130 ผลลัพธ์ สำหรับ *บ่งชี้*
ภาษา
หรือค้นหา: บ่งชี้, -บ่งชี้-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
บ่งชี้ | (v) indicate, See also: point out, show, point to, specify, Syn. ชี้, ระบุ, Example: ผู้วิจัยไม่อาจบ่งชี้ถึงสาเหตุที่แท้จริงที่ทำให้เกิดอัตราการแท้งลูกเพิ่มสูงขึ้น, Thai Definition: ชี้ให้เห็นชัด |
ข้อบ่งชี้ | (n) indicator, See also: descriptor, Syn. ข้อชี้ชัด, Example: หากผู้บริโภคตระหนักถึงข้อบ่งชี้นี้ อาจจะทำให้ความต้องการสินค้าลดลง, Count Unit: ข้อ, ประการ, Thai Definition: สิ่งที่ระบุหรืออ้างให้รู้โดยเจาะจง |
เครื่องบ่งชี้ | (n) indicator, See also: pointer, gauge, index, mark, signal, sign, guide, Syn. ตัวบ่งชี้, สิ่งชี้นำ, Example: แกลเลอรี่ที่ตั้งขึ้นโดยเอกชนในเมืองเชียงใหม่นั้นเป็นเครื่องบ่งชี้ให้เห็นกระแสความต้องการศิลปะของผู้คนบางกลุ่ม |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
สิ่งที่บ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ | น. ชื่อสัญลักษณ์ หรือสิ่งอื่นใดที่ใช้เรียกหรือใช้แทนแหล่งภูมิศาสตร์ และที่สามารถบ่งบอกว่าสินค้าที่เกิดจากแหล่งภูมิศาสตร์นั้นเป็นสินค้าที่มีคุณภาพ ชื่อเสียง หรือคุณลักษณะเฉพาะของแหล่งภูมิศาสตร์ดังกล่าว. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
attribution | สิ่งบ่งชี้ [ศิลปะ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
flag | ตัวบ่งชี้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
flag | ตัวบ่งชี้ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
ihp (indicated horsepower) | ไอเอชพี (แรงม้าบ่งชี้) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indicated horsepower (ihp) | แรงม้าบ่งชี้ (ไอเอชพี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indicated power (ip) | กำลังบ่งชี้ (ไอพี) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
indicated power (ip) | กำลังบ่งชี้ (ไอพี) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
indication | ข้อบ่งใช้, ข้อบ่งชี้ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
indicator | ตัวบ่งชี้, ตัวชี้บอก, เครื่องชี้บอก [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
ip (indicated power) | ไอพี (กำลังบ่งชี้) [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
ip (indicated power) | ไอพี (กำลังบ่งชี้) [ยานยนต์ ๑๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
zero flag | ตัวบ่งชี้ค่าศูนย์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
zero flag | ตัวบ่งชี้ค่าศูนย์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Condition monitoring | การเฝ้าสังเกตภาวะ, การสังเกต การวัด หรือแนวโน้ม ของตัวบ่งชี้ภาวะโดยเทียบกับพารามิเตอร์เสรี เช่น เวลาหรือรอบการทำงาน เพื่อแสดงว่า โครงสร้าง ระบบ หรือส่วนประกอบ สามารถใช้งานตามเกณฑ์ที่กำหนดได้ทั้งในปัจจุบันและอนาคต, Example: [นิวเคลียร์] |
Tumor markers, Biological | ตัวบ่งชี้เนื้องอก [TU Subject Heading] |
Indicators | ตัวบ่งชี้, Example: เป็นตัวบ่งบอกถึงเหตุการณ์ที่ซับซ้อน เช่น อัตราการตายของทารก หรือบ่งชี้ถึงสภาพด้านการอนามัยของประชากร เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] |
ดัชนีความหนืด | ดัชนีความหนืดของน้ำมันหล่อลื่นเป็นตัวบ่งชี้ว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้จะมี ความหนืดเปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิอย่างไร ถ้าน้ำมันหล่อลื่นมีค่าดัชนีความหนืดมาก แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนี้ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงน้อยเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน ในขณะที่น้ำมันหล่อลื่นที่มีค่าดัชนีความหนืดต่ำ แสดงว่าน้ำมันหล่อลื่นชนิดนั้น ความหนืดจะเปลี่ยนแปลงมากเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน น้ำมันที่มีดัชนีความหนืดสูงจะเป็นน้ำมันคุณภาพดี สามารถใช้งานได้ดี แม้มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Alkalinity | ปริมาณด่างอิสระทั้งหมดในน้ำยาง แสดงเป็นปริมาณแอมโมเนีย เนื่องจากส่วนใหญ่จะรักษาสภาพน้ำยางข้นด้วยสารละลายแอมโมเนีย ค่านี้จะบ่งชี้ว่าการรักษาสภาพของน้ำยางเพียงพอหรือไม่ และจะปรับไล่แอมโมเนียออกปริมาณเท่าใดเมื่อจะนำไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ [เทคโนโลยียาง] |
Dry rubber content | ปริมาณส่วนที่เป็นเนื้อยางทั้งหมดในน้ำยาง ซึ่งได้จากการทำให้น้ำยางจับตัวด้วยกรดแอซิติก ภายใต้การควบคุมสภาพการจับตัวอย่างแน่นอน เป็นค่าบ่งชี้ปริมาณของเนื้อยางจริงๆ ซึ่งมีความสำคัญในการซื้อขาย การนำน้ำยางไปแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ยาง เช่น การออกสูตรส่วนผสมของสารเคมีต่างๆ [เทคโนโลยียาง] |
Mechanical stability time | ความเสถียรเชิงกลของน้ำยาง หมายถึง ความเสถียรของน้ำยางต่ออิทธิพลทางกล เช่น การกวน การปั๊ม การเคลื่อนย้าย หรือการกระทำทางกลโดยวิธีอื่นๆ สามารถทำได้โดยวัดระยะเวลาที่เริ่มปั่นกวนน้ำยางจนกระทั่งสังเกตเห็นน้ำยาง เริ่มจับตัวเป็นเม็ดเล็กๆ ในหน่วยของวินาที ค่า MST สูงจะบ่งชี้ว่า น้ำยางมีความเสถียรต่ออิทธิพลทางกลได้สูง แต่ถ้าค่า MST ต่ำแสดงว่าน้ำยางนั้นจะสูญเสียความเสถียร สามารถจะจับเป็นเม็ดได้ง่าย เมื่อน้ำยางถูกกระทบกับอิทธิพลทางกล [เทคโนโลยียาง] |
Non rubber content | ปริมาณของแข็งที่ไม่ใช่ยาง หมายถึง ปริมาณของแข็งอื่นๆ ที่ไม่ใช่เนื้อยางที่มีอยู่ในน้ำยาง เช่น แมกนีเซียม ทองแดง คาร์โบไฮเดรต ไขมัน เป็นต้น สามารถหาได้จากการนำเอาค่า DRC ไปหักออกจากค่า TSC ก็จะได้ค่า NRC ถ้าน้ำยางข้นชุดใดมีค่า NRC สูง ก็บ่งชี้ว่า น้ำยางชุดนั้นมีสารที่ไม่ใช่เนื้อยางมาก ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อความเสถียรของน้ำยาง [เทคโนโลยียาง] |
Potassium hydroxide number | จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ หมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่สมมูลย์พอดีกับอนุมูลของกรดทั้งหมดที่ รวมกับแอมโมเนียในน้ำยาง ที่มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม นั่นคือ จำนวนโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์เป็นตัวระบุปริมาณของสบู่แอมโมเนียมที่เกิดขึ้น ระหว่างการเปลี่ยนแปลงในน้ำยาง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดจากการกระทำของแบคทีเรียต่อสารที่ไม่ใช่เนื้อยาง ในขณะก่อนการใส่แอมโมเนียลงในน้ำยาง และเกิดขึ้นจากการไฮโดรไลซิสของโปรตีนในระหว่างการเก็บน้ำยาง ค่า KOH ที่สูงแสดงถึง ความเปลี่ยนแปลงมากและอาจบ่งชี้ว่าน้ำยางข้นมีอายุหลังการผลิตนานอีกด้วย [เทคโนโลยียาง] |
Volatile fatty acid number | จำนวนกรดไขมันระเหย หมายถึง ปริมาณของกรดไขมันระเหยที่เกิดขึ้นโดยการไฮโดรไลซิสของคาร์โบไฮเดรตในเซรุ่ม ของน้ำยาง กรดเหล่านี้ประกอบด้วยกรดแอซิติก กรดฟอร์มิก และกรดพรอพิโอนิก เป็นส่วนใหญ่ หรือหมายถึง จำนวนกรัมของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ที่ทำให้กรดไขมันระเหยทั้งหมดในน้ำยางที่ มีปริมาณของแข็งทั้งหมด 100 กรัม เป็นกลาง ค่า VFA No. เป็นค่าที่บ่งชี้ถึงสถานะการเสียสภาพ ถ้าค่า VFA No. สูง แสดงว่าน้ำยางถูกเชื้อจุลินทรีย์เข้าทำลายมาก เกิดกรดไขมันระเหยมาก ทำให้สูญเสียสภาพการเป็นคอลลอยด์ เกิดการบูดเน่าและจับเป็นก้อนได้ [เทคโนโลยียาง] |
Criteria, Main | ข้อบ่งชี้สำคัญ [การแพทย์] |
Digital Object Identification | ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล, Example: ชื่อหรือรหัสที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อระบุชื่อ ตำแหน่ง หรือที่จัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลที่เผยแพร่และให้บริการบนอินเทอร์เน็ต <p> <p><b>ประวัติ</b> <p>1977 - เกิดจากรวมตัวกันระหว่างสมาคมการพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกา คือ International Publishers Association; International Association of Scientific, Technical and Medical Publishers; Association of American Publishers และเปิดตัวระบบ DOI ในงาน Frankfurt Book Fair 1997 <p>มีการก่อตั้งมูลนิธิ The International DOI Foundation ทำงานร่วมกับ Corporation for Natiobal Research Initiatives (CNRI) ในการพัฒนาระบบแฮนเดิล (Handle System) <p>1998-2000 IDF ร่วมกับ Indecs project กำหนด Indecs framework <p>2000 เชื่อมโยงบทความอิเล็กทรอนิกส์ด้วย CrossRef Registration Agency <p>ปัจจุบัน DOI ได้รับการรับรองเป็นมาตรฐานสากล ISO 26324:2012 : Information and Documentation <p><b>วัตถุประสงค์หลักของ DOI</b> <p>1. เพื่อเป็นการสร้างชื่อหรือรหัสประจำทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัล <p>2. เพื่อความสะดวกในการค้นหา <p>3. เพื่อสร้างระบบที่เชื่อมโยงกับไฟล์ดิจิทัลในการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ <p>4. เพื่อการจัดเก็บและเผยแพร่ทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลในระยะยาว เป็นการแก้ปัญหาความไม่คงทนถาวรของเว็บไซต์และยูอาร์แอลที่เปลี่ยนแปลง <p><b>องค์ประกอบของ DOI</b> <p>ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ <p>ส่วนที่ 1 เรียกว่า Prefix คือ ชุดรหัสที่ Registration Agency (RA คือ หน่วยงานที่ให้บริการรหัส DOI) กำหนดขึ้น เริ่มต้นด้วยเลข 10 ตามด้วยตัวเลข 4 หลัก เช่น 10.1000 <p>ส่วนที่ 2 เรียกว่า Suffix คือ ส่วนของ Publisher กำหนดให้ เป็นตัวเลขหรือตัวอักษรที่อยู่หลังเครื่องหมาย / เช่น doi : 10.1016/j.polymer.2012.03.019 <p><b>หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดรหัส DOI</b> <p>หน่วยงานที่รับผิดชอบในการกำหนดรหัส DOI คือ International DOI Foundation หรือ IDF ซึ่ง IDF จะให้หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็น Resiatration Agency หรือ RA กำหนดรหัสที่เป็นตัวเลขส่วนต้น (Prefix) ให้แก่สำนักพิมพ์หรือองค์กรที่เป็นสมาชิก โดย RA ทำหน้าที่เป็นหน่วยรับฝากชื่อรหัส DOI และ Metadata ของไฟล์ดิจิทัล <p>ตัวอย่างเช่น CrossRef ทำหน้าที่เป็น RA ซึ่งเป็นตัวแทนของสำนักพิมพ์หลายแห่งที่จัดทำวารสารวิชาการ เอกสารและหนังสือในรูปอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะทำหน้าที่รับลงทะเบียน DOI และจัดทำ Metadata ให้สัมพันธ์กับรหัส DOI และ URL ของเอกสารดิจิทัลและทำหน้าที่เป็นฐานข้อมูลกลางของ DOI ของสำนักพิมพ์ที่เป็นสมาชิก <p><b>รายการอ้างอิง</b> <p>น้ำทิพย์ วิภาวิน. สารสนเทศดิจิทัล และ DOI เอกสารประกอบการสัมมนา เรื่อง Digital Information & DOI วันศุกร์ที่ 22 มิถุนายน 2550 ณ ห้อง 110 อาคารสำนักงานกลาง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย. ปทุมธานี : ศูนย์บริการสารสนเทศทางเทคโนโลยี สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2550. <p>The DOI System. [ Online ] : http://www.doi.org/ Accessed: 04-08-2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
Persistent Uniform Resource Locators | เพิร์ล ยูอาร์แอลประเภทหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวบ่งชี้อย่างถาวร, Example: PURLs เป็นยูอาร์แอลประเภทหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นตัวบ่งชี้อย่างถาวร เพื่อช่วยแก้ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของยูอาร์แอล โดยสำนักงานโอซีแอลซี (OCLC) ใช้เทคโนโลยีของยูอาร์เอ็นสร้างตัวบ่งชี้ด้วยการกำหนดชื่อเป็น Persistent URLs หรือ เพิร์ล (PURLs) ซึ่งพัฒนาและเริ่มให้บริการตั้งแต่เดือนมกราคม ปี ค.ศ. 1996 โดยมีลักษณะดังรูปที่ 1 <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS1.jpg" width="540" higth="100" alt="PURLs1"> <p>โดยหน้าที่ของเพิร์ล คือ ยูอาร์แอลตัวหนึ่ง แต่แทนที่จะชี้ไปยังตำแหน่งหรือทรัพยากรสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตโดยตรง เพิร์ลจะชี้ไปที่รีโซลูชันก่อน ซึ่งชี้ไปยังยูอาร์แอลตัวจริงอีกต่อหนึ่ง แล้วจึงส่งยูอาร์แอลนั้นคืนไปที่ผู้ใช้ ซึ่งสามารถติตต่อกับอยู่อาร์อาร์แอลได้ตามปรกติ <p>เพิร์ล ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ <p>1. โปรโตคอล (protocol) <p>2. รีโซฟเวอร์ แอดเดรส (resolver address) <p>3. ชื่อ <p> <p>ตัวอย่าง <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS2.jpg" width="540" higth="100" alt="PURLS2"> <p>จากตัวอย่าง เพิร์ลใช้โปรโตคอล เอชทีทีพีปกติ (ในที่นี้คือ purl.oclc.org) ส่วนรีโซฟเวอร์แอดเดรส ก็คือ ไอพีแอดเดรส หรือชื่อโดเมนของเพิร์ลรีโซฟเวอร์ ซึ่งใช้ระบบดีเอ็นเอสมาตรฐาน และส่วนที่สามคือ ชื่อ นั้นจะถูกแปลงด้วยเพิร์ลรีโซฟเวอร์ ระบบเพิร์ลนั้น สามารถปรับให้เป็นยูอาร์เอ็นได้ ดังตัวอย่าง <p><img src="http://thaiglossary.org/sites/default/files/20120826-PURLS3.jpg" width="500" higth="100" alt="PURLS3"> <p>รายการอ้างอิง <p>ยรรยง เต็งอำนวย และ สุภาพร ชัยธัมมะปกรณ์. 2542. ปัญหาความไม่ถาวรของการอ้างอิงเอกสารบนเวิลด์ไวด์เว็บ. วารสารห้องสมุด 43, 2 (เม.ย. - มิ.ย. 42) : 1-17. <p>Shafer, Keith et al. 1996. Introduction to Persistence Uniform Resource Locators. [ On-line ]. Available: http://www.isoc.org/inet96/proceedings/a4/a4_1.htm Visited: 26-08-2012. [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] |
indicator | อินดิเคเตอร์, สารที่บ่งชี้สมบัติบางอย่างในปฏิกิริยาเคมีโดยการเปลี่ยนสีหรือสมบัติบางอย่างที่มองเห็นได้ เช่น อินดิเคเตอร์สำหรับปฏิกิริยากรด-เบส จะเปลี่ยนเป็นสีหนึ่งในกรดและเป็นอีกสีหนึ่งในเบส หรือบางชนิดเปลี่ยนเป็นสีต่าง ๆ ตามช่วง pH ของสารละลายนอกจากนี้ยังมีอินดิเคเตอร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Index | เครื่องบ่งชี้, ดรรชนี, เข็มชี้ [การแพทย์] |
Index Organisms | ตัวบ่งชี้ [การแพทย์] |
Indications | ข้อบ่งชี้, ข้อบ่งใช้, ข้อบ่งบอก [การแพทย์] |
Indicators | อินดิเคเตอร์, เครื่องชี้วัด, ตัวบ่งชี้, สี, เครื่องบอก, ตัวชี้แนะ [การแพทย์] |
Indicators, Objective | เครื่องบ่งชี้ชนิดรูปธรรม [การแพทย์] |
Indicators, Optical | ตัวบ่งชี้ทางแสง [การแพทย์] |
Indicators, Subjective | เครื่องบ่งชี้ชนิดนามธรรม [การแพทย์] |
Landmarks | ที่หมาย, ตำแหน่งบ่งชี้ [การแพทย์] |
Networked Readiness Index | ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร, Example: ดัชนีบ่งชี้ระดับความพร้อมของการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และโอกาสในการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการพัฒนาประเทศ ที่ครอบคลุมทั้งภาคประชาชน ภาคธุรกิจและภาครัฐ ซึ่งจัดทำขึ้นโดย World economic forum และมีการรายงานใน Global information technology report เป็นประจำทุกปี ดัชนี NRI ประกอบด้วยดัชนีย่อย (sub-index) 3 กลุ่ม กล่าวคือ <ul> <li>สภาพแวดล้อม/ปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อการพัฒนา ICT ประกอบด้วย (i) สภาพแวดล้อมทางด้านการทำธุรกิจ/ตลาดของ เช่น การมีนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรที่เพียงพอ กฏระเบียบของภาครัฐและผลของมาตรการทางภาษาต่างๆ เป็นต้น (ii) สภาพแวดล้อมทางด้านการเมืองการปกครอง และกฎเกณฑ์การกำกับดูแลต่างๆ อาทิ การมีกฏหมายที่เกี่ยวข้องกับ ICT ประสิทธิภาพของการบังคับใช้กฎหมาย การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา และ (iii) สภาพแวดล้อมทางด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ไฟฟ้า โทรศัพท์ เป็นต้น</li> <li>ความพร้อมทางด้านเครือข่ายซึ่งรวมถึงความพร้อมของบุคลากรที่จะเป็นผู้ใช้ประโยชน์จากเครือข่าย โดยในการวัดยังแบ่งเป็นความพร้อมของประชาชนทั่วไป (individual), ภาคธุรกิจ (business) และภาครัฐ (government) โดยตัวอย่างตัวชี้วัด (indicators) ที่นำมาพิจารณาคือ (i) การเชื่อมต่อและการลงทุนในเครือข่าย เช่น การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตของโรงเรียน การเชื่อมต่อคู่สายโทรศัพท์ของครัวเรือน/สถานประกอบการ การจัดซื้่อจัดหาเทคโนโลยีของภาครัฐ (ii) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น คุณภาพของระบบการศึกษาในประเทศ การลงทุนด้านการฝึกอบรมของบุคลากรในสถานประกอบการ และการให้ความสำคัญกับการสร้างและพัฒนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (iii) การใช้ดัชนีย่อยอื่นๆ มาประเมินวัด เช่น e-Government readiness</li> <li>ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT ของภาคประชาชน ภาคธุรกิจ และภาครัฐ โดยอาจจัดกลุ่มชี้วั ดที่สำคัญได้ ดังนี้ คือ (i) การแพร่กระจายโครงสร้างพื้นฐานเพื่อให้คน/องค์กรกลุ่มต่างๆ สามารถใช้ประโยชน์ เช่น การแพร่กระจายของคอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ (ประจำที่และเคลื่อนที่) และอินเทอร์เน็ต ระดับการมี การใช้ ICT ของภาครัฐ (ii) ความสามารถในการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น ความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยีของภาคธุรกิจ ประสิทธิผลของการใช้ ICT ในภาครัฐ (iii) ระดับของการใช้ประโยชน์จาก ICT เช่น จำนวนบริการภาครัฐออนไลน์ การใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของภาคธุรกิจและจำนวนข้อมูลที่ไหลเวียนบนอินเทอร์เน็ต (Internet Traffic) เป็นต้น NRI มีความโดดเด่นทั้งในด้านของความสมบูรณ์ของตัวชี้วัดที่นำมาพิจารณา และจำนวนของประเทศที่นำมาศึกษา</li> </ul> [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
Manometers | แมโนมีเตอร์, เครื่องวัดบ่งชี้, มาโนมิเตอร์, เครื่องวัดความดัน [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
บ่งชี้ | [bongchī] (v) EN: indicate ; point out ; show ; point to ; specify FR: indiquer ; montrer |
ข้อบ่งชี้ | [khøbongchī] (n) EN: indicator ; descriptor FR: indicateur [ m ] ; descripteur [ m ] |
สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ | [sing bongchī thāng phūmisāt] (n, exp) EN: Geographical Indications (GI) |
ตัวบ่งชี้ | [tūabongchī] (n) EN: index |
Longdo Approved EN-TH
snail mail | (n, jargon) จดหมายที่ถูกส่งทางไปรษณีย์ปกติ (เพื่อไม่ให้สับสนกับ E-mail ถ้าใช้คำว่า mail เฉยๆ ในยุคนี้อาจไม่ชัดเจนว่าเป็นอันไหน) snail แปลตามตัวคือหอยทาก ซึ่งเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ เป็นการบ่งชี้กลายๆ ว่า ไม่เร็วเหมือน E-mail |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
demonstrative | (n) คำบ่งชี้, See also: คำสรรพนามที่ระบุว่าคน สัตว์ สิ่งของนั้นๆ แตกต่างจากสิ่งอื่น, Syn. determiner |
determiner | (n) คำบ่งชี้ (เช่น a หรือ the) ซึ่งใช้นำหน้าคำนาม, Syn. determinative |
straw in the wind | (idm) สัญญาณบอกสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต, See also: ข้อบ่งชี้สิ่งที่จะเกิด |
index | (n) ตัวชี้, See also: ตัววัด, ตัวบ่งชี้, Syn. indicator, pointer |
indicative | (adj) ซึ่งบ่งบอก, See also: ซึ่งบ่งชี้, ซึ่งแสดงออก, Syn. demonstrative, designative |
indicator | (n) ตัวบอก (สัญลักษณ์ย่อคือ indic.), See also: เครื่องบอก, ตัวบ่งชี้, Syn. pointer, notice, symbol |
manifestation | (n) ข้อบ่งชี้, See also: อาการแสดง, Syn. symtom |
marker | (n) เครื่องหมาย, See also: เครื่องบ่งชี้, ป้าย, สัญลักษณ์, Syn. label, ticket, mark |
sign | (n) ร่องรอย, See also: อาการ, สัญญาณ, ตัวบ่งชี้ |
telltale | (adj) ที่บ่งชี้ว่ามีอยู่จริง, See also: ซึ่งเปิดเผยความลับ, Syn. significant, tattletale, revealing |
that | (det) (คนหรือสิ่งของ) นั้น (ใช้นำหน้านามเพื่อบ่งชี้) |
Hope Dictionary
clock ticks | สัญญาณนาฬิกาหมายถึง จังหวะช่วงเวลาที่นาฬิกาเดิน (ติ๊ก) ซึ่งจะเป็นช่วงที่แน่นอนสม่ำเสมอ ในแต่ละช่วงเดินของนาฬิกาที่เรียกว่า "ติ๊ก" นั้น คอมพิวเตอร์จะทำงานตามคำสั่ง และจะหยุดทำงานในช่วงว่างระหว่างติ๊ก ยิ่งช่วงติ๊กนี้ถี่เท่าใด ก็ยิ่งแปลว่าคอมพิวเตอร์ทำงานเร็วเท่านั้น สัญญาณนาฬิกานี้ จึงถือเป็นเครื่องบ่งชี้ถึงความเร็วของการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ความ เร็วของการเดินของนาฬิกา หรือความถี่นี้วัดกันเป็นเมกะเฮิรตช์ (megahertz) 1 เมกะเฮิรตซ์ จะเท่ากับ 1 ล้านติ๊กของนาฬิกาต่อ 1 วินาที คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือพีซีในยุคปัจจุบันนั้นมีหน่วยความจำที่ทำงานด้วยความเร็ว ถึงประมาณ 33-66 เมกะเฮิร์ตซ์ |
flag | (แฟลก) { flagged, flagging, flags } n. ธง, ธงเรือ, ธงบัญชาการ, ทางกว้าง, ป้ายชื่อหนังสือแผ่นหินสำหรับปูพื้น. vt. ประดับด้วยธง, ให้สัญญาณด้วยธง, ตีธง, โบกธง., See also: flagger n., Syn. banner ตัวบ่งชี้เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมใช้ เพื่อให้เป็นตัวชี้ถึงสถานะใด สถานะหนึ่ง ในโปรแกรมที่เขียนขึ้น เช่น จริง true, ไม่จริง false |
manifestation | (แมนนะเฟสเท'เชิน) n. การสำแดง, การแสดง, การปรากฎ, วิธีการปรากฎหรือแสดงเครื่องบ่งชี้, การเดินขบวน, การแห่แหน, Syn. sign, grounds |
relative address | เลขที่อยู่สัมพัทธ์หมายถึงเลขที่อยู่ (address) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง โดยใช้จำนวนไบต์ จากเลขที่อยู่อื่นที่มีอยู่แล้ว เช่น เลขที่อยู่สัมพัทธ์ของ "0004" บ่งชี้ว่าข้อมูลนั้นได้เก็บเอาไว้ ห่างจากเลขที่อยู่อีกอันหนึ่งไปอีก 4 ที่ เป็นต้น |
Nontri Dictionary
denote | (vt) แสดง, ชี้แนะ, บ่งชี้, หมายความว่า |
designate | (vt) กะ, เรียกขาน, ระบุ, ตั้งชื่อ, บ่งชี้, กำหนด |
marker | (n) คนจดคะแนน, เครื่องบ่งชี้, ผู้ทำเครื่องหมาย |
messenger | (n) ผู้ส่งข่าว, ทูตสวรรค์, ผู้ส่งสาร, เครื่องบ่งชี้, ลาง |
signification | (n) นัย, ความหมาย, ความสำคัญ, การบ่งชี้, การแจ้งให้ทราบ |
signify | (vt) บอกใบ้, แสดงความหมาย, บ่งชี้, บอกให้รู้ล่วงหน้า, เป็นลาง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
gi | (n) สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ Geographical Indication |
Hedge | (n, vi) [ Linguistics: Pragmatics ] n. คำบ่งชี้ความไม่แน่ใจ คำบ่งชี้การพูดออกตัว การพูดออกตัว โดยใช้ คำ วลี หรือประพจน์เพื่อป้องกันตัวของผู้พูดในกรณีที่พูดผิด ไม่มั่นใจ เช่น วันนี้ฝนอาจจะตก คำว่า อาจจะ คือ hedge ชนิดหนึ่งที่บ่งชี้ว่าผู้พูดมีความไม่มั่นใจ มีความกำกวม ซึ่งฝนจะตกหรือไม่ตกผู้พูดก็ไม่ได้พูดผิด เพราะคำว่า อาจจะ มีความเป็นไปได้และเป็นไปไม่ได้ที่จะเกิด 50/50 v. พูดออกตัว พูดกำกวม พูดป้องกันตัว, See also: softener, downtoner, understatement, weakener, tentativeness, stance m, Syn. mitigator |
identify | (n) รหัสบ่งชี้ |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
指摘 | [してき, shiteki] (n) การบ่งชี้ |
Longdo Approved DE-TH
Ißt du nicht? Doch, doch. | ไม่กินเหรอ? กิน กิน! สังเกตการใช้คำว่า Doch ซึ่งใช้ตอบประโยคคำถามที่มีความหมายเชิงปฏิเสธ โดย Doch บ่งชี้คำตอบรับที่มีความหมายตรงกันข้าม |
dies | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศกลาง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น Wir haben eine Wanderung 7 Tage im Wald gemacht. Dies war für uns ein kleines Abendteuer. พวกเราไปเดินป่ามาเจ็ดวัน นี่เป็นการผจญภัยเล็กๆ เชียวนะ, See also: dieser, diese, Syn. dieses |
diese | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศหญิง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น diese Woche สัปดาห์นี้ |
diesem | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายและเพศกลาง ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ รูป Dativ) เช่น das Bild von diesem Mann รูปของผู้ชายคนนี้, See also: dies |
diesen | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายรูป Akkusativ และนามพหูพจน์รูป Dativ ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น 1. Wer hat in diesen Apfel gebissen? ใครกัดแอปเปิ้ลลูกนี้เนี่ย 2. Ich habe dir ein Geschenk mit diesen Früchten mitgebracht. ฉันเอาของขวัญพร้อมด้วยผลไม้เหล่านี้มาฝากเธอ |
dieser | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศชายรูป Nominativ และนามเพศหญิงรูป Dativ และ Genetiv ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น dieser alte Mann, dieser alten Frau |
dieses | (dempron) สิ่งนี้ (คำสรรพนามหรืออาจเป็นคำนำหน้านามเพศกลางรูป Nominativ, Genetiv และ Akkusativ และนามเพศชายรูป Genetiv ที่ใช้บ่งชี้เฉพาะสิ่งนั้นๆ) เช่น dieses Jahr ปีนี้, die Haare dieses Mädchen เส้นผมของหญิงสาวคนนี้ |
heraus | (adv) บ่งชี้ทิศทางออกข้างนอกของผู้พูด เช่น Heraus mit dir! ออกไปซะ |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0272 seconds, cache age: 8.071 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม