115 ผลลัพธ์ สำหรับ *นายจ้าง*
ภาษา
หรือค้นหา: นายจ้าง, -นายจ้าง-Longdo Unapproved TH - TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
sweetheart contract | [สวีทฮ็าร์ต คอนแทร์คท์] (phrase) หากแปลกันตรงๆ คือ "สัญญารัก" ในเนื้อหาชองสิทธิการจ้างงาน สามารถอธิบายว่าป็นข้อตกลงระหว่างนายจ้างกับเจ้าพนักงานสหภาพแรงงานที่ซึ่งอำนวยผลประโยชน์ต่อทั้งสองฝ่ายบนค่าใช้จ่ายของพนักงาน In the context of employment rights, a sweetheart contract can describe a deal between an employer and trade union officials which benefits them both at the expense of employees. |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
นายจ้าง | (n) employer, See also: boss, Syn. เจ้านาย, นาย, Ant. ลูกจ้าง, Example: นายจ้างต้องกำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างเท่าเทียมกัน, Count Unit: คน, Thai Definition: ผู้จ้างให้ผู้อื่นทำงานให้, ผู้จ้างทำการงาน |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
นายจ้าง | น. ผู้จ้างทำการงาน, คู่กับ ลูกจ้าง |
นายจ้าง | บุคคลซึ่งตกลงว่าจ้างบุคคลอีกคนหนึ่งซึ่งเรียกว่า ลูกจ้าง ให้ทำงานให้และจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้นั้น. |
กองทุนประกันสังคม | น. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นในสำนักงานประกันสังคม เพื่อเป็นทุนใช้จ่ายให้ผู้ประกันตนได้รับประโยชน์ทดแทน กองทุนนี้มีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินสมทบจากรัฐบาล นายจ้าง และผู้ประกันตน. |
กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ | น. กองทุนที่ลูกจ้างและนายจ้างร่วมกันจัดตั้งขึ้นโดยมีทรัพย์สินส่วนใหญ่ประกอบด้วยเงินที่ลูกจ้างจ่ายสะสม และเงินที่นายจ้างจ่ายสมทบ เพื่อเป็นหลักประกันแก่ลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างตายหรือออกจากงาน. |
การิตการก | (การิดตะ-) น. ผู้ถูกใช้ให้ทำ, เป็นประธานของประโยค เรียงไว้หน้ากริยา “ถูก-ให้” เช่น คนงานถูกนายจ้างให้ทำงานทั้งกลางวันและกลางคืน, ถ้ามิได้เป็นประธานก็เรียงไว้หลังบุรพบท “ยัง” หรือกริยานุเคราะห์ “ให้” เช่น นายจ้างยังลูกจ้างให้ทำงาน นายจ้างให้ลูกจ้างทำงาน. |
การิตวาจก | (การิดตะ-) ก. กริยาที่บอกว่าประธานเป็นการิตการกหรือผู้รับใช้, กริยาของประโยคที่แสดงว่าประธานทำหน้าที่เป็นการิตการก คือ เป็นผู้ถูกใช้ กริยาของการิตวาจกใช้กริยานุเคราะห์ “ถูก” “ถูก-ให้” หรือ “ถูกให้” เช่น ลูกจ้างถูกนายจ้างให้ทำงาน. |
ข้อพิพาทแรงงาน | น. ข้อขัดแย้งระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างเกี่ยวกับสภาพการจ้าง. |
ค่าจ้าง | น. เงินทุกประเภทและผลประโยชน์อย่างอื่นที่นายจ้างจ่ายหรือให้แก่ลูกจ้างเป็นค่าตอบแทนการทำงาน. |
ค่าล่วงเวลา | น. เงินที่นายจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างเป็นการตอบแทนการทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน. |
จ้าง ๒ | ก. ให้ทำงานหรือทำของโดยให้ค่าตอบแทน, ผู้ให้ทำงานเรียก นายจ้าง หรือ ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำงานเรียก ลูกจ้าง หรือ ผู้รับจ้าง, ผู้ให้ทำของเรียก ผู้ว่าจ้าง, ผู้รับทำของเรียก ผู้รับจ้าง. |
จ้างแรงงาน | น. ชื่อสัญญาซึ่งบุคคลคนหนึ่ง เรียกว่า ลูกจ้าง ตกลงจะทำงานให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่า นายจ้าง และนายจ้างตกลงจะให้สินจ้างตลอดเวลาที่ทำงานให้. |
บุริมสิทธิสามัญ | น. บุริมสิทธิของเจ้าหนี้ผู้ทรงสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้อย่างหนึ่งอย่างใดเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเพื่อประโยชน์อันร่วมกัน ค่าปลงศพ ค่าภาษีอากร และเงินที่ลูกจ้างมีสิทธิได้รับเพื่อการงานที่ได้ทำให้แก่ลูกหนี้ซึ่งเป็นนายจ้าง ค่าเครื่องอุปโภคบริโภคอันจำเป็นประจำวัน ในอันที่จะได้รับชำระหนี้ที่ค้างชำระแก่ตนจากทรัพย์สินทั้งหมดของลูกหนี้. |
ปิดงาน | น. การที่นายจ้างปฏิเสธไม่ยอมให้ลูกจ้างทำงานชั่วคราวเนื่องจากข้อพิพาทแรงงาน. |
รับคำ | ก. ให้สัญญา, ไม่ปฏิเสธ, ตอบตกลง, เช่น ลูกจ้างรับคำนายจ้าง, บางทีก็ใช้เข้าคู่กับคำ รับปาก เป็น รับปากรับคำ. |
แรงงานสัมพันธ์ | น. ความสัมพันธ์ในด้านการจ้างงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างในเรื่องต่าง ๆ เกี่ยวกับการว่าจ้างทำงาน เช่น เงื่อนไขการจ้าง สภาพการทำงาน. |
ลดตัว | ก. ถ่อมตัว, ไม่ถือตัว, เช่น ลูกจ้างนิยมนายจ้างที่ลดตัวมาเล่นหัวกับตน, ไม่ไว้ตัว เช่น เป็นผู้ใหญ่แล้วยังลดตัวไปทะเลาะกับเด็ก. |
วินาศกรรม | (วินาดสะกำ) น. การลอบทำลายหรือเผาผลาญทรัพย์สินโรงงานอุตสาหกรรมเป็นต้น ของนายจ้างหรือของศัตรู เช่น ในกรณีที่เกิดพิพาทกันขึ้นระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง หรือเพื่อตัดกำลังฝ่ายศัตรูเมื่อทำสงครามกันโดยตรงหรือโดยปริยาย. |
ศาลแรงงาน | น. ศาลยุติธรรมชั้นต้นที่มีกฎหมายจัดตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะ มีอำนาจพิจารณาพิพากษาหรือมีคำสั่งในเรื่องที่เกี่ยวกับแรงงานระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง. |
สภาพการจ้าง | น. หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ้างหรือการทำงาน กำหนดวันและเวลาทำงาน ค่าจ้าง สวัสดิการ การเลิกจ้าง หรือประโยชน์อื่นของนายจ้าง หรือลูกจ้าง อันเกี่ยวกับการจ้างหรือการทำงาน. |
สหภาพแรงงาน | น. องค์การของลูกจ้างที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการแสวงหาและคุ้มครองผลประโยชน์เกี่ยวกับสภาพการจ้างและส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง และระหว่างลูกจ้างด้วยกัน. |
สินจ้าง | ค่าตอบแทนที่นายจ้างหรือผู้ว่าจ้างจ่ายให้แก่ลูกจ้างหรือผู้รับจ้าง. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
respondeat superior (L.) | นายจ้างต้องรับผิดในการกระทำของลูกจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
agency shop agreement | ข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
common employment | ความไม่ต้องรับผิดของนายจ้าง (ต่อความบาดเจ็บของลูกจ้างที่เกิดจากการกระทำผิดของลูกจ้างด้วยกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collective agreement | ข้อตกลงร่วม (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collective bargaining | การร่วมเจรจาต่อรอง (ระหว่างนายจ้างกับสหภาพแรงงาน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
employers' liability | ความรับผิดของนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
employer | นายจ้าง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
employer | นายจ้าง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
employer | นายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
employer's association | สมาคมนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
employer's liability insurance | การประกันภัยความรับผิดของนายจ้าง [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
employers' duties | หน้าที่ของนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
harbouring an employee | การจ้างลูกจ้างทั้งที่รู้ว่าเป็นผู้ทำผิดสัญญากับนายจ้างเดิม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
union contract | สัญญาระหว่างสหภาพแรงงานกับนายจ้าง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Employer | นายจ้าง [เศรษฐศาสตร์] |
Employers organization | องค์การนายจ้าง [เศรษฐศาสตร์] |
Employer attitude surveys | การสำรวจทัศนคตินายจ้าง [TU Subject Heading] |
Employer-supported day care | สถานดูแลเด็กที่นายจ้างจัดบริการ [TU Subject Heading] |
Employers associations | สมาคมนายจ้าง [TU Subject Heading] |
Employers' liability | ความรับผิดของนายจ้าง [TU Subject Heading] |
Employer Status | สถานภาพนายจ้าง, Example: เป็นการจำแนกประชากรที่ทำงานตามสถานภาพ การทำงาน ซึ่งจะแบ่งออกเป็นนายจ้างและลูกจ้าง [สิ่งแวดล้อม] |
International Labor Organization | คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
นายจ้าง | [nāijāng] (n) EN: employer ; boss FR: employeur [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
payroll tax | (n) เงิน (ภาษี) ส่วนหนึ่งที่หักได้จากเงินเดือนหรือค่าจ้าง และอีกส่วนจากนายจ้าง รัฐบาลหรือส่วนการปกครองท้องถิ่นเก็บเงิน (ภาษี) ส่วนนี้เพื่อเป็นค่าสวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่างๆ เช่น ค่ารักษาพยาบาล (เมื่ออายุมาก) ค่าชดเชยหรือใช้จ่ายขณะว่างงาน เป็นต้น |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
boss | (n) นายจ้าง, See also: เจ้านาย, หัวหน้า, นาย, ผู้เป็นใหญ่, Syn. chief, employer |
character | (n) ใบรับรองงาน, See also: ใบรับรองงานจากนายจ้าง, Syn. character reference, reference |
employer | (n) นายจ้าง, See also: ผู้ว่าจ้าง, ผู้จ้าง, คนจ้าง, Syn. boss, owner, manager |
master | (n) เจ้านาย, See also: นายจ้าง, หัวหน้า, ผู้ควบคุม, ผู้ปกครอง, Syn. chief, leader, ruler, governor |
non-contributory | (adj) ซึ่งจ่ายให้นายจ้าง, Syn. contributory |
Hope Dictionary
boss | (บอส) { bossed, bossing, bosses } n., adj. นายจ้าง, นาย, ผู้บังคับบัญชา, ผู้นำ -v. เป็นนายเหนือ, ควบคุม, บังคับบัญชา, บงการ, Syn. superior |
entrepreneur | (อานทระพระเนอ') n. ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุน., See also: entrepreneurial adj. ดูentrepreneur entrepreneurship n. ดูentrepreneur, Syn. employer -pl. entrepreneurs |
fringe benefit | n. ผลประโยชน์นอกเหนือจากเงินค่าจ้างที่ลูกจ้างได้รับจากนายจ้าง |
master | (มาส'เทอะ, แมส'เทอะ) n. นาย, เจ้านาย, นายจ้าง, กัปตันเรือสินค้า, กัปตันเรือ, ผู้บังคับการ, หัวหน้าครอบครัว, เจ้าบ้าน, ผู้เชี่ยวชาญ, ผู้มีชัย, ผู้มีอำนาจ, คนเก่ง, ผู้ช่วยผู้พิพากษา, มหาบัณฑิต, ผู้สำเร็จปริญญาโท adj. เป็นนาย, เป็นหัวหน้า, เป็นผู้นำ, เกี่ยวกับการควบคุม, เกี่ยวกับการนำ, วางอำนาจ, ใหญ่ยิ่ง, เชี่ยวชาญ |
padrone | (พะโดรน') n. นาย, นายจ้าง, เจ้าของ, หัวหน้า, กัปตันเรือ, เจ้าของเรือ, เจ้าของโรงแรม, See also: padronism n. |
sleeping | (สลีพ'พิง) n. การนอน, การนอนหลับ adj. หลับ, นอนหลับ, เกี่ยวกับการนอนหลับใช้สำหรับนอนหลับ, ทำให้หลับ, ทำให้ง่วงหลับ, นอนอยู่ที่บ้านนายจ้าง |
sweater | (สเวท'เทอะ) n. ผู้ที่ทำงานหนัก, เสื้อกีฬาทำด้วยขนสัตว์, เครื่องทำให้เหงื่อออก, ยาขับเหงื่อ, นายจ้างที่ใช้คนงานให้ทำงานหนักมากแต่ให้ค่าจ้างต่ำ |
time clock | n. นาฬิกาบันทึกการมาและจากไปของคนงาน, -Phr. (punch a time clock ตอกเวลาการมาทำงานและเวลาเลิกงาน, ทำงานในแหล่งที่นายจ้างคอยจู้จี้เวลาการมาหรือกลับ) |
Nontri Dictionary
boss | (n) นายจ้าง, เจ้านาย, หัวหน้า, ลายสลักปุ่ม, โหนก |
employer | (n) นายจ้าง, เจ้านาย, ผู้ว่าจ้าง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
freelancer | [ฟรีแลนซ์ - เซอะ] (n) บุคคค ที่เสนอตนเองเพื่อรับทำงาน ตามคำสั่ง ของผู้ว่าจ้าง รับจ้าง ทำงาน อิสระ รับไปทำด้วยตัวคนเดียว หรืองานบางประเภท ที่นายจ้าง ต้องการ |
Longdo Approved DE-TH
Urlaubsgeld | (n) |das| เงินสำหรับพักร้อนที่ได้จากนายจ้างนอกเหนือจากเงินเดือน |
Unternehmer | (n) |der, pl. Unternehmer| นักลงทุนทางการเงิน, ผู้บริหารกิจการ, นายจ้าง, นักวิสาหกิจ, นายทุน, See also: Related: die Unternehmerin, unternehmen |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.3032 seconds, cache age: 2.759 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม