้วย เพื่อจะได้ปฏิบัติตามคำสั่งได้ |
concurrent processing | การประมวลผลพร้อมกันหมายถึง การประมวลผลตั้งแต่สองโปรแกรมขึ้นไปพร้อม ๆ กัน แต่ในความเป็นจริงแล้ว เครื่องจะปฏิบัติงานได้ครั้งละหนึ่งโปรแกรมเท่านั้น เพียงแต่ว่าทำในอัตราที่รวดเร็วมาก จนดูประหนึ่งว่าทำงานหลาย ๆ โปรแกรมพร้อมกัน |
control unit | หน่วยควบคุมเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมด กล่าวคือ ควบคุมการทำงานของหน่วยคำนวณและตรรกะ ควบคุมการรับ/ส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก (main memory) กับหน่วยความจำในหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ติตต่อและควบคุมการทำงานของหน่วยรับข้อมูลและแสดงผล (input/output unit) เป็นต้นว่า รับข้อมูลเข้ามาเก็บในหน่วยความจำ ปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง รวมทั้งจัดการให้การทำงานเป็นไปตามขั้นตอน และแสดงผลตามคำสั่งด้วยดู central processing unit ประกอบ |
cop-out | (คอพ'เอาท) n. การไม่ยอมรับผิดชอบ, การไม่ยอมปฏิบัติตามคำมั่นหรือสัญญา, ผู้ที่ชองละทิ้ง |
course | (คอร์ส) { coursed, coursing, courses } n. เส้นทาง, วิถีทาง, แนวทางเดิน, แนวทางปฏิบัติ, แนวความคิด, ลำน้ำ, สาย, หลักสูตร, กระบวนวิชา, ช่วงระยะเวลาการรักษา, จานหนึ่ง (อาหาร) , ชุดหนึ่ง (ยา, การบรรยาย) , ระดู, การไล่ล่า (โดยสุนัขล่าเนื้อ) vt. วิ่งผ่าน, วิ่งข้าม, ไล่, ไล่ตาม, ไล่ล่า, ก่ |
covenanted | (คัฟ'วะเนินทิด) adj. ซึ่งได้ทำสัญญาหรือ ตกลงไว้แล้ว, ซึ่งมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามสัญญา |
custom | (คัส'เทิม) n. ประเพณี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จารีตประเพณี, กิจวัตร, ความเคยชิน, การอุดหนุน, ภาษี -Phr. (customs พิกัดอัตราภาษีอากร, ลูกค้า, ขาประจำ) adj. ซึ่งสั่งตัด, ซึ่งสั่งทำ, Syn. habit, tariff, duty |
cuvette | (คัทเวท) n. หลอดแก้วเล็ก ๆ ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการ |
cycle time | เวลาครบรอบหมายถึงเวลาที่หน่วยประมวลผลกลางใช้ในการปฏิบัติตามคำสั่ง โดยเริ่มตั้งแต่ไปดึงคำสั่งมา (fetch) และลงมือกระทำการ (execute) มีหน่วยวัดเป็น นาโนวินาที (nano second) หรือหนึ่งในพันล้านวินาที และพิโกวินาที (picosecond) หรือหนึ่งในล้านล้านวินาที |
decency | (ดี'เซินซี) n. ความเหมาะสม, ความสุภาพ, ความมีสมบัติผู้ดี., See also: decencies n., pl.หลักปฎิบัติที่สอดคล้องกับธรรมเนียมปฏิบัติ, Syn. decorum, Ant. impropriety |
Nontri Dictionary
acquit | (vt) ปล่อยตัว, ตัดสินให้พ้นโทษ, ปฏิบัติ, ชำระหนี้ |
act | (vi, vt) ปฏิบัติ, แสดง, กระทำ, แกล้งทำ, เล่นละคร |
action | (n) การกระทำ, การปฏิบัติ, พฤติกรรม, กิริยา, การแสดง |
behave | (vi, vt) ประพฤติ, ปฏิบัติตัว, ทำตัว, กระทำ |
behaviour | (n) ความประพฤติ, พฤติกรรม, พฤติการณ์, อาการ, การปฏิบัติ |
comport | (vt) ประพฤติ, ปฏิบัติ, แสดงออก |
conduct | (n) การชี้นำ, การทำ, ความประพฤติ, การปฏิบัติ |
conduct | (vt) ดำเนิน, ชักนำ, ชี้นำ, ปฏิบัติ, เป็นสื่อ |
deal | (vi, vt) เกี่ยวข้อง, ติดต่อด้วย, จำหน่าย, แจก, แบ่งปัน, ปฏิบัติ, ค้าขาย, จัดการ |
default | (vt) ผิดสัญญา, ผิดนัด, ไม่ปฏิบัติตาม, ละเลย, เพิกเฉย, ขาดแคลน |
demeanour | (n) ความประพฤติ, การวางตัว, ท่าทาง, การกระทำ, การปฏิบัติตัว |
deny | (vt) ปฏิเสธ, บอกปัด, ไม่ปฏิบัติตาม, ไม่ตกลง, ไม่ยอมรับ |
do | (vt) กระทำ, ทำ, ปฏิบัติ, จัดการ, ก่อให้เกิด, แสดงท่า, มีอาการ |
doings | (n) การปฏิบัติ, ความประพฤติ, พฤติกรรม, การกระทำ |
enforce | (vt) บังคับให้กระทำ, ใช้กำลังบังคับ, ทำให้ปฏิบัติตาม |
etiquette | (n) มารยาท, สมบัติผู้ดี, ธรรมเนียมปฏิบัติ, จรรยาบรรณ |
execute | (vt) บริหาร, ปฏิบัติ, ทำให้สำเร็จ, กระทำ, ประหารชีวิต, สนองพระบรมราชโองการ |
execution | (n) การบริหารงาน, การดำเนินการ, การปฏิบัติ, การทำให้สำเร็จ, การจัดการ |
executive | (adj) ฝ่ายบริหาร, เกี่ยวกับการปฏิบัติ, เกี่ยวกับการบริหาร |
executor | (n) ผู้บริหารงาน, ผู้ดำเนินการ, ผู้ปฏิบัติการ, ผู้จัดการมรดก |
exercise | (vi, vt) ใช้, ฝึกหัด, ฝึกฝน, ฝึก, ปฏิบัติ, ออกกำลังกาย |
feasible | (adj) อาจกระทำได้, เป็นไปได้, อาจปฏิบัติได้ |
formality | (n) ระเบียบวิธี, พิธี, แผน, หลักการ, พิธีรีตรอง, ธรรมเนียมปฏิบัติ |
fulfil | (vt) ทำให้สำเร็จ, ทำให้บรรลุผล, ทำให้สมปรารถนา, ปฏิบัติตาม, สนอง |
fulfill | (vt) ทำให้สำเร็จ, ทำให้บรรลุผล, ทำให้สมปรารถนา, ปฏิบัติตาม, สนอง |
fulfillment | (n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ |
fulfilment | (n) การทำให้สำเร็จ, การบรรลุผล, ความสมปรารถนา, การปฏิบัติภารกิจ |
function | (vi) ทำหน้าที่, ปฏิบัติงาน, ปฏิบัติหน้าที่ |
galvanism | (n) ไฟฟ้าจากปฏิบัติการทางเคมี, การรักษาด้วยไฟฟ้า |
handle | (vt) จับ, แตะ, ใช้, ควบคุม, ปฏิบัติ, จัดการ, ค้าขาย |
malpractice | (n) การปฏิบัติผิดพลาด, การประพฤติผิด, การทุจริตต่อหน้าที่ |
maltreat | (vt) ทารุณ, ปฏิบัติไม่ดี, กระทำผิด |
maltreatment | (n) การทารุณ, การปฏิบัติไม่ดี, การกระทำผิด |
mannerism | (n) กิริยาท่าทาง, นิสัย, คำพูดที่ติดปาก, ธรรมเนียมปฏิบัติ |
observable | (adj) เด่นชัด, สังเกตได้ง่าย, ควรถือปฏิบัติ, น่าติดตาม |
observance | (n) การปฏิบัติตาม, การสังเกต, ธรรมเนียมปฏิบัติ |
observe | (vt) สังเกต, ปฏิบัติตาม, กล่าว, ประกอบพิธี |
officiate | (vi) ทำหน้าที่, ประกอบพิธี, ปฏิบัติหน้าที่ |
operation | (n) การปฏิบัติการ, ยุทธการ, การเคลื่อนไหวทางทหาร, การทำงาน, การผ่าตัด |
operative | (adj) ปฏิบัติ, ก่อผล, ทำการ, มีผล |
perform | (vt) แสดง, กระทำ, ปฏิบัติ, เดินเครื่อง, ประกอบ, ดำเนินการ |
performance | (n) การแสดงละคร, การกระทำ, การปฏิบัติ, การเดินเครื่อง, การดำเนินการ |
performer | (n) ผู้แสดงละคร, ผู้กระทำ, ผู้ปฏิบัติ, ผู้ดำเนินการ |
ply | (vt) ปฏิบัติงาน, ทำอยู่เรื่อยไป, ใช้งาน, ยุ่งกับงาน |
practicable | (adj) ปฏิบัติได้, ทำได้, ผ่านไปได้, ใช้ได้, เหมาะสม |
practical | (adj) เกี่ยวกับภาคปฏิบัติ, ปฏิบัติจริง, เป็นการเป็นงาน, ได้ผล |
practically | (adv) อย่างจริงจัง, แท้จริง, ปฏิบัติจริง, ได้ผล |
practice | (n) การฝึกหัด, การปฏิบัติ, การประกอบพิธี, กิจวัตร, นิสัย |
practise | (vt) ฝึกหัด, ปฏิบัติ, ใช้, กระทำ, ประกอบ |
practitioner | (n) ผู้ฝึกหัด, ผู้ประกอบการงาน, ผู้ปฏิบัติ, แพทย์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
*dress code* | [ดฺ แร็ดสฺ โขดฺ - เน้นเสียงที่คำแรก] dress code คือ กฎระเบียบการแต่งกายตามจารึตประเพณีนิมยมของสังคมหนึ่งๆ เช่น การใส่ชุดฟอร์มนักเรียนนักศึกษาไทย ชุดข้าราชการไทย การแต่งกายเวลาเข้าเฝ้าพระมหากษัตริย์ไทย การแต่งกายไปร่วมพระราชพิธีต่างๆ การแต่งกายแบบสากลนิยมตามงานราตรีสโมสร หรือตามที่เจ้าภาพได้กำหนดไว้ เป็นต้น ตัวอย่าง 1. To attend a gala dinner at the Oriental Hotel, the dress code is strict - black tie only. การไปรับประทานอาหารเย็นที่โรงแรมโอแรนเต็ลนั้น กฎระเบียบการแต่งตัวนั้นเข้มงวดมาก คือ ต้องชุดราตรีสโมสรเท่านั้น 2. Thai students have a very strict dress code when they go to school. นักเรียนไทยต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบการแต่งกายตอนไปเรียนอย่างเคร่งครัด |
compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน |
constructionism | [คันสทรัค'เชินนิซึม] (n) ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอ "ความรู้ไม่ ใช่มาจากการสอนของครูหรือผู้สอนเพียงอย่างเดียว แต่ความรู้จะเกิดขึ้นและสร้างขึ้นโดยผู้เรียนเอง การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ดีก็ต่อเมื่อผู้เรียนได้ลงมือกระทำด้วยตนเอง (Learning by doing) นอกจากนั้นมองลึกลงไปถึงการพัฒนาการของผู้เรียนในการเรียนรู้ซึ่งจะมี มากกว่าการได้ลงมือปฏิบัติสิ่งใดสิ่งหนึ่งเท่านั้น " |
discrimination | (n) การเลือกปฏิบัติ, Syn. bias |
double standard | การเลือกปฏิบัติ |
Execution premium | (n) กลยุทธสู่การปฏิบัติการที่เป็นเลืศ |
for | (adv, phrase) ปฏิบัติราชการแทน |
GP | (abbrev) แพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป (General Practitioner: A physician who practices 'general medicine', often an older physician who did not specialize in any field of medicine after graduation from medical school.) |
hard code | (vi, slang) เป็นข้อปฏิบัติในการพัฒนาซอฟท์แวร์ โดยการแนบอินพุทและการตั้งค่าต่างๆเอาไว้ใน source code ของโปรแกรมโดยตรงเลย, See also: hardcode, hardcoding, hard-code, hard-coding |
moulage | (n) แม่พิมพ์ที่ใช้ในการสืบสวนคดี เช่นรอยเท้า หรือใช้ในทางการแพทย์เพื่อใช้ในการฝึกปฏิบัติการ, See also: cast, Syn. mold |
panegyric | (n) บทสดุดี คือสุนทรพจน์อย่างเป็นทางการหรือต่อมาเป็นบทเขียนที่ใช้ในการสรรเสริญบุคคลหรือสิ่งของ เป็นคำที่มาจากภาษากรีกที่หมายถึงสุนทรพจน์ที่เหมาะแก่ที่ประชุม (panegyris) ในเอเธนส์การกล่าวบทสดุดีจะทำกันในเทศกาลระดับชาติหรือในการแข่งขันกีฬาโดยมีจุดประสงค์ในการเร้าใจผู้ที่มาร่วมเพื่อให้ปฏิบัติตนเช่นตัวอย่างอันดีของบรรพบุรุษ (Source:wikipedia.org), See also: eulogy |
perform | (n) 1.กระทำ, ปฏิบัติ, ประกอบ, ปฏิบัติตาม(สัญญา) 2.แสดง(ละคร), การแสดง 3.(เครื่อง) เดิน, การเดินของเครื่อง 4.คุณสมบัติในการใช้ของเครื่องใดๆ |
practical | เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงในทางปฏิบัติ, นำมาใช้ประโยชน์ได้ |
pragmatics | (n) วัจนปฏิบัติศาสตร์ |
Reduction to Practice | (n) การนำไปใช้งานให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติ |
stand down | (n) การหยุดการโจมตี(ปฏิบัติการ)ชั่วคราว |
Sulaltern Agency | (n) การถูกกดทับทางสังคม การตกเป็นเบี้ยล่างทางสังคม การปฏิบัติทางสังคมของกลุ่มที่ต้องการต่อรองกับอำนาจที่กดทับพวกเขาอยู่ |
trivialize | (vt) ปฏิบัติต่อสิ่งนั้นราวกับไม่ใช่เรื่องสำคัญหรือมีคุณค่าอย่างที่เป็นจริง |
viability | (n) นำไปปฏิบัติได้ |
WM ware | เป็นโปรแกรมที่ถูกคิดค้นขึ้นมาเพื่อสร้างคอมพิวเตอร์เสมือน (Virtual Machine) ขึ้นบนระบบปฏิบัติการเดิมที่มีอยู่ |
นักวิชาการศึกษา | (n) ผู้ปฏิบัติงานทางด้านการศึกษา, Syn. acadamist |
Longdo Approved JP-TH
リナックス | [りなっくす, rinakkusu] (n) ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ |
実習 | [じっしゅう, jisshuu] (n) ฝึกงานภาคปฏิบัติ |
実行 | [じっこう, jikkou] ปฏิบัติ, ดำเนินการ |
実践 | [じっせん, jissen] การปฏิบัติ การกระทำ วิธีปฏิบัติ สิ่งที่ปฏิบัติ |
就業中 | [しゅうぎょうちゅう, shuugyouchuu] ขณะกำลังปฏิบัติงาน |
率いる | [ひきいる, hikiiru] (vt) ปฏิบัติการ (ทดลอง) |
通り | [とおり, toori] (n) ตาม เช่น その通りをして下さい (โปรดปฏิบัติตามนั้น) |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ゴッグル | [ごっぐる, gogguru] (n) แว่นตาแบบปิดลงมาด้านข้างใส่ในการปฏิบัติงานสำหรับป้องกันเศษผงกระเด็นเข้าตา |
作業 | [さぎょう, sagyou] (n) การปฏิบัติในแต่ละขั้นตอน |
追従 | [ついじゅう, tsuijuu] (n) การปฏิบัติตาม, การประจบประแจง |
特典 | [とくてん, tokuten] การปฏิบัติที่เอื้อประโยชน์เป็นพิเศษเฉพาะผู้เกี่ยวข้อง |
勤務 | [きんむ, kinmu] 1.การปฏิบัติงาน 2.การปฏิบัติหน้าที่ |
殉職 | [じゅんしょく, junshoku] (n, vi) การเสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ เช่น 知り合いのおまわりさんが殉職しました |
戦隊 | [せんたい, sentai] (n) ขบวนการ, กลุ่มปฏิบัติการ, กลุ่มก่อการ |
公式 | [こうしき, koushiki, koushiki , koushiki] (n, adj) สูตร, กฎ, เกณฑ์, หลัก, มาตรฐาน, รูปแบบ, แผ่น, ตำรับ, ตำรา , ข้าราชการ, เจ้าพนักงาน adj. เป็นทางการ, ระเบียบ, ระเบียบแบบแผน, พิธีรีตอง, ความเคร่งครัดในระเบียบ, ความเข้มงวด, ธรรมเนียมปฏิบัติ |
打ち上げ | [うちあげ, uchiage] (n, vi, vt) (ลอนชฺ) { launched, launching, launches } vt. ปล่อย (เรือ) ลงน้ำปล่อย (ดาวเทียม, ทุ่นระเบิด) , เหวี่ยง, ยิง, ทำให้เริ่มปฏิบัติการ, เริ่ม, ยื่น (คำคัดค้าน) , ออกคำสั่ง. vi. เริ่ม, เข้าร่วม, ลงมือ. n. การปล่อย, การเริ่มปฏิบัติการ, การเข้าร่วม, เรือบด, เรือยนต์ คำที่มีความหม |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
基準 | [きじゅん, kijun] TH: แนวทางปฏิบัติ EN: norm |
務める | [つとめる, tsutomeru] TH: ปฏิบัติหน้าที่ EN: to serve |
取り扱う | [とりあつかう, toriatsukau] TH: ปฏิบัติกับ EN: to treat |
扱う | [あつかう, atsukau] TH: ปฏิบัติต่อ |
Longdo Approved DE-TH
Klinikum | (n) |das, pl. Kliniken| การศึกษาภาคปฏิบัติในโรงพยาบาลของนักศึกษาแพทย์ |
erfinden | (vt) |erfand, hat erfunden| ประดิษฐ์, คิดค้นสิ่งใหม่ เช่น Linus hat Linux-betriebsystem erfunden. คุณลินัสได้คิดค้นระบบปฏิบัติการลินุกซ์ |
Fachhochschule | (n) |die, pl. Fachhochschulen| มหาวิทยาลัยที่เน้นการเรียนด้านปฏิบัติ เมื่อจบการศึกษาจะได้รับวุฒิที่เทียบเท่าปริญญาตรีที่เมืองไทย ในขณะที่ในมหาวิทยาลัยทั่วไป (Universität)จะได้วุฒิที่เทียบเท่ากับปริญญาโท |
verhalten | (vt) |verhält, verhielt, hat verhalten| sich verhalten: ประพฤติ, ปฏิบัติตัว เช่น Er verhält sich heute wie ein Chef. วันนี้เขาปฏิบัติตัวเหมือนเป็นเจ้านาย |
Pragmatismus | (n) |der, nur Sg.| ปฏิบัตินิยม, หลักการหรือปรัชญาที่ว่าผลของการปฏิบัติเป็นแกนหรือความหมายของความรู้ |
Dienst | (n) |der, pl. Dienste| เวรภาระหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติ, ช่วงเวลาการทำงาน เช่น Ich bin heute nicht im Dienst. วันนี้ฉันไม่มีเวรทำงาน |
Aktion | (n) |die, pl. Aktionen| อากัปกิริยา, การกระทำ, การปฏิบัติ, การดำเนินการ, ท่าทาง |
funktionsfähig | (adj, adv) ที่สามารถทำงานได้, ซึ่งสามารถปฏิบัติการได้ เช่น Das schnurlose Telefon kann mehrere Stunden funktionsfähig benutzt werden. โทรศัพท์ไร้สายนี้สามารถใช้การได้หลายชั่วโมง |
vorgehen | (vi) |geht vor, ging vor, ist vorgegangen, gegen etw.| ดำเนินการ, กระทำการ, กระทำต่อไป, ปฏิบัติ เช่น disziplinarisch gegen jmdn. vorgehen ดำเนินการตามระเบียบวินัยต่อต้านคนใดคนหนึ่ง |
Longdo Unapproved DE-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Android { m }; Androide { m } | คือแพลตฟอร์มใหม่สำหรับโทรศัพท์มือถือและอุปกรณ์พกพา ซึ่งประกอบด้วยระบบปฏิบัติการ ไลบรารี เฟรมเวิร์ค และซอฟต์แวร์อื่นๆ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0693 seconds, cache age: 1.373 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม