314 ผลลัพธ์ สำหรับ *ตัวเลข*
ภาษา
หรือค้นหา: ตัวเลข, -ตัวเลข-Longdo Unapproved TH - EN
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ระเบียบวิธีเชิงตัวเลข | (n) Numerical Method |
NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ตัวเลข | (n) number, See also: figure, digit, Syn. จำนวน, Example: ตัวเลขคนว่างงานมีจำนวนสูงมากขึ้น ประมาณว่าขณะนี้เลย 3 ล้านคนไปแล้ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น 12 53 VIII |
ตัวเลข | (n) number, See also: figure, digit, Syn. จำนวน, Example: ตัวเลขคนว่างงานมีจำนวนสูงมากขึ้น ประมาณว่าขณะนี้เลย 3 ล้านคนไปแล้ว, Count Unit: ตัว, Thai Definition: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น 12 53 VIII |
ค่าตัวเลข | (n) numeric value, Example: เราสามารถบรรจุค่าตัวเลขหรือสูตรต่างๆ ลงในแต่ละช่องของตารางได้เพื่อการเพื่อการใช้งานที่สะดวก |
เชิงตัวเลข | (adj) numerical, Syn. เชิงเลข |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ตัวเลข | น. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนจำนวนจริง เช่น ๑๒ 53 VIII. |
ค่า | จำนวนหรือตัวเลขที่ระบุปริมาณหรือขนาดของตัวแปร |
เครดิต | ตัวเลขแสดงสิทธิที่นิสิตนักศึกษาและนักเรียนจะพึงได้รับเมื่อได้ศึกษาตรงตามกำหนดเวลาและสอบผ่านวิชานั้น ๆ, หน่วยกิต ก็เรียก. |
เซต ๑ | ลักษณนามใช้เรียกคนหรือของที่เข้ากลุ่มหรือเข้าชุดกัน เช่น ตัวหนังสือเซตเดียวกัน ตัวเลข ๒ เซต, ลักษณนามเรียกการแข่งขันหรือการเล่นที่จบลงด้วยการแพ้ชนะกันครั้งหนึ่ง ๆ เช่น เขาเล่นเทนนิสชนะคู่แข่ง ๒ ต่อ ๑ เซต. |
ฐาน ๔ | น. เส้นหรือพื้นที่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนรองรับรูปเรขาคณิต เช่น ฐานของสามเหลี่ยม ฐานของกรวย, จำนวนที่ใช้เป็นหลักในการสร้างจำนวนอื่น ๆ โดยการยกกำลังหรือหาค่าของลอการิทึม เช่น จำนวน ๓ ใน ๓๔ (= ๘๑) จำนวน ๗ ใน log7 49 (= ๒), จำนวนที่บอกปริมาณในแต่ละหลักของตัวเลข เช่น เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๑๐ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๑๐ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๑๐) + (๖ x ๑๐๒) เมื่อ ๖๓๕ เป็นตัวเลขฐาน ๗ ใช้สัญลักษณ์ว่า ๖๓๕๗ ซึ่งแทน ๕ + (๓ x ๗) + (๖ x ๗๒). |
ดรรชนี ๒ | ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดรรชนีค่าครองชีพ |
ดัชนี ๒ | ตัวเลขอัตราส่วนซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงได้ในระยะเวลาหนึ่ง เช่น ดัชนีค่าครองชีพ |
ตัว ๒ | น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว. |
ต่ำสุด | ว. น้อยที่สุด เช่น ตัวเลขต่ำสุด คะแนนนิยมต่ำสุด. |
ตำแหน่ง | ลักษณนามเรียกจำนวนตัวเลขหลังจุดทศนิยม ยกเว้นเลขศูนย์ที่ไม่มีตัวเลขอื่นตามหลัง เช่น ๕.๐๔ เรียกว่า ทศนิยม ๒ ตำแหน่ง ๖.๑๐๘ เรียกว่า ทศนิยม ๓ ตำแหน่ง |
ติ้ว ๒ | น. ไม้ซี่แบน ๆ ชิ้นเล็ก ๆ มักทำด้วยไม้ไผ่ ยาวประมาณ ๑-๒ คืบ ใช้สำหรับเป็นคะแนน เช่น ปักติ้ว นับติ้ว ถ้าส่วนปลายมีเครื่องหมายหรือตัวเลขกำกับไว้ ใช้สำหรับเสี่ยงทาย เช่น สั่นติ้วเซียมซี หรือสำหรับใช้แทนสลาก เช่น เอาติ้วไปขึ้นของ. |
ทศนิยม | น. จำนวนจริงในรูปเลขฐานสิบ โดยกำหนดจุดจุดหนึ่งให้ตัวเลขที่อยู่ข้างหน้าจุดแสดงจำนวนเต็ม ตัวเลขที่อยู่ข้างหลังจุดแสดงจำนวนที่เป็นส่วนของสิบ ร้อย พัน ไปเรื่อย ๆ เช่น ๘๕๖.๑๒๘ ล้านบาท หมายความว่า แปดร้อยห้าสิบหกล้านหนึ่งแสนสองหมื่นแปดพันบาท. |
ฝนแสนห่า ๑ | น. วิธีเขียนหนังสืออย่างหนึ่งใช้ตัวเลขแทนตัวหนังสือ |
พรายน้ำ | น. แสงเรืองในที่มืด ปรากฏที่ตัวเลขหน้าปัดนาฬิกาหรือที่สวิตช์ไฟฟ้าบางชนิด เกิดขึ้นได้เพราะสิ่งเหล่านั้นฉาบหรือผสมด้วยสารเคมีที่มีสมบัติเปล่งแสงเรืองออกมาได้หลังจากที่ถูกแสงสว่างอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง สารเคมีประเภทนี้ เช่น แคลเซียมซัลไฟด์ (CaS) แบเรียมซัลไฟด์ (BaS) ที่มีโลหะบางชนิดเจือปน. |
ยันต์ | น. ตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระหรือรูปภาพที่เขียน สัก หรือแกะสลักลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น ถือว่าเป็นของขลัง เช่น ยันต์ตรีนิสิงเห ยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์, เรียกเสื้อหรือผ้าเป็นต้นที่มีลวดลายเช่นนั้น ว่า เสื้อยันต์ ผ้ายันต์, เรียกกิริยาที่ทำเช่นนั้น ว่า ลงเลข ลงยันต์. |
ลงเลขลงยันต์ | ก. เขียน สัก หรือแกะสลักตารางหรือลายเส้นเป็นตัวเลข อักขระ หรือรูปภาพลงบนแผ่นผ้า ผิวหนัง ไม้ โลหะ เป็นต้น พร้อมกับร่ายเวทมนตร์คาถากำกับ ถือว่าเป็นของขลัง. |
ล็อกเลข | ก. หยุดตัวเลขตามที่ต้องการ. |
เลขจำนวน | น. ตัวเลข. (ดู ตัวเลข ที่ ตัว ๒). |
เลขโดด | น. ตัวเลขหลักมูล. |
เลขยันต์ | น. ตัวเลขที่ประกอบในแผ่นยันต์. |
เลขหมาย | น. จำนวนตัวเลขที่กำหนดไว้. |
วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
วงเล็บปีกกา | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39. |
วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. |
ศูนย-, ศูนย์ | (สูนยะ-, สูน) ว. ว่างเปล่า. ก. หายสิ้นไป. น. ตัวเลข ๐ |
เศษสิบ | น. เศษส่วนที่มีเศษเป็นตัวเลข ๐ ถึง ๙ และมีส่วนเป็นหน่วย ๑๐ เช่น |
สดมภ์ | ช่องในแนวตั้งสำหรับกรอกรายการต่าง ๆ เช่น ตัวเลข สัญลักษณ์ สูตร. |
สถิติ | (สะ-) น. หลักฐานที่รวบรวมเอาไว้เป็นตัวเลขสำหรับเปรียบเทียบหรือใช้อ้างอิง เช่น สถิติในการส่งสินค้าออกปีนี้สูงกว่าปีที่แล้ว. |
สลากกินรวบ | น. การพนันเสี่ยงโชคอย่างหนึ่งที่ผิดกฎหมาย เจ้ามือรับแทงตัวเลขซึ่งใช้ตัวเลขท้ายของรางวัลที่หนึ่งหรือรางวัลเลขท้ายสองตัว สามตัว ของสลากกินแบ่งรัฐบาลเป็นตัวเลขถูกรางวัล ถ้าผู้เล่นแทงถูก เจ้ามือจ่ายเงินให้ตามอัตราที่กำหนดไว้ เช่น เขาถูกสลากกินรวบกินจนหมดตัว, ภาษาปากว่า กินรวบ หวยใต้ดิน หรือหวยเถื่อน |
สอบทาน | ก. ตรวจสอบหนังสือ ข้อความ หรือตัวเลข ให้ตรงกับต้นฉบับหรือถ้อยคำที่บอกเป็นต้น. |
สูงสุด | ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น. |
หน่วย | (หฺน่วย) น. ตัวเลขหลังสุดของเลขจำนวนเต็มที่เรียงกันเรียกว่า เลขหลักหน่วย เช่น ๑๔๓ เลข ๓ เป็นเลขหลักหน่วย |
หน่วยกิต | (-กิด) น. ตัวเลขแสดงสิทธิที่นิสิตนักศึกษาและนักเรียนจะพึงได้รับเมื่อได้ศึกษาตรงตามกำหนดเวลาและสอบผ่านวิชานั้น ๆ, เครดิต ก็เรียก. |
หน้าปัด | น. แผ่นที่มีตัวเลขหรือสัญลักษณ์แสดงเวลาหรือปริมาณเป็นต้น เช่น หน้าปัดนาฬิกา หน้าปัดวิทยุ หน้าปัดมาตรวัดนํ้า. |
หนึ่ง | น. ตัวเลขตัวแรกของจำนวนนับ |
หลัก ๒ | น. ตำแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจำนวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จำนวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จำนวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจำนวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗. |
หางเลข | น. เครื่องหมายย่อแทนตัวเลขสำหรับทำเลขอย่างเก่า |
ออกเบอร์ | น. วิธีการขายของด้วยการทำสลาก กำหนดตัวเลข มักใช้เลขท้าย ๒ ตัวของลอตเตอรี่รางวัลที่ ๑ เป็นเลขที่ได้รับของ. |
อักษรเลข | (อักสอระเลก, อักสอนเลก) น. วิธีเขียนหนังสือลับโบราณ ใช้ตัวเลขแทนสระ |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
significant digit; significant figure | ตัวเลขนัยสำคัญ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
significant digits; significant figure | ตัวเลขนัยสำคัญ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
significant figure; significant digit | ตัวเลขนัยสำคัญ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
arabic numeral | ตัวเลขอารบิก [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
binary numeral | ตัวเลขฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
comparative mortality figure | ตัวเลขแสดงภาวะการตายเปรียบเทียบ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computerized numerical control (CNC) | การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
CNC (computerized numerical control) | ซีเอ็นซี (การควบคุมเชิงตัวเลขด้วยคอมพิวเตอร์) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
digit preference | ตัวเลขบุริมนิยม [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
figure | รูป, ภาพ, ตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
figure | ๑. รูป๒. ตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
heaping | การพอก (ตัวเลขอายุ, ตัวเลขรายได้) [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
numeric code | รหัสตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numeric code | รหัสตัวเลข [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
numeric keypad | แผงแป้นตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numeric keypad | แผงแป้นตัวเลข [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
numeric overflow | การล้นของตัวเลข, เลขล้น [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
numerical control | การควบคุมเชิงตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numerical data | ข้อมูลตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
numerical data | ข้อมูลเชิงตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
numerical equation | สมการเชิงตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
non-numerical processing | การประมวลผลที่ไม่ใช้ตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Num Lock key | แป้นตรึงตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
Num Lock key | แป้นตรึงตัวเลข [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
numerical integration | การหาปริพันธ์เชิงตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
numerical method | วิธีเชิงตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
numerical processing | การประมวลผลที่ใช้ตัวเลข [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
numerical weighting system | ระบบกำหนดน้ำหนักภัยด้วยตัวเลข [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Numbered Rules | กฎตามตัวเลข [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
numeral | ตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numeral | ตัวเลข [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
numeral literacy | การรู้ตัวเลขขั้นพื้นฐาน [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
numeric | -ตัวเลข [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
nominal wages | ค่าจ้างตามตัวเลข, ค่าจ้างแต่ในนาม [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Numerical calculations | การคำนวณเชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
American Standard Code for Information Interchange | รหัสตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์ที่กำหนดมาตรฐานโดยสำนักงานมาตรฐานของสหรัฐเมริกาสำหรับใช้กับคอมพิวเตอร์ต่างๆ, Example: รหัสแอสกีพื้นฐานใช้เพียง 7 บิต 8 บิต เพื่อใช้แทนสัญลักษณ์ภาพกราฟิกต่างๆ ส่วนทางประเทศไทยก็ได้อาศัยส่วนขยายนี้กำหนดเป็นรหัสภาษาไทยไว้ใช้งานด้วย เรียกว่าเป็นรหัส สมอ. [คอมพิวเตอร์] |
Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Num Lock key | แป้นตรึงตัวเลข [คอมพิวเตอร์] |
Numeric keypad | กลุ่มแป้นตัวเลข [คอมพิวเตอร์] |
หน้าปัด | แผ่นที่มีตัวเลขหรือสัญลักษณ์แสดงเวลาหรือปริมาณ, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ หน้าปัทม์ [คำที่มักเขียนผิด] |
Digitizer | เครื่องอ่านพิกัดหรือเครื่องแปลงพิกัดเป็นตัวเลข, Example: มีลักษณะเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมใช้สำหรับวางภาพกราฟิก หรือแผนที่ แล้วใช้อุปกรณ์เหมือนแว่นขยายวางทาบตำแหน่งที่ต้องการ แล้วกดปุ่มบนแว่นให้อ่านค่าพิกัดของตำแหน่งนั้นเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ [สิ่งแวดล้อม] |
Defect correction methods (Numerical analysis) | วิธีการแก้ไขจำนวนพร่อง (การวิเคราะห์เชิงตัวเลข) [TU Subject Heading] |
Fortune-telling by numbers | การทำนายโชคชะตาจากตัวเลข [TU Subject Heading] |
Lotteries | การเสี่ยงโชคจากตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerals | ตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerical analysis | การวิเคราะห์เชิงตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerical calculations | การคำนวณเชิงตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerical control | การควบคุมเชิงตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerical solutions | ผลเฉลยเชิงตัวเลข [TU Subject Heading] |
Numerology | วิทยาตัวเลข [TU Subject Heading] |
Parameter of Population | ค่าตัวเลขทางประชากรที่แยกตามคุณลักษณะ, Example: ค่าตัวเลขของประชากรที่ศึกษาโดยการแยกประชากร ออกตามลักษณะต่างๆ [สิ่งแวดล้อม] |
Most Probable Number | ตัวเลขน่าจะเป็นที่สุด, Example: จำนวนจุลินทรีย์ต่อหน่วยปริมาตรวัดในเชิงสถิติ [สิ่งแวดล้อม] |
ส่วนปลอดภัย | ส่วนปลอดภัย , ตัวเลขที่ใช้หารหน่วยแรงประลัยลงให้ถึงขนาดที่ จะใช้ได้ปลอดภัย สำหรับวัสดุที่มีกำลังครากหรือหน่วยแรงพิสูจน์ให้ใช้ค่ากำลังครากหรือหน่วย แรงพิสูจน์นั้นแทนหน่วยแรงประลัย [สิ่งแวดล้อม] |
Amnesty International | องค์การนิรโทษกรรมสากล องค์การนี้เริ่มต้นจากเป็นขบวนการเล็ก ๆ ก่อน เพื่อทำหน้าที่ประท้วง (Protest) แต่ภายในเวลาไม่นานนัก ได้ขยายตัวออกเป็นองค์การ เพื่อให้สมกับเป้าหมายและภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพิ่มขึ้นมากมาย คติดั้งเดิมของการรณรงค์ระหว่างประเทศเพื่อสนับสนุนบรรดาบุคคลที่ต้องถูกคุม ขังอยู่ทั่วโลก ด้วยข้อหาเกี่ยวกับความเชื่อถือทางการเมืองและการศาสนานั้น ได้บังเกิดจากความคิดของบุคคลหนึ่งชื่อปีเตอร์ เบเนนสันปีเตอร์ เบเนนสัน ได้เขียนบทความลงในหนังสือพิมพ์ประจำวันอาทิตย์ของอังกฤษชื่อ Sunday Observer เมื่อเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1961 โดยให้หัวเรื่องบทความว่า ?นักโทษที่ถูกลืม? (The Forgotten Prisoners) บทความนี้ได้ประทับใจมติมหาชนทั่วโลกทันที และภายในปีเดียว องค์การได้รับเรื่องร้องเรียนในนามของนักโทษกว่า 200 รายองค์การนิรโทษกรรมสากลมีเป้าหมายนโยบายกว้างๆ อยู่ 3 ข้อ คือ ต้องการให้ปล่อยนักโทษผู้มีนโนธรรม (Prisoners of Conscience) ทั้งหมด ให้มีการยุติการทรมานนักโทษไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ รวมทั้งการลงโทษประหารชีวิตและให้มีการพิจารณาพิพากษาคดีนักโทษการเมืองทั้ง หมดอย่างเป็นธรรมและไม่รอช้า องค์การนี้นอกจากจะมีชื่อเสียงว่าเป็นผู้ดำรงความเป็นกลางไม่เข้ากับฝ่ายใด และเป็นที่น่าเชื่อถือไว้วางใจได้อย่างแท้จริงแล้ว ยังเป็นเสมือนศูนย์ข้อมูลและข้อสนเทศที่สำคัญ ซึ่งบรรดาบุคคลสำคัญๆ ทางการเมืองทั่วโลกได้ใช้อ้างอิงอีกด้วยในปัจจุบัน องค์การนิรโทษกรรมมีสมาชิกและผู้สนับสนุนเป็นจำนวนกว่า 1 ล้านคน จากประเทศต่างๆ กว่า 150 ประเทศ องค์การอยู่ภายใต้การบริหารของคณะกรรมการบริหารจำนวน 9 คน รวมทั้งตัวเลขาธิการอีกผู้หนึ่ง ทำหน้าที่ปฏิบัติให้เป็นไปตามข้อมติเกี่ยวกับนโยบาย และเป็นหัวหน้าของสำนักเลขาธิการขององค์การด้วย มีสำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ องค์การมีผู้แทนของตนประจำอยู่กับองค์การสหประชาชาติ เมื่อปี ค.ศ. 1978 ได้รับรางวัลเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ และในปี ค.ศ. 1977 ก็ได้รับรางวัลสันติภาพโนเบลมาแล้ว [การทูต] |
Inter-Governmental Maritime Consultative Organization | องค์การที่ปรึกษาทางทะเลระหว่างรัฐบาล หมายถึงองค์การที่ปรึกษาเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างรัฐบาล องค์การนี้มีฐานะเป็นองค์การชำนัญพิเศษแห่งหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ ประเทศทั้งหมดรวม 35 ประเทศ ได้ประชุมร่วมกันจัดทำอนุสัญญาขององค์การนี้ขึ้นเป็นครั้งแรก ในการประชุมขององค์การที่ปรึกษาการเดินเรือทางทะเล ณ กรุงเจนีวา เมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1948 อนุสัญญามีผลบังคับใช้เมื่อ วันที่ 17 มีนาคม ค.ศ. 1958 เมื่อมีประเทศต่าง ๆ รวม 21 ประเทศได้ให้สัตยาบัน ซึ่งในจำนวนนี้ 7 ประเทศเป็นอย่างน้อยจะต้องมีเรือเดินทะเลของตนไม่น้อยกว่า 1 ล้านตัน (Gross tons) วัตถุประสงค์ขององค์การ IMCO คือ1. จัดวางกลไกเพื่อความร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลประเทศสมาชิก ในด้านการวางระเบียบข้อบังคับของราชการ และการปฏิบัติซึ่งเกี่ยวข้องกับเรื่องทางวิชาการหรือเทคนิค รวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล2. สนับสนุนให้มีการยกเลิกการกระทำที่เลือกที่รักมักที่ชัง และข้อจำกัดต่าง ๆ ที่ไม่จำเป็นของรัฐบาล3. รับพิจารณาเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติในทำนองตั้งข้อจำกัดอย่างไม่ยุติธรรมของบริษัท หรือองค์การเดินเรือทั้งหลาย4. รับพิจารณาเรื่องใด ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเดินเรือ ที่องค์การหนึ่งใดหรือองค์การชำนัญพิเศษของสหประชาชาติส่งมาให้พิจารณา 5. จัดให้มีการแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อสนเทศใด ๆ ระหว่างรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องที่องค์การ IMCO กำลังพิจารณาอยู่องค์การนี้ยังจัดให้มีการร่างอนุสัญญาและความตกลงต่าง ๆ รวมทั้งส่งข้อเสนอแนะเหล่านี้ไปให้รัฐบาล และองค์การระหว่างรัฐบาลทั้งหลาย รวมทั้งจัดการประชุมเท่าที่พิจารณาเห็นว่าจำเป็นองค์การนี้ประชุมกันทุกสอง ปี มีหน้าที่วางนโยบายเกี่ยวกับการเดินเรือทางทะเล ระหว่างสมัยประชุมจะมีคณะเจ้าหน้าที่ขององค์การ เรียกว่า คณะมนตรี (Council) ทำหน้าที่บริหารงานในองค์การ คณะมนตรีประกอบด้วยสมาชิก 16 คน ในจำนวนนี้ 8 คน เป็นผู้แทนจากประเทศที่สนใจให้การบริการเกี่ยวกับการเดินเรือระหว่างประเทศ และอีก 8 คนเป็นตัวแทนจากประเทศที่สนใจการค้าทางทะเลระหว่างประเทศ องค์การมีสำนักเลขาธิการ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ เลขานุการคณะกรรมการเกี่ยวกับความปลอดภัยทางทะเล และเจ้าหน้าที่ประจำตามจำนวนที่องค์การต้องการแล้วแต่กรณี สำนักงานใหญ่ขององค์การตั้งอยู่ในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ [การทูต] |
Secretariat of the United Nations | คือสำนักเลขาธิการสหประชาชาติ ประกอบด้วยตัวเลขาธิการ ซึ่งได้รับการแต่งตั้งโดยสมัชชาตามข้อเสนอแนะของคณะมนตรีความมั่นคง พร้อมคณะเจ้าหน้าที่ตามที่องค์การต้องการหน้าที่สำคัญของเลขาธิการสหประชา ชาติ คือ ทำหน้าที่เป็นหัวหน้าฝ่ายบริหารขององค์การ นำเรื่องใดก็ตามเสนอต่อคณะมนตรีความมั่นคง ซี่งตามทรรศนะของเลขาธิการเห็นว่าเป็นภัยคุกคามสันติภาพและความมั่นคง ระหว่างประเทศ นอกจากนี้ ยังมีหน้าที่ทำรายงานประจำปี และรายงานเพิ่มเติมใด ๆ ที่จำเป็นเสนอต่อสมัชชาสหประชาชาติ เกี่ยวกับงานขององค์การ สหประชาชาติคณะเจ้าหน้าที่ที่ทำงานช่วยเหลือเลขาธิการนั้น ถือเป็นเจ้าหน้าที่ระหว่างประเทศ ประกอบด้วยชนชาติต่าง ๆ ในการเกณฑ์เจ้าหน้าที่เหล่านี้เข้าทำงานกับสหประชาชาติ จะคัดแต่ผู้ที่มีประสิทธิภาพ ความสามารถ และความซื่อสัตย์ในระดับสูงสุด และคำนึงถึงเขตภูมิศาสตร์ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการทำงานตามหน้าที่ ทั้งตัวเลขาธิการและคณะเจ้าหน้าที่ผู้ร่วมงาน จะต้องไม่แสวงหรือรับคำสั่งจากรัฐบาลใด ๆ หรือจากผู้มีอำนาจหน้าที่อื่นใดที่อยู่นอกเหนือองค์การสหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สมาชิกของสหประชาชาติได้ตกลงยอมรับนับถือความรับผิดชอบที่มีลักษณะระหว่าง ประเทศของสำนักเลขาธิการ และจักไม่แสวงใช้อิทธิพลใด ๆ ต่อสำนักเลขาธิการ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความรับผิดชอบเหล่านั้น [การทูต] |
Security Council of the United Nations | คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] |
ออกเทน | ค่าออกเทนเป็นตัวเลขที่บอกถึงคุณภาพการต้านทานการน็อค หรือความสามารถของน้ำมันเบนซินที่จะเผาไหม้โดยปราศจากการน็อคในเครื่องยนต์ ทดสอบได้หลายวิธี อาทิ <br>Research Octane Number (RON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-1 วัดที่รอบเครื่องยนต์ต่ำ 600 รอบต่อนาที และอุณหภูมิไอน้ำมันผสมต่ำประมาณ 125 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Motor Octane Number (MON) เป็นการวัดโดยใช้เครื่องยนต์มาตรฐาน CFR F-2 วัดที่รอบเครื่องยนต์รอบสูง 900 รอบต่อนาทีและอุณหภูมิไอน้ำมันผสม 300 องศาฟาเรนไฮต์ <br>Road Octane Number ทำการวัดโดยใช้รถยนต์จริงๆ วิ่งบนถนนซึ่งความเร็วและภาระเปลี่ยแนปลงไปต่างๆ กัน เพือ่ให้ได้ใกล้เคียงกับควาเมป็นจริงมากที่สุด วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมาก [ปิโตรเลี่ยม] |
Aperture, Numerical | บอกเป็นตัวเลข [การแพทย์] |
Array | การเรียงลำดับค่าตัวเลข [การแพทย์] |
Data, Continuous | ตัวเลขที่ต่อเนื่องกันข้อมูลมีลักษณะต่อเนื่องกัน [การแพทย์] |
Data, Counting | ข้อมูลชนิดนับ, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ [การแพทย์] |
Data, Numerical Continuous | ข้อมูลตัวเลขชนิดต่อเนื่อง, ตัวเลขที่ได้มาจากการวัด [การแพทย์] |
Data, Numerical Discrete | ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ, ข้อมูลตัวเลขชนิดนับ [การแพทย์] |
Digital | เครื่องบอกตัวเลข, การคลำตา, วิธีการทางดิจิตัล [การแพทย์] |
Digital Display | การแสดงค่าเป็นตัวเลข [การแพทย์] |
Digital System | ระบบตัวเลข [การแพทย์] |
Discrete | แยกได้ชัดเจน, กระจัดกระจาย, ไม่ต่อเนื่อง, ไม่เกาะติดกัน, ตัวเลขที่ได้มาจากการนับ [การแพทย์] |
Figures, Absolute | ตัวเลขจริง [การแพทย์] |
Figures, Relative | ตัวเลขสัมพัทธ์ [การแพทย์] |
statistical data | ข้อมูลสถิติ, ข้อเท็จจริงที่เป็นตัวเลขหรือไม่ใช่ตัวเลขเกี่ยวกับเรื่องหนึ่งเรื่องใดที่เราสนใจ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
body (of a table) | ตัวเรื่อง, ข้อความหรือตัวเลขที่แสดงไว้ในตารางสถิติ (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
numeral | ตัวเลข, สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนจำนวน เช่น 3, III เขียนแทนจำนวนสาม เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
base ten numeral | ตัวเลขฐานสิบ, สัญลักษณ์ที่ใช้เขียนแทนจำนวนด้วยระบบเลขฐานสิบ เช่น 2507 2 หมายถึง 2 x 103 หรือ 2, 000 5 " 5 x 102 หรือ 500 0 " 0 x 101 หรือ 0 7 " 7 x 100 หรือ 7 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
repeating decimal | ทศนิยมซ้ำ, ทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมซ้ำกัน เช่น 2.7262626... มีเลข 26 ซ้ำ, 2.333... มีเลข 3 ซ้ำ (ดู rational number ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
nonrepeating decimal | ทศนิยมไม่ซ้ำ, เลขทศนิยมที่มีตัวเลขหลังจุดทศนิยมไม่ซ้ำกัน เช่น 2.726772677726..., 3.141592653... (ดู repeating decimal ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
unit matrix [ identity matrix ] | เมทริกซ์เอกลักษณ์, เมทริกซ์จัตุรัสใด ๆ ที่มีสมาชิกในแนวเส้นทแยงมุมจากบนซ้ายถึงล่างขวาเป็นตัวเลข 1 โดยตลอด และสมาชิกในตำแหน่งอื่นเป็นศูนย์ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
number system | ระบบจำนวน, วิธีการเขียนตัวเลขเพื่อแทนจำนวน และการใช้โอเปอเรชันกับจำนวน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
binary numeral system (binary number system) | ระบบตัวเลขฐานสอง, ระบบที่แสดงตัวเลขแทนจำนวนโดยการเพิ่มทีละ 2 หรือทวีคูณของ 2 เช่น 1012 หมายถึง 1 x 22 + 0 x 21 + 1 x 20 หรือ 5 102 หมายถึง 1 x 21 + 0 x 20 หรือ 2 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
exponent | เลขชี้กำลัง, ตัวเลขที่เขียนไว้ด้านบนขวาของจำนวนใด ๆ และใช้แสดงกำลังของจำนวนนั้น เช่น จำนวน 53 มี 3 เป็นเลขชี้กำลัง และ 5 เป็นฐาน [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
decimal numeral | เลขทศนิยม, ตัวเลขเขียนแทนจำนวนโดยเขียนจำนวนเต็ม หรือศูนย์อยู่ทางด้านซ้ายของจุดทศนิยม(.) และเศษส่วนในระบบฐานสิบไว้ทางขวาจุดทศนิยม เช่น 27.425 [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
column | สดมภ์, แนวตั้ง, การจัดเรียงข้อมูลหรือตัวเลขตามแนวตั้ง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
table number | หมายเลขตาราง, ตัวเลขที่แสดงลำดับที่ของตารางสถิติ (ดู statistical table ประกอบ) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
footnote | หมายเหตุล่าง, คำอธิบายข้อความหรือตัวเลขในตารางสถิติให้ชัดเจนขึ้น (ดู statistical table) [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
อ่านตัวเลขบนมิเตอร์ไฟฟ้า | [ān tūalēk bon mitoē faifā] (xp) FR: relever le compteur (électrique) |
จดตัวเลขบนมิเตอร์ไฟฟ้า | [jot tūalēk bon mitoē faifā] (xp) FR: relever le compteur (électrique) |
ค่าตัวเลข | [khā tūalēk] (n, exp) EN: numeric value |
คีย์ตัวเลข | [khī tūa lek] (n, exp) EN: numeric keys FR: touche numérique [ f ] ; clavier numérique [ m ] |
หมุนตัวเลข | [mun tūalēk] (v, exp) FR: composer un numéro |
ระบบตัวเลข | [rabop tūalēk] (n, exp) FR: système de numération [ m ] |
ระบบตัวเลขฮินดูอารบิก | [rabop tūalēk Hindū-Ārabik] (n, exp) FR: système de numération -arabe [ m ] |
ระบบตัวเลขฐานสิบ | [rabop tūalēk thān sip] (n, exp) EN: decimal system FR: système de numération décimal [ m ] ; système décimal [ m ] |
ระบบตัวเลขฐานสิบหก | [rabop tūalēk thān sip-hok] (n, exp) EN: hexadecimal system FR: système de numération hexadécimal [ m ] ; système hexadécimal [ m ] |
ระบบตัวเลขฐานสอง | [rabop tūalēk thān søng] (n, exp) EN: modular two system FR: système de numération binaire [ m ] |
ตามตัวเลข | [tām tūalēk] (adj) EN: numbered ; nominal |
ตัวเลข | [tūalēk] (n) EN: number ; figure ; digit FR: chiffre [ m ] ; nombre [ m ] |
ตัวเลขอารบิก | [tūalēk Ārabik] (n, exp) FR: chiffre arabe [ m ] |
ตัวเลขฮินดูอารบิก | [tūalēk Hindū-Ārabik] (n, exp) EN: ndo-Arabic numerals FR: numération indo-arabe [ f ] |
ตัวเลขมหัศจรรย์ | [tūalēk mahatsajan] (n, exp) EN: amazing number FR: nombre magique [ m ] |
ตัวเลขนัยสำคัญ | [tūalēk nai samkhan] (n, exp) EN: significant figure |
ตัวเลขปัดเศษ | [tūalēk patsēt] (n, exp) EN: round number |
ตัวเลขโรมัน | [tūalēk Rōman] (n, exp) EN: rRoman number FR: chiffre romain [ m ] |
ตัวเลขไทย | [tūalēk Thai] (n, exp) EN: Thai number FR: chiffre thaï [ m ] |
ตัวเลขทองคำ | [tūalēk thøngkham] (n, exp) EN: Golden Number FR: nombre d'or [ m ] |
Longdo Approved EN-TH
sevenish | ราวๆหนึ่งทุ่ม เช่น I'll call for you at sevenish. ฉันจะแวะไปรับเธอช่วงหนึ่งทุ่ม (การเติม -ish ตามหลังตัวเลขบอกเวลา หมายความว่า โดยประมาณ, ราวๆเวลานั้น), Syn. about 7 o'clock |
article number | (n) รหัสสินค้าที่มักแสดงเป็นบาร์โค้ด ซึ่งสามารถถูกอ่านเป็นตัวเลขและข้อมูลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ |
umpteenth | (adj) จำนวนมาก (แต่ไม่ได้บอกตัวเลขเจาะจง)เช่น AsiaNews interviewed the wife of one of them: the story of the umpteenth victim of this unjust law features years of threats by Islamic fundamentalists.; I woke up around 4am for an umpteenth potty trip and then couldn't get back to sleep. So I ended up getting up around 5:30 and eating a piece of cake. |
RWY | (abbrev) อักษรย่อของ runway ทางวิ่งของเครื่องบิน โดยทั่วไปแล้วจะมีตัวเลข 2 หลักแสดงต่อทางด้านหลังเพื่อแสดงทิศที่มุ่งไป, See also: TWY |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
card | (n) บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน, See also: บัตรที่บรรจุข้อมูลทางตัวเลขหรือการเงิน เช่น บัตรเอทีเอ็ม บัตรเติมเงินสำหรับโทรศัพท์ บั |
combination lock | (n) กุญแจที่เปิดด้วยรหัสตัวเลข |
cast up | (phrv) คำนวณ, See also: รวมเป็น, รวมตัวเลข, Syn. wash up |
D | (n) พยัญชนะตัวภาษาอังกฤษที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
d | (n) พยัญชนะภาษาอังกฤษตัวที่ 4, See also: เลข 500 ตัวเลขโรมัน |
data | (n) ข้อมูล, See also: ตัวเลข, สถิติ, Syn. information, facts |
digit | (n) ตัวเลข (0 ถึง 9), See also: จำนวน 0 ถึง 9, Syn. numerical, figure |
digital | (adj) ซึ่งรับส่งข้อมูลด้วยการใช้ตัวเลข, Syn. computerized, numerical |
figure | (n) ตัวเลข, See also: จำนวนเลข, จำนวนเต็ม, Syn. amount, numeral, value |
mantissa | (n) ตัวเลขด้านขวาของจุดใน logarithm ฐานสิบ |
million | (adj) หนึ่งล้าน (หรือจำนวนหนึ่งล้านที่เป็นตัวเลข) |
notation | (n) เครื่องหมายที่ใช้แทนระบบตัวเลขหรือเสียง, See also: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในทางดนตรี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ |
number | (n) ตัวเลข, See also: เลขหมาย, หมายเลข, เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, Syn. figure, digit, numeral, integer |
number | (vt) ใส่ตัวเลข, See also: ใส่ลำดับเลข, Syn. list, itemize, index, numerate |
numeral | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข |
numeral | (n) ตัวเลข, See also: เลข, Syn. digit, cipher, number |
numeration | (n) การนับ, See also: ระบบการนับ, การนับตัวเลข |
numerative | (n) เกี่ยวกับการนับ, See also: เกี่ยวกับตัวเลข |
numerator | (n) จำนวนที่เป็นเศษในตัวเลขเศษส่วน |
numeric | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข, Syn. numerical |
numerical | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข, See also: เชิงตัวเลข, Syn. arithmetical, integral, numeric |
numerically | (adj) เป็นตัวเลข, See also: เชิงตัวเลข |
pointer | (n) เข็มชี้ตัวเลขในเครื่องชั่ง |
point off | (phrv) ใส่จุดก่อน (ตัวเลข / จำนวน) |
radical | (n) ราก (คำศัพท์, ตัวเลขทางคณิตศาสตร์) |
round | (vt) ทำให้เป็นตัวเลขหลักถ้วนๆ |
round | (vi) กลายเป็นตัวเลขหลักถ้วนๆ |
round down | (phrv) ปัดตัวเลขลง, See also: ปัดเศษลง, Syn. round off, round up |
round off | (phrv) ปัดตัวเลขให้เป็นจำนวนเต็ม, Syn. round down, round up |
run up | (phrv) รีบรวม (ตัวเลข), See also: รวมตัวเลขอย่างเร็ว |
seventies | (n) ตัวเลขหรือปีหรือองศาตั้งแต่ 70 -79 |
subscript | (n) ตัวอักษรหรือตัวเลขที่เขียนอยู่ต่ำกว่าตัวอื่น |
subset | (n) ตัวเลขที่อยู่ภายใต้ตัวเลขอื่น (คณิตศาสตร์), See also: ตัวเลขย่อย, Syn. subclass |
surd | (n) ตัวเลขที่มีรากไม่รู้จบ, See also: ตัวเลขที่หารากไม่ลงตัว, Syn. irrational root, irrational number |
surd | (adj) เกี่ยวกับรากไม่รู้จบ, See also: เกี่ยวกับตัวเลขที่หารากไม่ลงตัว, Syn. irrational, radical |
scale down | (phrv) ลดราคาหรือตัวเลขลง, Syn. scale up |
scale up | (phrv) เพิ่ม, See also: เพิ่มราคาหรือตัวเลข, Syn. scale down |
unemployment | (n) จำนวนผู้ว่างงาน, See also: ตัวเลขผู้ว่างงาน |
Hope Dictionary
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
alphabetic character | ตัวอักษรหมายถึงตัวอักขระที่เป็นตัวอักษร เช่น A-Z หรือ ก-ฮ (ไม่รวมตัวเลข หรือหรือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายพิเศษต่าง ๆ) มีความหมายเหมือน alphabet |
alphameric | อักขระที่เป็นตัวเลขอักษรเลขหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข |
alphanumeric characters | หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่พิมพ์จากแป้นพิมพ์ ทั้งตัวอักษร และตัวเลข |
analog | (แอน' นะลอก) n. = analogue อะนาล็อก เชิงอุปมานหมายถึง วิธีการเก็บข้อมูลที่ได้จากการวัดในลักษณะต่อเนื่อง เช่น วัดความเร็วของรถยนต์จากการหมุนของวงล้อ ตรงข้ามกับ ดิจิตอล (digital) ซึ่งหมายถึง การเก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลข นาฬิกามีใช้ทั้งสองแบบ ซึ่งจะบอกความแตกต่างระหว่างอะนาล็อกและดิจิตอลได้ชัดเจน กล่าวคือ แบบหนึ่งจะแสดงเวลาเป็นตัวเลข ส่วนอีกแบบหนึ่งใช้เข็มสั้นและเข็มยาวเป็นตัวบอกเวลา เรียกว่าแบบอะนาล็อก คอมพิวเตอร์นั้นมีสองชนิด คือชนิดอะนาล็อกและชนิดดิจิตอล แต่คอมพิวเตอร์ที่เรารู้จักกันนั้นจะเก็บเฉพาะข้อมูลที่เป็นดิจิตอล "เสียง" เป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นอะนาล็อก เมื่อจะนำเข้าไปเก็บในคอมพิวเตอร์ จะต้องถูกนำไปเปลี่ยนเป็นดิจิตอลก่อน โดยให้ผ่านอุปกรณ์ชนิดหนึ่งเรียกว่า "โมเด็ม" ดู digital เปรียบเทียบ |
analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ |
ansi character set | ชุดตัวอักขระของแอนซีหมายถึง การกำหนดตัวอักขระต่าง ๆ ที่คอมพิวเตอร์ใช้ ที่สถาบันแอนซี (ANSI) เป็นผู้กำหนดไว้ โดยปกติจะประกอบด้วยตัวอักษรธรรมดาซึ่งมีอยู่ 26 ตัว (A-Z) และตัวเลข 10 ตัว (0-9) และยังมีสัญลักษณ์พิเศษอื่น ๆ เช่น % |
antilogarithm | (แอนทีลอก' กะริธึม) n. ตัวเลขที่มีเลขที่กำหนดให้เป็น logarithm. -antilogarithmic adj. |
arithmancy | (อา'ริธแมนซี) n. การทำนายด้วยตัวเลข, Syn. arithmomancy |
binary code | รหัสฐานสองหมายถึง การใช้รหัสเลขฐานสองแทนตัวอักษร ตัวเลข และตัวอักขระ พิเศษต่าง ๆ โดยใช้เพียงเลข 0 และ 1 รหัสที่นิยมใช้กันอยู่มีหลายรหัสเช่น เอ็บซีดิก (EBCDIC) , แอสกี (ASCII) , บีซีดี (BCD) คอมพิวเตอร์ของแต่ละบริษัทจะเลือกใช้รหัสหนึ่งในการแทนข้อมูล |
binary number system | ระบบเลขฐานสอง <คำแปล>ระบบเลขฐานสอง หมายถึง ตัวเลขบอกจำนวนที่มีฐานเป็น"สอง" (ไม่ใช่ "สิบ" อย่างที่นิยมใช้ในปัจจุบัน) คือมีเลขเพียงสองตัว คือ 0 และ 1 คอมพิวเตอร์ได้นำระบบเลขฐานสองนี้มาใช้เป็นรหัส เพื่อสะดวกในการแสดงสภาวะ 2 ประการคือ (สวิตซ์) เปิด และ ปิด |
bit | (บิท) 1. n. ดอกสว่าน, สิ่งค้ำ, ของเล็ก ๆ น้อย ๆ , ครู่เดียว, การกระทำ, บทบาทเล็กน้อย, เหรียญเล็ก ๆ , หน่วย, กริยาช่อง 2 และ 3 ของ bite, บิต, 2. ในระบบเลขฐาน 2 หมายถึงตัวเลข 0 และ 1, หน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด โดยที่หนึ่งบิตจะต้องเพียงพอต่อการบอกความแตกต่างระหว่างข้อมูลประเภท "ใช้" ในปัจจุบันมักใช้บิตเป็นหน่วยวัดตัวประมวลผล (microprocessor) ของไมโครคอมพิวเตอร์ ว่าเป็นขนาด 8 บิต 16 บิต หรือ 32 บิต ถ้าจัดบิตเป็นชุดที่เรียกว่าไบต์ (byte) ซึ่งปกติจะมี 8 บิต จะใช้เป็นรหัสเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นตัวเลข ตัวอักษร ฯ ดู byte ประกอบ |
bullet | (บูล'ลิท) { bulletted, bulletting, bullets } n. กระสุนปืน, กระสุน, หัวกระสุน, ลูกตะกั่ว, ลูกกลม เล็ก. vi. เคลื่อนที่อย่างรวดเร็วมาก, Syn. shot เครื่องหมายนำสายตา จุดนำหมายถึงสัญลักษณ์รูปต่าง ๆ ที่นำมาวางหน้าข้อความ หรือหัวข้อเพื่อเน้นให้ดูเด่นหรือเห็นชัดขึ้นเช่น* ตัวอักษร* ตัวเลข* เครื่องหมายต่าง ๆ |
c | (ซี) n. พยัญชนะอังกฤษตัวที่3, ตัวเลข100ของโรมัน, สัญลักษณ์ทางเคมีของธาตุคาร์บอน ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูง (high level language) ภาษาหนึ่ง ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม ภาษานี้เริ่มต้นมาจากห้องปฏิบัติการของบริษัท Bell ในช่วงทศวรรษ 1970 ภาษาซีนี้ เป็นภาษาที่ใช้ทั่วไปเทียบเคียงได้กับภาษาเบสิก (BASIC) หรือภาษาปาสกาล (Pascal) ความที่ภาษาซีเป็นภาษาที่ใช้ง่ายและสะดวก โปรแกรมสำเร็จรูปที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างดี เช่น Lotus 1-2-3 และ Microsoft FoxPro ก็เขียนด้วยภาษาซี ภาษาซีได้เปรียบภาษาอื่น ๆ อย่างน้อย 3 ประการด้วยกัน คือ 1. ภาษาซีง่ายในการเขียน และเรียนรู้ได้ง่ายเกือบจะเท่ากับภาษาเบสิก2. โปรแกรมภาษาซีใช้เวลาของเครื่อง (คอมพิวเตอร์) น้อยมาก พอ ๆ กับภาษาแอสเซมบลี (Assembly) แต่เขียนได้ง่ายกว่ากันมาก3. ภาษาซีใช้ได้กับคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องทุกยี่ห้อ ไม่ว่าจะเป็นแมคอินทอชหรือไอบีเอ็ม (แทบจะไม่ต้องแก้ไขดัดแปลงอะไรเลย ผิดกับภาษาเบสิกและภาษาปาสกาล ซึ่งหากนำไปใช้กับเครื่องต่างตระกูลกันแล้ว จะต้องแก้ไขมากจนเรียกได้ว่าไม่คุ้ม |
card punch | อุปกรณ์เจาะบัตรหมายถึง อุปกรณ์แสดงผล (output device) ของเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่ทำหน้าที่เป็นเครื่องเจาะบัตร หรือ เครื่องที่ใช้บันทึกข้อความลงบนบัตรด้วยการเจาะรู ซึ่งเป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษอื่น ๆ ต่างกับเครื่องเจาะบัตรที่เรียกว่า keypunch กล่าวคือ keypunch เป็นเครื่องเจาะบัตรที่ไม่อยู่ภายใต้การควบคุมของเครื่องคอมพิวเตอร์ (คนเป็นผู้เจาะ) แต่ card punch เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ทำงานภายใต้การควบคุมของหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ดู keypunch เปรียบเทียบ |
cardamom | n. กระวานคอลัมน์ (ของบัตร) สดมภ์ (ของบัตร) หมายถึง คอลัมน์หรือตำแหน่งเจาะตามแนวตั้งของบัตร บัตรทั่วไปจะมี 80 คอลัมน์ ในการเจาะแต่ละคอลัมน์นั้น ถ้าเจาะรูเดียว จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวเลข ถ้าเจาะ 2 รูในหนึ่งคอลัมน์จะเป็นรหัสบอกว่าเป็นตัวอักษร ถ้าเจาะ 1-3 รู อาจเป็นเครื่องหมายบางตัว เช่น + (บวก) - (ลบ) ฯลฯดู Hollerith code ประกอบ |
cardinal number | n. ตัวเลขแสดงจำนวนเช่น1, 2, 3, Syn. cardinal numeral -Conf. ordinal number |
carry | (แค'รี) { carries, carrying, carries } vt. ขนส่ง, แบก, ลำเลียง, หอบ, หาบ, อุ้ม, ยก, ถือติดตัว, นำติดตัว, นำไปสู่, สะพาย, บรรทุก, ส่ง, แพร่กระจาย, ออกข่าว, ประกอบด้วย, สนับสนุน, ค้ำจุน, ผลักดัน, ยืดได้, รับภาระ, วางตัว, ปฏิบัติ, ยกยอด, โอน, มีไว้ในร้าน. vi. ถือติดตัว, มีกำลังดัน, ดัน, ถู เลขทดตัวทดหมายถึง ค่าที่เกิดจากการบวกตัวเลขตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไปในหลักเดียวกัน แล้วได้ผลมากกว่าหรือเท่ากับเลขฐาน ซึ่งจะนำไปบวกกับเลขในหลักถัดไป |
character set | ชุดอักขระหมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่จัดรวบรวมไว้อย่างเป็นระบบ มีตัวอักษร ตัวเลข และอักขระพิเศษต่าง ๆ เช่น เครื่องหมาย สระ วรรณยุกต์ |
cipher | (ไซ'เฟอะ) { ciphered, ciphering, ciphers } n. เลขศูนย์, คนที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่มีค่า, รหัสลับ, เครื่องหมายลับ, สัญลักษณ์ลับ, อักษรไขว้, ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข, เขียนเป็นระหัส, คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย: |
combination | (คอมบะเน'เชิน) n. การรวมกัน, จำนวนสิ่งของที่รวมกัน, พันธมิตร, รหัสตัวเลขหรืออักษรของกุญแจที่ไขด้วยการหมุนตัวเลข หรือหมุนอักษรดังกล่าว, การจัดเป็นกลุ่ม -Phr. (in combination with ร่วมกับ), Syn. combining, joining, blend |
computer code | รหัสคอมพิวเตอร์รหัสเครื่องหมายถึง รูปแบบพื้นฐานของบิตที่เครื่องคอมพิวเตอร์ได้รับการออกแบบให้รู้จักว่า เป็นคำสั่งและข้อมูล เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) หมายถึง ตัวแทนอักขระ ตัวเลข หรือคำสั่งที่ใช้ในเครื่องมีความหมายเหมือน machine code |
computer crime | อาชญากรรมคอมพิวเตอร์หมายถึง อาชญากรรมหรือความผิดที่เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์ช่วย เช่น การแก้ไขตัวเลขในบัญชีเงินฝากของลูกค้า จนทำให้สามารถขโมย หรือยักย้ายถ่ายเทเงินออกไปได้ หรือการแอบเข้าไปดูและแก้ไขคะแนนสอบ เป็นต้น |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
concrete number | ตัวเลขที่เกี่ยวกับวัตถุหรือสิ่งของเฉพาะอย่าง |
data card | บัตรข้อมูลหมายถึงบัตรคอมพิวเตอร์ที่ใช้ เจาะเป็นรหัสแสดงถึงตัวอักขระต่าง ๆ อาจเป็นตัวเลข ตัวอักษร หรืออักขระพิเศษ เพื่อให้คอมพิวเตอร์อ่านเข้าไปเก็บในหน่วยความจำ บัตรข้อมูลนั้น เราสามารถใช้ได้ทั้ง 80 คอลัมน์ของบัตร (แต่บัตรที่เป็นบัตรชุดคำสั่ง ที่เรียกว่า program card นั้น ใช้ได้เฉพาะคอลัมน์ 7 ถึง 70) เมื่อส่งเข้าประมวลผลในคอมพิวเตอร์ บัตรข้อมูลจะต้องส่งตามหลังบัตรชุดคำสั่งเสมอดู card code ประกอบ |
data type | ลักษณะข้อมูลหมายถึง การกำหนดข้อมูลที่จะใช้ให้มีลักษณะเป็นตัวเลข ตัวอักษร เลขจำนวนเต็ม หรือเลขทศนิยม เพื่อความสะดวกในการประมวลผล |
datum | (เด'ทัม, ดา'ทัม) n. ข้อมูลตัวเลข, ข้อเท็จจริงในการอ้างอิง, ฐาน, Syn. fact -pl. data |
dde | (ดีดีอี) ย่อมาจาก dynamic data exchange คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
decimal number | เลขฐานสิบหมายถึง ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 ในระบบเลขฐาน 10 ที่ใช้กันอยู่ |
digit | (ดิจ'จิท) n. นิ้วมือ, นิ้วเท้า, ตัวเลขโดดตัวใดตัวหนึ่งตั้งแต่1ถึง9, หลักหน่วยสิบร้อยพัน, See also: digital adj. ดูdigit |
digit bit | บิตเลขเป็นกลุ่มของบิต ที่ทำให้รหัสของการแทนตัวเลข ตัวอักษร และตัวอักขระพิเศษต่าง ๆ ในภาษาคอมพิวเตอร์ สามารถแทนค่าต่าง ๆ ได้มากขึ้น เช่น รหัสเอ็บซีดิก (EBCDIC) ประกอบด้วย 8 บิต สี่บิตแรกเรียกบิตโซน (zone bit) สี่บิตหลังเรียกบิตเลข (digit bit) รหัสแอสกี (ASCII) ประกอบด้วย 7 บิต สามบิตแรกเรียกบิตโซน สี่บิตหลังเรียกบิตเลขมีความหมายเหมือน numeric bit |
digit punch | การเจาะตัวเลขหมายถึง การเจาะตัวเลขลงในบัตรคอมพิวเตอร์ โดยเจาะรูในช่องของแถวใดแถวหนึ่ง ตั้งแต่แถวที่ 0-9 โดยเจาะ 1 รูต่อ 1 คอลัมน์ เช่นถ้าจะเจาะเลข 7 ก็เจาะที่แถวที่มีเลข 7 ส่วนการเจาะตัวอักษรหรืออักขระพิเศษต่าง ๆ จะต้องเจาะ 2-3 รูในหนึ่งคอลัมน์ รูหนึ่งที่แถวบนเหนือแถวตัวเลข (zone punch) และอีกรูหนึ่งหรือสองรูที่แถวที่มีตัวเลข (digit punch) เรียกว่า รหัสฮอลเลอริทมีความหมายเหมือน numeric punchดู zone punch เปรียบเทียบ |
digital | (ดิ' จิทัล) adj. เชิงเลข, แสดงในรูปแบบของตัวเลข |
digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ |
digitizer | เครื่องอ่านพิกัดหมายถึง อุปกรณ์ที่แปลงข้อมูลชนิดอะนาล็อก (analog) เป็นข้อมูลชนิดดิจิตอล (digital) หรือข้อมูลเชิงตัวเลข เพื่อให้คอมพิวเตอร์รับไปประมวลผลได้ |
dingbats | (ดิงแบตส์) เป็นชื่อแบบอักษร (font) ที่มีลักษณะเป็นภาพแทนที่จะเป็นตัวอักษรหรือตัวเลข แบบตัวอักษรที่มีลักษณะเป็นภาพนี้มีหลายชื่อ นอกจาก Zapf Dingbats ในแมคอินทอชแล้ว ในพีซีก็มี Wingdings (ภาพเหล่านี้จะขยาย/ลดขนาดได้เหมือนตัวอักษร) |
dry running | การตรวจสอบ (โปรแกรม) นอกเครื่องหมายถึง การตรวจสอบดูชุดคำสั่งในเชิงตรรกะ และการใช้รหัสคำสั่งจากผังงาน (flowchart) และคำสั่งข้อเขียน เพื่อดูว่า ชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นถูกต้องหรือไม่ก่อนที่จะนำไปใช้กับคอมพิวเตอร์ อาจใช้ตัวเลขสมมติใส่เข้าไปก็ได้ ในบางครั้ง ใช้คำว่า การไล่สอบบนโต๊ะทำงาน (desk check) |
dynamic data exchange | การสับเปลี่ยนข้อมูลแบบพลวัตใช้ตัวย่อว่า DDE (อ่านว่า ดีดีอี) คำนี้ใช้ในระบบไมโครซอฟต์วินโดว์และโอเอส/ทู หมายถึงการทำให้สองโปรแกรมบนวินโดว์ สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ เป็นต้นว่า การนำตัวเลขที่อยู่ในโปรแกรมตารางจัดการ (spreadsheet) มาใช้ในโปรแกรมประมวลผลคำ (word processing) ได้ โดยไม่ต้องเสียเวลาพิมพ์ตัวเลขเหล่านั้นใหม่ นอกจากนั้น หากมีการแก้ไขตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำ ก็จะได้รับการแก้ไขไปด้วยโดยอัตโนมัติ |
eighty column card | บัตร 80 คอลัมน์บัตรทำด้วยกระดาษ มีไว้ใช้สำหรับบรรจุข้อมูล โดยปกติจะต้องมีรูปร่างและขนาดตามมาตรฐานที่กำหนด (71/8 นิ้ว +31/4 นิ้ว) จะต้องทำด้วยกระดาษชนิดพิเศษที่มีความต้านทานความชื้นสูง และมีความต้านทานสูงต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในอากาศ ในการบรรจุข้อมูลนั้น ใช้วิธีเจาะรูตามคอลัมน์ของบัตรซึ่งจะมี 80 คอลัมน์ (จึงเรียกกันว่า บัตร 80 คอลัมน์) แต่ละคอลัมน์มี 12 แถว ในการเจาะนั้นรูหนึ่งรูในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวเลข (0-9) และรูสองรูหรือมากกว่าในแต่ละคอลัมน์เป็นรหัสใช้แทนตัวอักษร (A-Z) หรือ อักขรพิเศษอื่น ๆ เมื่อใส่บัตรเข้าเครื่อง รูเหล่านี้จะถูกแปรงไฟฟ้าปัดผ่าน ทำให้เครื่อง สามารถอ่านข้อมูลเข้าไปได้ บัตรคอมพิวเตอร์ที่นิยมใช้กันมากคือ บัตรที่ ดร. เฮอร์แมน ฮอลเลอริท (Hermann Hollerith) แห่งบริษัทไอบีเอ็ม (IBM) เป็นผู้คิดขึ้น บางทีจึงนิยมเรียกกันว่า บัตรไอบีเอ็ม (IBM card) หรือ บัตรฮอลเลอริท (Hollerith card) ดู card ประกอบ |
encode | เข้ารหัสหมายถึง การแปลงข้อมูลเป็นรหัส เช่น ตัวเลข 2 จะเข้ารหัสบีซีดี (BCD) เป็นเลขฐานสอง 0010 เป็นต้น |
extended keyboard | หมายถึง แผงแป้นอักขระที่มีแป้นต่าง ๆ เพิ่มมากกว่าแป้นพิมพ์ปกติ นอกจากจะมีแป้นตัวเลขและแป้นตัวอักษรแยกออกจากกันแล้ว ยังมีแป้นฟังก์ชันอีกประมาณ 10 -15 แป้น โดยปกติแป้นพิมพ์ชนิดนี้จะมี 101 แป้น จึงมักจะมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า 101 key keyboard มีความหมายเหมือน expanded keyboard |
figure | (ฟิก'เกอะ) { figured, figuring, figures } n. รูปร่าง, รูปภายนอก, รูปหล่อ, รูปสลัก, ร่าง, ทรวดทรง, ภาพวาด, ตัวเลข, จำนวน, จำนวนเงิน, ราคา, เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, รูปแบบ, แบบแผน, อุปมาอุปไมย, แบบระบำ, แบบสำนวน vt. คำนวณ, แสดงออกเป็นรูป, สรุป, วาดภาพ, จินตนาการ, ประเมิน, คิด, คาดคะเน. |
file handle | รหัสเข้าสู่แฟ้มหมายถึง รหัสลับที่ใช้เป็นทางเข้าสู่แฟ้มข้อมูลในระบบดอส โดยปกติ เรา เพียงบอกแต่ชื่อแฟ้มข้อมูลที่ต้องการเปิด คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการให้ แต่ถ้าเป็นเรื่องลับ เราอาจสั่งให้ คอมพิวเตอร์นำชื่อไปแปลงเป็นตัวเลขก่อน ตัวเลขเหล่านี้ เรียกว่า " file handle" การเข้าสู่แฟ้มข้อมูล ต้องใช้รหัส เหล่านั้นเท่านั้น |
file name | ชื่อแฟ้ม (ข้อมูล) แฟ้มข้อมูลก็ดี โปรแกรมหรือชุดคำสั่งก็ดี จะต้องมีชื่อที่ ไม่ซ้ำกัน เพื่อให้ผู้ใช้ติดต่อสั่งงานกับคอมพิวเตอร์ได้เมื่อ ต้องการ เรียกใช้ระบบปฏิบัติการแต่ละระบบ จะมีข้อกำหนด กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เกี่ยวกับการตั้งชื่อแฟ้มข้อมูลไว้ เป็นต้นว่า ระบบดอสและวินโดว์ มีข้อกำหนดว่า ชื่อของแฟ้ม ข้อมูล จะต้องยาวไม่เกิน 8 ตัวอักขระ (ตัวอักษรหรือตัวเลข) ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร ต้องไม่มีช่องว่าง ฯ และที่สำคัญที่สุด คือตั้งชื่อเป็นภาษาไทยไม่ได้โดยเด็ดขาด นอกจากนั้น อาจจะต้องมีนามสกุล (filetype) ซึ่งต้องประกอบด้วย 3 ตัวอักษร ส่วนระบบของแมคอินทอช มีข้อจำกัดน้อยกว่านั้น มาก เช่น จะใช้ภาษาไทยก็ได้ |
font | (ฟอนทฺ) n. แท่นใส่น้ำมนต์, อ่างน้ำมนต์, โอ่งน้ำมนต์, ที่ใส่น้ำมันของตะเกียง, ชุดตัวพิมพ์ที่สมบูรณ์, รูปแบบอักขระ, แบบ ขนาด และรูปร่างของตัวอักขระ โดยทั่วไปจะหมายถึงตัวอักษรและตัวเลขเท่านั้น, ลักษณะหรือรูปแบบของตัวอักขระที่เขียนหรือประดิษฐ์ขึ้น เช่น ตัวอักขระ |
graphic display | การแสดงผลกราฟิกการแสดงผลของคอมพิวเตอร์ ที่สามารถแสดงผลออกมาเป็นภาพได้ โดยใช้จุดมาเรียงกันเป็นเส้นตรง, เส้นโค้ง หรือแท่ง ฯ การป้อนข้อมูลอาจทำเป็นตัวเลขหรือตัวหนังสือก็ได้ และเราสามารถใช้คำสั่งบังคับให้แสดงภาพด้านตรง หมุน หรือเอียง รวมทั้งอาจมีปากกาไว้ให้เขียนบนจอภาพด้วยก็ได้ |
hacker | (แฮค' เคอร์) n. ผู้ที่ทำงานอย่างหามรุ่งหามค่ำ, ผู้ที่สนใจเรียนรู้คอมพิวเตอร์อย่างจริงจังจนเกินไป, คำนี้เป็นชื่อที่ใช้เรียกพวกที่มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ไปในทางที่ผิดกฎหมาย เช่น แอบขโมยข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย หรือแอบแก้ตัวเลขในธนาคารเพื่อถอนเงินออกมาใช้เอง คำว่า hack อาจหมายถึงการแอบปรับแก้หรือดัดแปลงโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยไม่ถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่ก็แก้แล้วยิ่งกลับทำให้แย่ลง |
hot link | การโยงข้อมูลแบบร้อนหมายถึง การที่โปรแกรมสองโปรแกรมใช้ข้อมูลร่วมกัน และเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลในโปรแกรมหนึ่ง คอมพิวเตอร์ก็จะจัดการเปลี่ยนข้อมูลในอีกโปรแกรมหนึ่ง ให้ด้วยโดยอัตโนมัติ ตัวอย่างเช่น การโอนข้อมูลจากโปรแกรมตารางจัดการเข้าไปในโปรแกรมประมวลผลคำ เมื่อใดที่มีการแก้ตัวเลขในตารางจัดการ ตัวเลขในโปรแกรมประมวลผลคำก็จะเปลี่ยนไปด้วย |
i beam pointer | ตัวชี้ไอบีมเป็นตัวชี้ตำแหน่งในลักษณะหนึ่งมีรูปร่างเหมือนตัว I จะปรากฏขึ้นเมื่อจะพิมพ์ตัวอักขระ หรือตัวเลข ตัวชี้ตำแหน่งนั้นจะเปลี่ยนรูปลักษณะไปตามความหมายเฉพาะของคำสั่งหลัก ๆ เช่น อาจเป็นลูกศร เป็นกากบาท |
Nontri Dictionary
coefficient | (n) ค่าคงที่, ตัวเลข, ตัวคูณ, อัตรา |
data | (n) ข้อมูล, ตัวเลข, สถิติ, สิ่งที่รู้ |
datum | (n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข, สิ่งที่รู้ |
digital | (adj) เกี่ยวกับนิ้ว, เกี่ยวกับตัวเลข |
figure | (n) ตัวเลข, สถิติ, ภาพ, วิธีพูด, เครื่องหมาย, จำนวน, รูปร่าง, รูปสลัก, รูปหล่อ |
number | (n) จำนวน, ตัวเลข, สัญลักษณ์, เครื่องหมาย, เลขที่, เลขประจำตัว |
numeral | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข |
numeral | (n) จำนวนนับ, ตัวเลข |
numerical | (adj) เป็นตัวเลข, เกี่ยวกับตัวเลข |
statistical | (adj) เกี่ยวกับตัวเลข, เกี่ยวกับสถิติ, ที่อาศัยข้อมูล |
statistics | (n) ข้อมูล, สถิติ, ตัวเลข |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
calzera | [คัล-ซี-ร่า] (name, uniq) ชื่อนามแฝงของ เด็กไทย ที่ในยุคปัจจุบัน การใช้นามแฝงในลักษณะ คำที่สั้นๆไม่จำเป็นต้องมีความหมาย แต่พิมพ์ง่ายจำง่ายและดูดี เพราะในการสมัครไม่ต้องพิมพ์ _(underscore)หรือใช้ตัวเลขแปลกๆมาต่อท้ายเพื่อให้ unique ถิ่นฐาน:codename นี้มีถิ่นฐานอยู่ใน cp32 บริเวณที่พบบ่อย: เว็ปบอร์ดการ์ตูน และในเกมออนไลน์ รวมถึงบอร์ดรุ่น cp32 |
COVID | เชื้อไวรัสโคโรนา (Corona virus) โดย CO ย่อมากจาก Corona (ชื่อของเชื้อไวรัส), VI ย่อมาจาก Virus, และ D ย่อมาจาก disease แปลว่า โรคหรือเชื้อโรค ในปี พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019) มีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ เป็นที่เรียกกันในช่วงแรกว่า 2019 novel coronavirus (แปลว่า เชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019) หรือ 2019-nCoV ต่อมาเป็นที่นิยมเรียกในชื่อ COVID-19 โดยตัวเลข 19 มาจากปี ค.ศ. 2019 ที่ไวรัสเริ่มมีการระบาดนั่นเอง |
infographic | [อินโฟ กราฟฟิค] (n, computer) ย่อมาจาก Information Graphic - ภาพ/กราฟิก ที่บ่งชี้ข้อมูล ประเภทสถิติ ความรู้ ตัวเลข ฯลฯ มาย่นย่อข้อมูลในแผ่นกระดาษ หรือการนำเสนอ เพื่อให้มองดู/ประมวลผลได้ง่ายเพียงแค่กวาดตามอง เหมาะสำหรับผู้คนในยุคไอที ที่มีข้อมูลซับซ้อนมหาศาล สามารถเข้าใจรับรู้ในเวลาอันจำกัด (ภาพหนึ่งภาพแทนพันอักษร) และในปัจุบันเป็นที่นิยมในโลกของ Social Network |
QoQ | (abbrev) ย่อมาจาก Quarter on Quarter เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสของไตรมาสล่าสุดกับไตรมาสก่อนหน้า |
quantification | การทำให้เป็นตัวเลข |
YoY | (abbrev) ย่อมาจาก Year on Year เป็นการเปรียบเทียบตัวเลขรายไตรมาสในช่วงเวลาเดียวกันแต่คนละปี |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
統計 | [とうけい, toukei] (n) สถิติ, ข้อมูล, ข้อเท็จจริงเป็นตัวเลข, S. numerical fact, datum |
際 | [さい, sai, sai , sai] (n) อายุ (เขียนต่อท้ายตัวเลข เพื่อแสดงอายุ) |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
数 | [すう, suu] TH: ตัวเลข EN: figure |
Longdo Approved DE-TH
Zahl | (n) |die, pl. Zahlen|จำนวน, ตัวเลข |
Zahl | (n) |die, pl. Zahlen| ตัวเลข, See also: Ziffer |
Computertomografie | (n) |die, pl. Computertomografien| วิธีการสร้างภาพตัดขวางจากรังสีเอกซ์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ทำให้ได้ภาพตัดขวางของส่วนของร่างกายออกมาเป็นดิจิตัลหรือตัวเลข |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0421 seconds, cache age: 2.464 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม