222 ผลลัพธ์ สำหรับ *ญาติ*
ภาษา
หรือค้นหา: ญาติ, -ญาติ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ญาติ | (n) relatives, See also: relations, folks, kinfolk, cousin, kinsman, Syn. พี่น้อง, พงศ์พันธุ์, วงศาคณาญาติ, วงศ์ญาติ, วงศ์วาน, เหล่ากอ, ตระกูล, เครือญาติ, Example: คนที่ไปรับญาติกลับจากสงคราม มีความสุขที่ได้เห็นญาติกลับบ้าน, Count Unit: คน, Thai Definition: คนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่, Notes: (บาลี) |
ญาติดี | (v) reconciled after estrangement, See also: be an friendly terms, Syn. เป็นมิตร, คืนดี, Ant. โกรธ, Example: ผมไม่อยากญาติดีกับเขา, Thai Definition: เป็นมิตรกันดังเดิม |
ญาติโยม | (n) folks, Example: หลวงพ่อบอกให้ญาติโยมที่มีฐานะปานกลาง ให้ทำบุญน้อยๆ อย่าเกรงใจพระ, Count Unit: คน, Thai Definition: คำที่พระเรียกอุบาสก อุบาสิกา ผู้มาร่วมทำบุญ |
ญาติมิตร | (n) kindred, See also: kin, kinfolk, relatives and friends, Example: แม่เตรียมข้าวปลาอาหารไว้เลี้ยงดูญาติมิตร ที่จะมาเยี่ยมเยียนในวันสงกรานต์, Count Unit: คน, Thai Definition: เพื่อนฝูงและญาติพี่น้อง |
ญาติสนิท | (n) close relative, Example: ผู้ที่อยู่เฝ้าศพก็จะมีแต่ญาติสนิทเท่านั้นเอง, Thai Definition: คนในวงศ์วานทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือแม่ที่มีความใกล้ชิดกัน |
หมู่ญาติ | (n) relatives, See also: cousin, lineage, kin, kinsmen, Syn. เครือญาติ, ญาติพี่น้อง, ญาติโกโหติกา, วงศาคณาญาติ, วงศ์วานว่านเครือ, วงศ์ญาติ, วงศ์ตระกูล, Example: ก่อนการแต่งงานผู้ชายจะมีฐานะเหมือนเป็นแขกท่ามกลางหมู่ญาติของฝ่ายหญิง, Thai Definition: กลุ่มคนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่ |
ห้ามญาติ | (n) style of Buddha image, Syn. ปางห้ามญาติ, Example: พระปางห้ามญาติมีอยู่แทบทุกวัด, Thai Definition: พระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระกาย พระหัตถ์ขวาแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระ เป็นกิริยาห้าม |
ญาติดีกัน | (v) reconcile, Syn. คืนดีกัน, Example: เมื่อหายโกรธกันแล้ว เรามาญาติดีกันเถอะ |
ญาติห่างๆ | (n) distant relative, Example: เขารู้แต่ว่าแม่สั่งให้เขาไปรับญาติห่างๆ คนหนึ่งที่หมอชิตเช้าวันนี้ |
เครือญาติ | (n) relative, See also: lineage, family, kindred, ancestry, pedigree, Syn. ญาติ, ญาติพี่น้อง, Example: พระบรมราโชบายประสานสัมพันธ์ฉันเครือญาติในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงได้รับผลสำเร็จอย่างงดงาม, Count Unit: เครือญาติ, Thai Definition: สิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน, เกี่ยวดองกัน, เกี่ยวข้องกัน |
ประยูรญาติ | (n) relative, See also: relation, kinsfolk, family, Syn. เชื้อสาย, ตระกูล, เผ่าพันธุ์, ประยูรวงศ์, ประยูร, ญาติ, วงศ์ตระกูล, เครือญาติ, Example: พระองค์รับสั่งว่าถ้าพระองค์สิ้นไปแล้วก็ให้ทรงช่วยดูแลพระประยูรญาติและบ้านเมือง |
ญาติผู้ใหญ่ | (n) senior relatives, Example: ญาติผู้ใหญ่ของเขา ดีกับฉันมาก, Count Unit: คน, Thai Definition: พวกญาติตั้งแต่ชั้นพ่อแม่ขึ้นไป |
ญาติพี่น้อง | (n) relatives, See also: relations, folks, kinfolk, cousin, kinsman, Syn. ญาติ, วงศาคณาญาติ, พี่น้อง, วงศ์วาน, ญาติโกโหติกา, วงศ์ญาติ, สกุล, ครอบครัว, ตระกูล, Example: ความรักระหว่างบิดา มารดา ลูกและญาติพี่น้อง ถือว่าเป็นความรักที่บริสุทธิ์, Count Unit: คน |
วงศาคณาญาติ | (n) relations, See also: kin, kinsman, relatives, Syn. เครือญาติ, ญาติพี่น้อง, วงศ์วาน, วงศ์ญาติ, Example: เขาถูกวงศาคณาญาติทางพ่อรุมเล่นงานเสียจนเข็ด |
ความเป็นญาติ | (n) kinship, See also: family relationship, Syn. ความเป็นเครือญาติ, Example: ที่บ้านอ้างเหตุผลความเป็นญาติไม่ให้เขาทั้งสองคนรักกัน |
ญาติสายโลหิต | (n) relative, See also: near relations, Example: ปู่, ย่า, ตา, ยาย, พ่อ, แม่และลูก ถือเป็นญาติสายโลหิต, Count Unit: คน, Thai Definition: คนร่วมสายเลือดอันเดียวกัน |
ระบบเครือญาติ | (n) system of relatives, See also: kinship, relationship, Example: หัวใจที่แท้จริงของการรดน้ำในวันสงกานต์ คือ การยืนยันความสัมพันธ์ในระบบเครือญาติ |
ไร้ญาติขาดมิตร | (v) have no kith and kin, See also: find oneself in a forlorn position, Example: ป้าช่วยนั้นดูเหมือนจะไร้ญาติขาดมิตร ไม่มีใครไว้พึ่งพายามเจ็บป่วย, Thai Definition: ไม่มีญาติพี่น้อง หรือไม่มีเพื่อนฝูงที่สามารถให้ความช่วยเหลือและพึ่งพาได้ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
ญาติ, ญาติ- | (ยาด, ยาติ-, ยาดติ-) น. คนในวงศ์วานที่ยังนับรู้กันได้ทางเชื้อสายฝ่ายพ่อหรือฝ่ายแม่. |
ญาติกา | (ยาดติ-) น. ญาติ. |
ญาติกาญาติโก, ญาติโกโหติกา | (ยาดติ-) น. เหล่าเครือญาติ. |
ญาติดี | ก. ทำเป็นดีด้วย, ทำดีด้วย, เช่น เธอไม่ต้องมาญาติดีกับฉัน. |
ญาติธรรม | (ยาดติ-) น. ญาติในทางธรรม, ผู้มีความสัมพันธ์กันฉันญาติเพราะนับถือศาสนาหรือลัทธิของศาสนาร่วมกัน. |
ญาติมิตร | (ยาด-) น. ญาติและเพื่อนฝูง. |
ญาติมิตร | (ยาด-) ก. ร่วมวงเล่นไพ่ตอง เช่น ไปญาติมิตรกัน. |
ญาติสืบสาโลหิต, ญาติสืบสายโลหิต | น. ญาติที่มีความสัมพันธ์กันทางสายเลือด. |
ตัดญาติขาดมิตร | ก. ตัดขาดจากกัน. |
พร้อมญาติ | ว. มีญาติพี่น้องมากันมากมาย. |
พระญาติ | น. ญาติของพระมหากษัตริย์. |
พระประยูรญาติ | น. ญาติของพระมหากษัตริย์. |
วงศาคณาญาติ | น. ญาติพี่น้อง. |
วงศาคณาญาติ | ดู วงศ-, วงศ์. |
สังคญาติ | น. บรรดาญาติ, ผู้ที่เกี่ยวข้องเป็นญาติกัน, เช่น คนทั้งหมู่บ้านล้วนเป็นสังคญาติกันทั้งนั้น. |
ห้ามญาติ | น. ชื่อพระพุทธรูปปางหนึ่ง อยู่ในพระอิริยาบถยืน พระหัตถ์ซ้ายห้อยลงข้างพระกายตามปรกติ พระหัตถ์ขวาแบตั้งขึ้นเสมอพระอุระยื่นออกไปข้างหน้า เป็นกิริยาห้าม. |
กปณ, กปณา | (กะปะนะ, กะปะนา) ว. อนาถา, ไร้ญาติ, น่าสงสาร, (กลอน) เขียนเป็น กปนา ก็มี เช่น แม้มนุษยกปนาจำนง ขอสิ่งประสงค์ประสาททาน (ม. คำหลวง มัทรี). |
กปณก | (กะปะนก) น. ผู้อนาถา, ผู้ไร้ญาติ, ผู้น่าสงสาร, เขียนเป็น กปนก ก็มี เช่น เถ้ากปนกแพนกพล้าว มีแม่ย้าวสาวศร หนึ่งน้นน (ม. คำหลวง ชูชก). |
กรรกศ | (กันกด) ว. หยาบช้า, เขียนเป็น กรรกษ ก็มี เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนีฯ (ม. คำหลวง ทศพร). |
เกลือเป็นหนอน | น. ญาติมิตร สามีภรรยา บุตรธิดา เพื่อนร่วมงาน หรือคนในบ้าน คิดคดทรยศ, ไส้เป็นหนอน ก็ว่า. |
เกี่ยวดอง | ว. นับเป็นญาติกันทางเขยหรือสะใภ้. |
ขอขมา, ขอขมาลาโทษ | ก. ขอไม่ให้เอาโทษในสิ่งที่ได้ล่วงละเมิดหรือล่วงเกิน เช่น เขามาขอขมาญาติผู้ใหญ่เพื่อลาบวช, ขอษมา หรือ ขอษมาลาโทษ ก็ว่า. |
เขย | น. ชายที่มาแต่งงานกับญาติผู้หญิง, ผัวของญาติ, เช่น ถ้าเป็นผัวของลูกสาว เรียก ลูกเขย ถ้าเป็นผัวของป้า เรียก ลุงเขย. |
เครือ ๑ | เชื้อสาย, วงศ์วาน, เช่น เครือญาติ |
ฉัน ๓ | ว. เสมอเหมือน, เช่น, อย่าง, เช่น ฉันญาติ. |
ชาติมาลา | (ชาติ-) น. แผนภูมิเครือญาติ, แผนลำดับเครือญาติ. |
ชิ่น | ก. สิ้น, หมด, เช่น อันว่าพระญาติท้งงชิ่น สทิ่นท้ยนจินดา (ม. คำหลวง ทศพร). |
ชีมืด | น. ชีในคริสต์ศาสนานิกายโรมันคาทอลิก ที่ปฏิญาณตนว่าจะบวชตลอดชีวิต ต้องอยู่แต่ในสำนักของตน จะออกไปติดต่อกับบุคคลอื่นแม้แต่ญาติของตนก็ไม่ได้. |
ชื่อเล่น | น. ชื่อของบุคคลที่ใช้กันในหมู่ญาติหรือผู้ใกล้ชิด. |
ซอกซอน | ก. ไปหลายแห่งหลายที่ เช่น ซอกซอนไปตามหาญาติที่ต่างจังหวัด, ชอนไชไป, เช่น รากไม้ซอกซอนไป. |
ดอง ๒ | ก. นับเป็นญาติกันทางเขยหรือสะใภ้ เช่น เขาดองกับครอบครัวของเรา. |
เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดบัวไม่ไว้ใย ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย. |
เด็ดบัวไม่ไว้ใย | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, มักใช้เข้าคู่กับ เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว ว่า เด็ดดอกไม่ไว้ขั้ว เด็ดบัวไม่ไว้ใย. |
เด็ดปลีไม่มีใย | ก. ตัดขาด, ตัดญาติขาดมิตรกันเด็ดขาด, เด็ดบัวไม่ไว้ใย ก็ว่า. |
เดียง ๑ | ก. รู้ เช่น ผู้ยิ่งญาติอยู่กลใด มากูจะไปให้ดลเดียงถนัด น่อยหนึ่งเทอญ (ม. คำหลวง ทานกัณฑ์). |
ตัวเปล่าเล่าเปลือย | ว. ยังไม่มีครอบครัว เช่น เธอไม่ใช่คนตัวเปล่าเล่าเปลือยนะ, ตัวเปล่า ก็ว่า, ไร้ญาติขาดมิตร เช่น เขาเป็นคนตัวเปล่าเล่าเปลือย. |
ตา ๑ | น. พ่อของแม่, ผัวของยาย, ชายที่เป็นญาติชั้นเดียวกับพ่อของแม่หรือที่อายุรุ่นราวคราวเดียวกับตา, (ปาก) คำเรียกชายสูงอายุที่ตนไม่ค่อยเคารพนับถือ เช่น ตาเถร ตาแก่ หรือเรียกชายรุ่นราวคราวเดียวกันอย่างเป็นกันเอง เช่น ตาเกิ้น ตาโย่ง หรือเรียกเด็กชายที่ตนเอ็นดูรักใคร่ เช่น ตาหนู. |
ถือ | ยึดเอาว่า, นับเอาว่า, เช่น ถือเป็นญาติกัน ถือเราถือเขา ถือพวก ถือโทษ |
ทับที่ | ว. เรียกอาการที่นอนตรงที่ของคนตายซึ่งเกี่ยวดองเป็นญาติผู้ใหญ่และเคยนอนประจำตรงนั้น เพราะเชื่อว่าเป็นสิริมงคล ว่า นอนทับที่. |
ทูลกระหม่อม ๑ | คำเรียกพระราชโอรสพระราชธิดาซึ่งเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก ประสูติแต่พระอัครมเหสี, ใช้ว่า ทูลหม่อม ก็มี, หากเจ้านายทรงเรียกพระประยูรญาติที่เป็นเจ้าฟ้าชั้นเอก จะระบุคำแสดงความเป็นเครือญาติท้ายคำว่า ทูลกระหม่อม เช่น ทูลกระหม่อมปู่ ทูลกระหม่อมพ่อ ทูลกระหม่อมลุง ทูลกระหม่อมป้า ทูลกระหม่อมอา. |
เทียมบ่าเทียมไหล่ | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมบ่าเทียมไหล่ญาติพี่น้อง, เทียมหน้าเทียมตา หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
เทียมหน้าเทียมตา | ว. เทียบเท่ากัน, เท่าเทียมกัน, เช่น เขาพยายามสร้างฐานะจนเทียมหน้าเทียมตาญาติพี่น้อง, เทียมบ่าเทียมไหล่ หรือ เสมอบ่าเสมอไหล่ ก็ว่า. |
นับประสาอะไร | ว. สำมะหาอะไร, จะพูดไปทำไมมี, จะกล่าวไปทำไม, เช่น ญาติกันแท้ ๆ ยังไม่ช่วย นับประสาอะไรที่คนอื่นจะมาช่วย. |
นัวเนีย | ก. เข้าไปใกล้ชิด เช่น เขามานัวเนียกับลูกสาวบ้านนี้, เกี่ยวพันกันยุ่ง เช่น สองตระกูลนี้ลำดับญาติกันไม่ถูก เพราะนัวเนียกันไปหมด. |
บารนี | ดั่งนี้ เช่น อันว่าพระญาติท่ววไท้ บมิหวังไหว้พระตถาคต ใจแลไปกรรกษ บารนี (ม. คำหลวง ทศพร). |
บิตุจฉา | (-ตุดฉา) น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). |
บิตุละ, บิตุลา | น. อา (ผู้ชาย), ลุง (ญาติฝ่ายพ่อ). |
บิตุลานี | น. อา (ผู้หญิง), ป้า (ญาติฝ่ายพ่อ). |
บุพการี | ญาติทางสายโลหิตโดยตรงขึ้นไป เช่น บิดามารดา ปู่ย่า ตายาย ทวด. |
บุพเปตพลี | (-เปตะพะลี) น. บุญที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
proximity | ความใกล้ชิด, ความเป็นญาติใกล้ชิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
prohibited degree of relationship | ระดับชั้นญาติที่จะทำการสมรสกันไม่ได้ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relationship | ความเป็นญาติ [ ดู kinship ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
relative | ญาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
relative | ญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
relations | ความเกี่ยวพันเป็นญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
related | เป็นญาติกัน [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
system, kinship | ระบบเครือญาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
agnate | ญาติทางบิดา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blood relationship | ความเป็นญาติโดยสายโลหิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blood relative clause | ข้อกำหนดญาติทางสายเลือด [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blood relative clause | ข้อกำหนดเกี่ยวกับญาติทางสายโลหิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
blood relatives | ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
cognates | ญาติทางมารดา (ก. สกอตแลนด์) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
collateral consanguinity | ความเป็นญาติร่วมสายโลหิต [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coefficient of kinship | สัมประสิทธิ์ความเป็นญาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
cognati (L.) | ญาติทางมารดา [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
cognation | ความเป็นญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
coefficient of inbreeding | สัมประสิทธิ์การผสมพันธุ์ระหว่างญาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
degree of relationship | ระดับชั้นญาติ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
Da Costa clause | ข้อกำหนดญาติทางสายเลือด มีความหมายเหมือนกับ blood relative clause [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
genetic relatives | ญาติทางสายโลหิต [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
incest | การร่วมประเวณีกับญาติสนิท, การร่วมเพศกับญาติสนิท (ที่กฎหมายห้ามมิให้สมรสกัน) [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
in-law | ญาติโดยการสมรส [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
kindred | เครือญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
kindred and affinity | ความเป็นญาติเกี่ยวดอง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
kinship | ความเป็นญาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
kinship | ความเป็นญาติ [ ดู relationship ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
kinship | ความเป็นญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
kinship group | กลุ่มญาติพี่น้อง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
kinship system | ระบบเครือญาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
kin | ญาติพี่น้อง [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
kin | ญาติพี่น้อง [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
natural affection | ความรักฉันญาติ [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
nepotism | คติเห็นแก่ญาติ [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
next of kin | ญาติใกล้ชิด [นิติศาสตร์ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
บรมวงศานุวงศ์ | ญาติผู้ใหญ่ของพระเจ้าแผ่นดิน [ศัพท์พระราชพิธี] |
ศราทธพรต | [ สาดทะพฺรด ] น. พิธีทําบุญให้แก่ญาติผู้ล่วงลับไปแล้ว.(ส. ศฺราทฺธ+ วฺรต) [ศัพท์พระราชพิธี] |
ญาติ | คนในวงศ์วาน, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ ญาต [คำที่มักเขียนผิด] |
Consanguinity | การมีเพศสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นเครือญาติ [TU Subject Heading] |
Kinship | เครือญาติ [TU Subject Heading] |
Coefficient of Kinskip | ลักษณะของการสืบพันธุ์จากญาติพี่น้องที่มาจาก ชั้นเดียวกัน [สิ่งแวดล้อม] |
Gorbachev doctrine | นโยบายหลักของกอร์บาชอฟ เป็นศัพท์ที่สื่อมวลชนของประเทศฝ่ายตะวันตกบัญญัติขึ้น ในตอนที่กำลังมีการริเริ่มใหม่ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของโซเวียตในด้านความร่วมมือระหว่างประเทศอภิมหา อำนาจตั้งแต่ ค.ศ. 1985 เป็นต้นมา ภายใต้การนำของ นายมิคาอิล กอร์บาชอฟ ในระยะนั้น โซเวียตเริ่มเปลี่ยนทิศทางของสังคมภายในประเทศใหม่ โดยยึดหลักกลาสนอสต์ (Glasnost) ซึ่งหมายความว่า การเปิดกว้าง รวมทั้งหลักเปเรสตรอยก้า (Perestroika) อันหมายถึงการปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ถึง 1986 บุคคลสำคัญชั้นนำของโซเวียตผู้มีอำนาจในการตัดสินใจนี้ ได้เล็งเห็นและสรุปว่าการที่ประเทศพยายามจะรักษาสถานภาพประเทศอภิมหาอำนาจ และครองความเป็นใหญ่ในแง่อุดมคติทางการเมืองของตนนั้นจำต้องแบกภาระทาง เศรษฐกิจอย่างหนักหน่วง แต่ประโยชน์ที่จะได้จริง ๆ นั้นกลับมีเพียงเล็กน้อย เขาเห็นว่า แม้ในสมัยเบรสเนฟ ซึ่งได้เห็นความพยายามอันล้มเหลงโดยสิ้นเชิงของสหรัฐฯ ในสงครามเวียดนาม การปฏิวัติทางสังคมนิยมที่เกิดขึ้นในแองโกล่า โมซัมบิค และในประเทศเอธิโอเปีย รวมทั้งกระแสการปฏิวัติทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นในแถบประเทศละตินอเมริกา ก็มิได้ทำให้สหภาพโซเวียตได้รับประโยชน์ หรือได้เปรียบอย่างเห็นทันตาแต่ประการใด แต่กลับกลายเป็นภาระหนักอย่างยิ่งเสียอีก แองโกล่ากับโมแซมบิคกลายสภาพเป็นลูกหนี้อย่างรวดเร็ว เอธิโอเปียต้องประสบกับภาวะขาดแคลนอาหารอย่างสาหัส และการที่โซเวียตใช้กำลังทหารเข้ารุกรานประเทศอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1979 ทำให้ระบบการทหารและเศรษฐกิจของโซเวียตต้องเครียดหนักยิ่งขึ้น และการเกิดวิกฤตด้านพลังงาน (Energy) ในยุโรปภาคตะวันออกระหว่างปี ค.ศ. 1984-1985 กลับเป็นการสะสมปัญหาที่ยุ่งยากมากขึ้นไปอีก ขณะเดียวกันโซเวียตตกอยู่ในฐานะต้องพึ่งพาอาศัยประเทศภาคตะวันตกมากขึ้นทุก ขณะ ทั้งในด้านวิชาการทางเทคโนโลยี และในทางโภคภัณฑ์ธัญญาหารที่จำเป็นแก่การดำรงชีวิตของพลเมืองของตน ยิ่งไปกว่านั้น การที่เกิดการแข่งขันกันใหม่ด้านอาวุธยุทโธปกรณ์กับสหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะแผนยุทธการของสหรัฐฯ ที่เรียกว่า SDI (U.S. Strategic Defense Initiative) ทำให้ต้องแบกภาระอันหนักอึ้งทางการเงินด้วยเหตุนี้โซเวียตจึงต้องทำการ ประเมินเป้าหมายและทิศทางการป้องกันประเทศใหม่ นโยบายหลักของกอร์บาซอฟนี่เองทำให้โซเวียตต้องหันมาญาติดี รวมถึงทำความตกลงกับสหรัฐฯ ในรูปสนธิสัญญาว่าด้วยกำลังนิวเคลียร์ในรัศมีปานกลาง (Intermediate Range Force หรือ INF) ซึ่งได้ลงนามกันในกรุงวอชิงตันเมื่อปี ค.ศ. 1987เหตุการณ์นี้ถือกันว่าเป็นมาตรการที่มีความสำคัญที่สุดในด้านการควบคุม ยุทโธปกรณ์ตั้งแต่เริ่มสงครามเย็น (Cold War) ในปี ค.ศ. 1946 เป็นต้นมา และเริ่มมีผลกระทบต่อทิศทางในการที่โซเวียตเข้าไปพัวพันกับประเทศ อัฟกานิสถาน แอฟริกาภาคใต้ ภาคตะวันออกกลาง และอาณาเขตอ่าวเปอร์เซีย กอร์บาชอฟถึงกับประกาศยอมรับว่า การรุกรานประเทศอัฟกานิสถานเป็นการกระทำที่ผิดพลาด พร้อมทั้งถอนกองกำลังของตนออกไปจากอัฟกานิสถานเมื่อปี ค.ศ. 1989 อนึ่ง เชื่อกันว่าการที่ต้องถอนทหารคิวบาออกไปจากแองโกล่า ก็เป็นเพราะผลกระทบจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟ ซึ่งได้เปลี่ยนท่าทีและบทบาทใหม่ของโซเวียตในภูมิภาคตอนใต้ของแอฟริกานั้น เอง ส่วนในภูมิภาคตะวันออกกลาง นโยบายหลักของกอร์บาชอฟได้เป็นผลให้ นายเอ็ดวาร์ด ชวาดนาเซ่ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ ซึ่งเป็นผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งจากนายกอร์บาชอฟ เริ่มแสดงสันติภาพใหม่ๆ เช่น ทำให้โซเวียตกลับไปรื้อฟื้นสัมพันธภาพทางการทูตกับประเทศอิสราเอล ทำนองเดียวกันในเขตอ่าวเปอร์เซีย โซเวียตก็พยายามคืนดีด้านการทูตกับประเทศอิหร่าน เป็นต้นการเปลี่ยนทิศทางใหม่ทั้งหลายนี้ ถือกันว่ายังผลให้มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายภายในประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและ ด้านสังคมของโซเวียต อันสืบเนื่องมาจากนโยบาย Glasnost and Perestroika ที่กล่าวมาข้างต้นนั่นเองในที่สุด เหตุการณ์ทั้งหลายเหล่านี้ก็ได้นำไปสู่การล่มสลายอย่างกะทันหันของสหภาพ โซเวียตเมื่อปี ค.ศ. 1991 พร้อมกันนี้ โซเวียตเริ่มพยายามปรับปรุงเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองของประเทศให้ทันสมัยอย่างขนานใหญ่ นำเอาทรัพยากรที่ใช้ในด้านการทหารกลับไปใช้ในด้านพลเรือน พฤติกรรมเหล่านี้ทำให้เกิดจิตใจ (Spirit) ของการเป็นมิตรไมตรีต่อกัน (Détente) ขึ้นใหม่ในวงการการเมืองโลก เห็นได้จากสงครามอ่าวเปอร์เซีย ซึ่งโซเวียตไม่เล่นด้วยกับอิรัก และหันมาสนับสนุนอย่างไม่ออกหน้ากับนโยบายของประเทศฝ่ายสัมพันธมิตรนัก วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างประเทศหลายคนเห็นพ้องต้องกันว่า การที่เกิดการผ่อนคลาย และแสวงความเป็นอิสระในยุโรปภาคตะวันออกอย่างกะทันหันนั้น เป็นผลจากนโยบายหลักของกอร์บาชอฟโดยตรง คือเลิกใช้นโยบายของเบรสเนฟที่ต้องการให้สหภาพโซเวียตเข้าแทรกแซงอย่างจริง จังในกิจการภายในของกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก กระนั้นก็ยังมีความรู้สึกห่วงใยกันไม่น้อยว่า อนาคตทางการเมืองของกอร์บาชอฟจะไปได้ไกลสักแค่ไหน รวมทั้งความผูกพันเป็นลูกโซ่ภายในสหภาพโซเวียตเอง ซึ่งยังมีพวกคอมมิวนิสต์หัวรุนแรงหลงเหลืออยู่ภายในประเทศอีกไม่น้อย เพราะแต่เดิม คณะพรรคคอมมิวนิสต์ในสหภาพโซเวียตนั้น เป็นเสมือนจุดรวมที่ทำให้คนสัญชาติต่าง ๆ กว่า 100 สัญชาติภายในสหภาพ ได้รวมกันติดภายในประเทศที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก คือมีพื้นที่ประมาณ 1 ใน 6 ส่วนของพื้นที่โลก และมีพลเมืองทั้งสิ้นประมาณ 280 ล้านคนจึงสังเกตได้ไม่ยากว่า หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลายไปแล้ว พวกหัวเก่าและพวกที่มีความรู้สึกชาตินิยมแรง รวมทั้งพลเมืองเผ่าพันธุ์ต่างๆ เกิดความรู้สึกไม่สงบ เพราะมีการแก่งแย่งแข่งกัน บังเกิดความไม่พอใจกับภาวะเศรษฐกิจที่ตนเองต้องเผชิญอยู่ จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้จักรวรรดิของโซเวียตต้องแตกออกเป็นส่วน ๆ เช่น มีสาธารณรัฐที่มีอำนาจ ?อัตตาธิปไตย? (Autonomous) หลายแห่ง ต้องการมีความสัมพันธ์ในรูปแบบใหม่กับรัสเซีย เช่น สาธารณรัฐยูเกรน ไบโลรัสเซีย มอลดาเวีย อาร์เมเนีย และอุสเบคิสถาน เป็นต้น แต่ก็เป็นการรวมกันอย่างหลวม ๆ มากกว่า และอธิปไตยที่เป็นอยู่ขณะนี้ดูจะเป็นอธิปไตยที่มีขอบเขตจำกัดมากกว่าเช่นกัน โดยเฉพาะสาธารณรัฐมุสลิมในสหภาพโซเวียตเดิม ซึ่งมีพลเมืองรวมกันเกือบ 50 ล้านคน ก็กำลังเป็นปัญหาต่อเชื้อชาติสลาฟ และการที่พวกมุสลิมที่เคร่งครัดต่อหลักการเดิม (Fundamentalism) ได้เปิดประตูไปมีความสัมพันธ์อันดีกับประะเทศอิหร่านและตุรกีจึงทำให้มีข้อ สงสัยและครุ่นคิดกันว่า เมื่อสหภาพโซเวียตแตกสลายออกเป็นเสี่ยง ๆ ดังนี้แล้ว นโยบายหลักของกอร์บาชอฟจะมีทางอยู่รอดต่อไปหรือไม่ ซึ่งเป็นเรื่องที่ถกเถียงและอภิปรายกันอยู่พักใหญ่และแล้ว เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ก็ได้เกิดความพยายามที่จะถอยหลังเข้าคลอง คือกลับนโยบายผ่อนเสรีของ Glasnost และ Perestroika ทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศโดยมีผุ้ที่ไม่พอใจได้พยายามจะก่อรัฐประหาร ขึ้นต่อรัฐบาลของนายกอร์บาชอฟ แม้การก่อรัฐประหารซึ่งกินเวลาอยู่เพียงไม่กี่วันจะไม่ประสบผลสำเร็จ แต่เหตุการณ์นี้ก่อให้เกิดผลสะท้อนลึกซึ้งมาก คือเป็นการแสดงว่า อำนาจของรัฐบาลกลางย้ายจากศูนย์กลางไปอยู่ตามเขตรอบนอกของประเทศ คือสาธารณรัฐต่างๆ ซึ่งก็ต้องประสบกับปัญหานานัปการ จากการที่ประเทศเป็นภาคีอยู่กับสนธิสัญญาระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะความตกลงเกี่ยวกับการควบคุมอาวุธยุทโธปกรณ์ ซึ่งสหภาพโซเวียตเดิมได้ลงนามไว้หลายฉบับผู้นำของสาธารณรัฐที่ใหญ่ที่สุดคือ นายบอริส เยลท์ซินได้ประกาศว่า สหพันธ์รัฐรัสเซียยังถือว่า พรมแดนที่เป็นอยู่ขณะนี้ย่อมเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ ไม่ใช่เป็นสิ่งที่จะแก้ไขเสียมิได้และในสภาพการณ์ด้านต่างประทเศที่เป็นอยู่ ในขณะนี้ การที่โซเวียตหมดสภาพเป็นประเทศอภิมหาอำนาจ ทำให้โลกกลับต้องประสบปัญหายากลำบากหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาเศรษฐกิจระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ ที่เคยสังกัดอยู่ในสหภาพโซเวียตเดิม จึงเห็นได้ชัดว่า สหภาพโซเวียตเดิมได้ถูกแทนที่โดยการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐต่างๆ อย่างหลวมๆ ในขณะนี้ คล้ายกับการรวมตัวกันระหว่างสาธารณรัฐภายในรูปเครือจักรภพหรือภายในรูป สมาพันธรัฐมากกว่า และนโยบายหลักของกอร์บาชอฟก็ได้ทำให้สหภาพโซเวียตหมดสภาพความเป็นตัวตนใน เชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) [การทูต] |
Education, Out-Patient | สุขศึกษาสำหรับผู้ป่วยและญาติที่แผนกผู้ป่วยนอก [การแพทย์] |
Familial Diseases | โรคในเครือญาติ, โรคชนิดครอบครัว [การแพทย์] |
Family Education | สุขศึกษาสำหรับญาติผู้ป่วย [การแพทย์] |
Generation Gap | ช่วงชั้นญาติ [การแพทย์] |
Incest | การร่วมเพศในระหว่างญาติ, ความสัมพันธ์ทางเพศกับพี่น้องเดียวกัน, เพศสัมพันธ์ระหว่างบุคคลร่วมสายโลหิต [การแพทย์] |
Marriage, Consanguineous | การแต่งงานระหว่างญาติ [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
เครือญาติ | [khreūayāt] (n) EN: relative |
ความเป็นญาติ | [khwām pen yāt] (n, exp) EN: kinship ; family relationship FR: parenté [ f ] ; lien de parenté [ m ] |
ความเป็นญาติด้วยสายโลหิต | [khwām pen yāt dūay sāi lōhit] (n, exp) EN: blood relationship ; consanguinity |
หมู่ญาติ | [mūyāt] (n) EN: relatives ; cousin ; lineage ; kin ; kinsmen FR: parents [ mpl ] ; membres de la famille [ mpl ] ; famille [ f ] |
งานชุมชนญาติ | [ngān chumchon yāt] (n, exp) EN: family reunion FR: réunion de famille [ f ] |
ระบบเครือญาติ | [rabop khreūa yāt] (n, exp) EN: system of relatives ; kinship ; relationship |
ตัดญาติ | [tat yāt] (v, exp) EN: sever one's family ties |
วงศาคณาญาติ | [wongsākhanāyāt] (n) EN: relations ; kin ; kinsman ; relatives |
ญาติ | [yāt] (n, exp) EN: relative ; relation ; kinsman (form.) ; folk ; kinfolk (old) FR: parent [ m ] ; parente [ f ] ; parents [ mpl ] ; membre de la famille [ m ] |
ญาติดี | [yāt dī] (n, exp) EN: reconciled after estrangement ; be an friendly terms FR: être en bons termes |
ญาติดีกัน | [yātdīkan] (v) EN: reconcile FR: se réconcilier |
ญาติห่างๆ | [yāt hāng-hāng] (n, exp) EN: distant relative FR: famille éloignée [ f ] ; lointain parent [ m ] ; parent éloigné [ m ] |
ญาติมิตร | [yāt-mit] (n, exp) EN: kindred ; kin ; kinfolk (old) ; relatives and friends FR: famille [ f ] ; parents et amis [ mpl ] |
ญาติพี่น้อง | [yāt phīnøng] (n, exp) EN: relatives ; relations ; folks ; kinfolk ; cousins ; kinsman FR: famille [ f ] ; parents [ mpl ] ; parentèle [ f ] |
ญาติผู้ใหญ่ | [yāt phūyai] (n, exp) EN: senior relatives FR: personnes âgées de la famille [ fpl ] ; parents âgés [ mpl ] ; anciens [ mpl ] ; seniors [ mpl ] |
ญาติสายโลหิต | [yāt sāi lōhit] (n, exp) EN: relative ; near relations FR: parent [ m ] ; proche parent [ m ] |
ญาติสนิท | [yāt sanit] (n, exp) EN: close relative FR: parent proche [ m ] |
ญาติ ๆ | [yāt-yāt] (n, exp) EN: relatives |
ญาติโยม | [yātyōm] (n, exp) EN: folks |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
affined | (adj) ที่เกี่ยวพันกัน (ทางญาติ), See also: ที่เกี่ยวดองกัน, ที่เป็นญาติกัน |
agnate | (n) ญาติฝ่ายพ่อ |
bereaved | (adj) ซึ่งสูญเสียญาติหรือเพื่อสนิท |
bereavement | (n) การสูญเสียญาติหรือเพื่อนสนิท |
be related to | (phrv) เป็นญาติกับ |
care package | (n) สิ่งของสำหรับเพื่อนหรือญาติที่อยู่ห่างไกล |
cousin | (n) ญาติห่างๆ, Syn. relative |
cast back | (phrv) ประพฤติตัวเหมือน (ญาติหรือบรรพบุรุษ), See also: เหมือนกับ ญาติหรือบรรพบุรุษ, Syn. throw back |
Dutch uncle | (idm) ชายที่ให้คำแนะนำตรงๆ เหมือนเป็นพ่อแม่หรือญาติ |
endogamy | (n) การแต่งงานของคนที่อยู่ในเผ่าเดียวกัน, See also: การแต่งงานในหมู่ญาติมิตร |
extended family | (n) ครอบครัวขยาย, See also: ครอบครัวใหญ่ ที่มีพ่อ แม่ ลูก ปู่ ย่า ตา ยาย และญาติๆ อยู่ร่วมกัน |
family | (n) ครอบครัว, See also: วงศ์ตระกูล, เครือญาติ, เครือญาติ, สายเลือด, สมาชิกในครอบครัว, Syn. ancestry, kin, relations |
family tree | (n) แผนภูมิแสดงลำดับเครือญาติของวงศ์ตระกูล, Syn. genealogy |
genealogical | (adj) เกี่ยวกับวงศ์ตระกูล, See also: เกี่ยวกับการลำดับญาติ |
genealogy | (n) การศึกษาเกี่ยวกับการลำดับเครือญาติ, See also: เชื้อสาย, การลำดับญาติ, การสืบวงศ์ตระกูล |
in-law | (n) ญาติที่เกิดจากแต่งงาน (คำไม่เป็นทางการ) |
kin | (n) ญาติ (คำเก่า), See also: เครือญาติ, Syn. relative, kindred |
kindred | (n) ญาติพี่น้อง (คำเก่า), See also: ญาติ, วงศาคณาญาติ, Syn. kin, relative |
kinfolk | (n) ญาติมิตร (คำเก่า), See also: ญาติพี่น้อง, Syn. kinfolks, relatives |
kinsfolk | (n) ญาติพี่น้อง, Syn. kinsfolk, relative, family |
kinship | (n) ตระกูล, See also: ญาติ, เผ่าพันธุ์, โคตร, วงศาคณาญาติ, Syn. family |
kinsman | (n) ญาติพี่น้อง (คำเก่า), Syn. male relative, Ant. kinswoman, female relative |
kinswoman | (n) ญาติผู้หญิง (คำเก่า), Syn. female relative, Ant. kinsman, male relative |
next of kin | (n) ญาติใกล้ชิดมากที่สุด, See also: ญาติสนิทที่สุด |
paternal | (adj) ทางสายพ่อ, See also: ที่เป็นญาติทางพ่อ |
related | (adj) เป็นญาติกัน, See also: เกี่ยวดองกัน, Syn. akin, kindred |
relation | (n) ญาติ, See also: ญาติพี่น้อง, เครือญาติ, Syn. kindred, kinship, relative |
relationship | (n) ความเป็นญาติกัน, Syn. kinship |
relative | (n) เครือญาติ, See also: ญาติพี่น้อง, Syn. family, relation |
remote | (adj) เป็นญาติห่างๆ, See also: ซึ่งเกี่ยวข้องกันห่างๆ, Syn. distantly related |
cuz | (sl) ญาติ |
tribe | (n) ตระกูล, See also: ญาติพี่น้อง |
throw back | (phrv) ดูเหมือนกับ (ญาติในอดีต), Syn. cast back |
wergild | (n) เงินที่จ่ายให้กับญาติของเหยื่อที่ถูกฆาตกรรม, Syn. wergeld, weregeld, weregild |
write home | (phrv) เขียนจดหมายถึงญาติ (โดยเฉพาะพ่อแม่, ภรรยาหรือสามี), See also: เขียนจดหมายถึงบ้าน |
Hope Dictionary
agnate | (แอก' เนท) n., adj. ญาติฝ่ายผู้ชาย, ญาติผู้ชายฝ่ายของพ่อ. -agnatic adj. -agnation n. (allied or akin) |
belonging | (บิลอง'อิง) n. ความสัมพันธ์ระหว่างกัน, ทรัพย์สมบัติ, สิ่งของที่มีอยู่, ของประกอบ, ญาติพี่น้อง, See also: belongings n. ทรัพย์สมบัติ, Syn. relationship, possessions, assets |
blood money | n. เงินค่าจ้างที่จ่ายให้กับฆาตกร เงินทึ่จ่ายให้กับญาติผู้ที่ถูกฆาตกรรม |
blood relative | n. ผู้ที่เป็นญาติโดยสายเลือด, ญาติพี่น้องร่วมสายโลหิต, Syn. blood relation |
chief mourner | n. เจ้าภาพศพ, ญาติผู้ใกล้ชิดที่สุดของผู้ตาย |
connection | (คะเนค'เชิน) n. การเชื่อมต่อ, การเชื่อมผนึก, ความสัมพันธ์, พันธะ, วงศ์วานวงศ์ญาติมิตร, ญาติ, การสังวาส, Syn. juncture, union, associate |
cousin | (คัซ'เซิน) n. ลูกพี่ลูกน้อง, ญาติห่าง ๆ , บุคคลที่เกี่ยวพันกัน (โดยมีลักษณะธรรมชาติภาษา แหล่งกำเนิด) ที่คล้ายกัน -Conf. (a first cousin ลูกพี่ลูกน้อง (ทางพ่อและแม่)) -Conf. (a second cousin ลูกของลุงป้าน้าอา (ที่เป็นลูกพี่ลูกน้องของพ่อแม่)), See also: c |
cousinry | (คัซ'เซินรี) n. ลูกพี่ลูกน้อง (เรียกรวม ๆ) , ญาติ (เรียกรวม ๆ) |
enate | (อี'เนท) ญาติทางฝ่ายมารดา., See also: enatic adj. ดูenate |
family | (แฟม'มิลี) n. ครอบครัว, ตระกูล, สกุล, พันธ์, วงศ์ญาติ, ลูก, ลูกหลาน, Syn. house, class, group, kin |
flesh | (เฟลช) n. เนื้อ, เนื้อหนังมังสา, ความอ้วน, น้ำหนัก, ร่างกาย, มนุษย์, สิ่งมีชีวิตทั้งหลาย, ญาติพี่น้อง, ลูกในไส้, เนื้อผลไม้, ผิวหนัง, See also: fresher พ่อค้าเนื้อ |
flesh and blood | n. ญาติพี่น้อง, ลูกในไส้, เลือดเนื้อเชื้อไข, ร่างกาย, เนื้อหนังมังสา, โลกีย์, ความเป็นจริงแห่งโลก |
folk | (โฟล์ค) n. ประชาชน, ชาวบ้าน, คนทั่วไป, ญาติสมาชิกของครอบครัว, พ่อแม่. adj. เกี่ยวกับชาวบ้าน หรือสามัญชน. ซึ่งกำเนิดในหมู่สามัญชน., See also: folkish adj. folkishness n., Syn. persons, people |
in-law | (อิน'ลอ) n. ญาติที่เกิดจากแต่งงาน |
kin | (คิน) n. ญาติ, ญาติพี่น้อง, ความเกี่ยวดองกัน, เครือญาติ, ญาติเกี่ยวดอง, สิ่งหรือบุคคลที่มีความคล้ายคลึงกัน -Phr. (ofkin เป็นญาติกัน, เกี่ยวดองกัน), Syn. kinsfolk |
kindred | (คิน'ดริด) n. ญาติพี่น้อง, ตระกูล, วงศ์, วงศ์ตระกูล, เครือญาติ, ความเกี่ยวดอง, ความสัมพันธ์ตามธรรมชาติ., adj. เกี่ยวกับแหล่งกำเนิด, เกี่ยวดองกัน, เกี่ยวกับญาติพี่น้อง., See also: kindredness n. ดูkindred kindredship n., Syn. re |
kinfolk | (คิน'โฟล์ค) n., pl. ญาติพี่น้อง. -S.kinfolks, kinsfolk |
kinship | (คิน'ชิพ) n. ความเป็นญาติมิตร, ความสัมพันธ์ทางครอบครัว, ความเกี่ยวดอง, ความสัมพันธ์โดยธรรมชาติ, ความสัมพรรค, Syn. blood, family, affinity |
kinsman | (คินซ'เมิน) n. ญาติผู้ชาย |
kinswoman | (คินซ'วูมเมิน) n. ญาติผู้หญิง, Syn. female relative pl.kinswomen |
kith | (คิธ) n. เพื่อน, เพื่อนบ้าน, คนรู้จัก, ญาติ, กลุ่มคนที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกัน |
kith andkin | คนรู้จัก, ญาติ, เพื่อน |
next of kin | n. ญาติที่ใกล้ชิดที่สุด |
propinquity | (โพรพิง'ควิที) n. ความใกล้กัน, ความใกล้ชิด, ความสัมพันธ์, ความเป็นญาติ, ความคล้ายคลึงกัน, Syn. proximity, kinship |
relate | (รีเลท') vt. บอก, เล่า, บรรยาย, ทำให้มีความสัมพันธ์กัน, ทำให้เกี่ยวข้องกัน, vi. เกี่ยวข้อง, สัมพันธ์, สอดคล้อง, เป็นญาติกัน, See also: relatability n. relatable adj. relater n., Syn. tell, narrate, delineate |
related | (รีเล'ทิด) adj. สัมพันธ์กัน, เกี่ยวดองกัน, เป็นญาติกัน, เชื่อมกัน, Syn. associated |
relation | (รีเล'เชิน) n. ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวดองกัน, ญาติ, เครือญาติ, การบรรยาย, เรื่องราว, See also: relational adj., Syn. existing connection |
relationship | (รีเล'เชินชิพ) n. ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวพัน, ความเกี่ยวดอง, ความเป็นญาติกัน, ความเกี่ยวข้องกัน, Syn. association |
relative | (เรล'ละทิฟว) n. ญาติ, ญาติพี่น้อง, เครือญาติ, สิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน, adj. สัมพันธ์กัน, เกี่ยวดองกัน, เกี่ยวข้องกัน |
Nontri Dictionary
affinity | (n) ความสัมพันธ์กัน, ความเกี่ยวดองกัน, ความเป็นญาติกัน |
connection | (n) การติดต่อ, ความสัมพันธ์, การเกี่ยวข้อง, การเกี่ยวดอง, ญาติ |
cousin | (n) ลูกพี่ลูกน้อง, ญาติ |
folks | (n) ญาติพี่น้อง, สมาชิกในครอบครัว, พ่อแม่พี่น้อง |
kin | (adj) เกี่ยวดองกัน, เป็นญาติกัน |
kin | (n) ญาติพี่น้อง, เครือญาติ, ความเกี่ยวดอง |
kindred | (adj) เกี่ยวดองกัน, เป็นญาติกัน, เกี่ยวข้องกัน |
kindred | (n) ญาติพี่น้อง, เทือกเถาเหล่ากอ, วงศ์ตระกูล |
kinsfolk | (n) ญาติพี่น้อง, เครือญาติ |
kinship | (n) ความเกี่ยวดองกัน, ความเป็นญาติกัน |
kinsman | (n) ญาติผู้ชาย |
kinswoman | (n) ญาติผู้หญิง |
relation | (n) ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวดอง, ญาติพี่น้อง |
relationship | (n) ความสัมพันธ์, ความเกี่ยวดอง, ความเป็นญาติกัน |
relative | (n) ญาติพี่น้อง |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
matrilineal descent | (n) การสืบสกุลทางมารดา, การนับญาติข้างแม่ |
puppet government | (n) รัรัฐบาลหุ่นเชิด รัฐบาลที่ทำงานโดยมีผู้อื่นบางการอยู่ข้างหลัง เช่น คุณสมัครดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีโดยมีคุณทักษิณเป็นคนคอยสั่งการ แต่งตั้ง โยกย้ายตำแหน่งต่างๆและกำหนดนโยบายต่างๆเพื่อเอื้อประโยชน์แก่ตนและญาติพี่น้อง แม้จะพักอาศัยอยู่ไกลถึงลอนดอนก็ตาม |
Longdo Unapproved JP-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
ฉันมีญาติอยู่ญี่ปุ่น | (adj, org) ฉันมีญาติอยู่ญี่ปุ่น |
近親相姦 | [きんしんそうかん, kinshinsoukan] (n, adj-no) การร่วมประเวณีกับญาติสนิท |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
父方 | [ちちかた, chichikata] TH: ญาติฝ่ายพ่อ EN: father's side of family |
内祝 | [うちいわい, uchiiwai] TH: การให้ของขวัญหรือเงินแก่เครือญาติหรือเพื่อนสนิทเพื่อแสดงความยินดี EN: gifts for close relatives or friends |
Longdo Approved DE-TH
Herzlichen Beileid! | (phrase) เป็นคำแสดงความเสียใจแก่ญาติของคนที่เสียชีวิต |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.027 seconds, cache age: 3.583 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม