319 ผลลัพธ์ สำหรับ *คำนวณ*
ภาษา
หรือค้นหา: คำนวณ, -คำนวณ-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
คำนวณ | (v) calculate, See also: compute, estimate, reckon, figure, count, Example: เครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยให้เราคิดหรือคำนวณเลขได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องและแม่นยำ, Thai Definition: กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข |
การคำนวณ | (n) calculation, See also: computation, Example: การคำนวณตัวเลขมากๆ ต้องใช้ความละเอียดอย่างมาก |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คำนวณ | ก. กะประมาณ, คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข. |
กระดานโหร | น. กระดานสำหรับโหรหรือหมอดูใช้ลงเวลาคำนวณฤกษ์ยาม วางลัคนา เพื่อการพยากรณ์เป็นต้น. |
กำมัชพล | (-มัดชะพน) น. ชื่อเกณฑ์เลขในคัมภีร์สุริยยาตร ซึ่งคำนวณมาจากจุลศักราช. |
เก่ง | ว. สามารถในทางใดทางหนึ่ง เช่น เก่งคำนวณ เรียนเก่ง, เป็นเช่นนั้นบ่อย ๆ, มักเป็นเช่นนั้น, เช่น เป็นหวัดเก่ง หลับเก่ง ลืมเก่ง. |
ข้อมูล | น. ข้อเท็จจริง หรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือการคำนวณ. |
คณิต, คณิต- | (คะนิด, คะนิดตะ-) น. การนับ, การคำนวณ, วิชาคำนวณ, มักใช้เป็นคำหลังของวิชาบางประเภท เช่น พีชคณิต เรขาคณิต. |
คณิตศาสตร์ | (คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ. |
คดีมโนสาเร่ | น. คดีที่มีคำขอให้ปลดเปลื้องทุกข์อันอาจคำนวณเป็นราคาเงินได้ไม่เกินสามแสนบาท หรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา และคดีฟ้องขับไล่บุคคลใด ๆ ออกจากอสังหาริมทรัพย์อันมีค่าเช่าหรืออาจให้เช่าได้ในขณะยื่นคำฟ้องไม่เกินเดือนละสามหมื่นบาทหรือไม่เกินจำนวนที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา. |
ควณ | ก. คำนวณ เช่น ขับควณทวนเทียบด้วยตำรา พิเคราะห์พระชันษาชะตาเมือง (อิเหนา). |
คะเน | ก. กะ, คำนวณเอาอย่างหยาบ ๆ, เช่น คะเนให้พอดี. |
คิด | คำนวณ เช่น คิดเลขในใจ |
งาน ๓ | น. ผลของแรงที่ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ คำนวณได้จากผลคูณของแรงกับระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่. |
ดนุ, ดนู | ส. ฉัน, ข้าพเจ้า, เช่น ดนุถามก็เจ้าไซร้ บมิตอบณคำถาม วนิดาพยายาม กะละเล่นสำนวนหวล ก็และเจ้ามิเต็มจิต จะสดับดนูชวน (มัทนะ), เปนสังวาลย์วรรเวจเขบจขบวน คือคำนวณในดนูดูงามกว่าชื่นแล (ม. คำหลวง ทศพร). |
ดอกเบี้ย | น. ผลประโยชน์ที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น หรือเพื่อการไม่ชำระหนี้หรือชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือชำระหนี้ล่าช้า ทั้งนี้ โดยคำนวณเป็นรายวัน รายเดือนหรือรายปี จากยอดเงินต้นหรือยอดเงินที่ต้องชำระ. |
ดอกผลนิตินัย | น. ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มาเป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่นเพื่อการที่ได้ใช้ทรัพย์นั้น และสามารถคำนวณและถือเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ เช่น ดอกเบี้ย กำไร ค่าเช่า เงินปันผล. |
ดีดลูกคิด | ก. คำนวณผลได้ผลเสียหรือกำไรขาดทุนอย่างละเอียดแล้วจึงตัดสินใจลงมือกระทำ |
ดีดลูกคิดรางแก้ว | ก. คำนวณอย่างรอบคอบแล้วเห็นแต่ทางได้ถ่ายเดียว เช่น ดีดลูกคิดรางแก้วแล้ว โครงการนี้มีแต่กำไรไม่มีทางขาดทุน. |
ตัน ๒ | น. มาตรานํ้าหนักและมาตราวัด มีหลายอัตราแล้วแต่วัตถุที่ใช้ คือ ๑. เมตริกตัน มาตราชั่งเท่ากับนํ้าหนัก ๑, ๐๐๐ กิโลกรัม หรือ หาบหลวง หรือเป็นมาตราวัดเท่ากับ ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต. ๒.ตันระวางเรือ ถ้าคำนวณระวางบรรทุกสินค้าและห้องทั่วไป เรียก ตันกรอส, ถ้าคำนวณเฉพาะบรรทุกสินค้า เรียก ตันเน็ต, และถ้าคำนวณนํ้าหนักทั้งลำเรือเช่นเรือรบ เรียก ตันระวางขับน้ำ, ทั้ง ๓ นี้วัด ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่งเช่นเดียวกัน. ๓. ตันระวางบรรทุกอื่น ๆ ถ้าของหนักคิด ๑, ๐๑๖.๐๔๗ กิโลกรัม เป็นตันหนึ่ง ถ้าเป็นของเบาคิดวัด ๑.๑๓ ลูกบาศก์เมตร หรือ ๔๐ ลูกบาศก์ฟุต เป็นตันหนึ่ง. |
ตัว ๒ | น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว. |
แท็กซี่มิเตอร์ | น. แท็กซี่ที่ติดตั้งมิเตอร์คำนวณค่าโดยสารเป็นระยะทางกับเวลาตามอัตราที่ทางการกำหนด. |
นวย | น้อม เช่น คิดคิ้วคำนวณนวย คือธนูอันก่งยง (สมุทรโฆษ). |
นัก ๑ | น. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้กระทำเป็นปรกติ เช่น นักเรียน นักดื่ม นักท่องเที่ยว, ผู้ชำนาญ เช่น นักเทศน์ นักดนตรี นักคำนวณ นักสืบ, ผู้มีอาชีพในทางนั้น ๆ เช่น นักกฎหมาย นักแสดง นักเขียน. |
ปักขคณนา | (-คะนะ-) น. ปักษคณนา, วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์. |
ปักษคณนา | (-คะนะ-) น. วิธีคำนวณดิถีตามปักษ์. |
ผล | จำนวนที่ได้จากการคำนวณ เช่น ๕ กับ ๗ บวกกัน ได้ผลเท่ากับ ๑๒, ผลลัพธ์ ก็ว่า. |
ผลลัพธ์ | น. จำนวนที่ได้จากการคำนวณ เช่น ถอดกรณฑ์ที่ ๒ ของ ๔๙ ได้ผลลัพธ์เป็น ๗, ผล ก็ว่า. |
ผูกดวง | ก. นำเครื่องหมายแทนพระเคราะห์มีอาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ศุกร์ เป็นต้น บรรจุลงในดวงตามช่องจักรราศีทั้ง ๑๒ ที่โคจรมาสถิตตามวัน เดือน ปี และเวลาตกฟากของเจ้าของชะตานั้น ดูว่าอาทิตย์ตกอยู่ในราศีใด แล้วเอาองศาอาทิตย์ของวันเกิดเจ้าของชะตามาคำนวณว่า เมื่อเวลา ๖.๐๐ นาฬิกา อาทิตย์อยู่ในราศีดังกล่าวมาแล้วนานเท่าใด เรียกว่า อดีตอุทัย และเวลาเหลืออีกนานเท่าใดจึงจะพ้นไปจากราศีนั้น เรียกว่า อนาคตอุทัย แล้วเอาเวลาตกฟากตั้งลบด้วย ๖.๐๐ นาฬิกา และอนาคตอุทัย ต่อไปเอาอันโตนาทีของราศีถัด ๆ ไปลบทีละราศี ถ้าเวลาหรือเลขที่เหลือไม่พอให้อันโตนาทีของราศีใดลบได้ ลัคนาก็อยู่ที่ราศีนั้น การผูกดวงนี้เพื่อทำนายโชคชะตาเป็นต้น. |
พิกัดอัตราศุลกากร | น. กำหนดอัตราเพื่อคำนวณเงินอากรที่เรียกเก็บจากของที่ส่งหรือพาออกไปนอกราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาออก หรือของที่นำหรือพาเข้ามาในราชอาณาจักร เรียกว่า อากรขาเข้า. |
ภาษีเงินได้ | น. ภาษีที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ได้รับเงิน ทรัพย์สินหรือประโยชน์อย่างอื่น ซึ่งอาจคิดคำนวณได้เป็นเงิน. |
ภาษีบำรุงท้องที่ | น. ภาษีที่กฎหมายกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเก็บจากผู้มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน หรือผู้ครอบครองที่ดินที่ไม่ใช่ของเอกชน โดยคำนวณตามจำนวนเนื้อที่ดินที่มีหรือครอบครองตามราคาปานกลางที่ทางราชการประกาศกำหนด. |
ยาหม้อใหญ่ | น. สิ่งที่น่าเบื่อ เช่น วิชาคำนวณเป็นยาหม้อใหญ่. |
เยี่ยม ๒ | ว. ยิ่ง, เด่น, เลิศ, เช่น ดีเยี่ยม เขาเยี่ยมทางคำนวณ. |
ระดับทะเลปานกลาง | น. ค่าเฉลี่ยของระดับน้ำทะเล ซึ่งคำนวณจากผลการตรวจระดับนํ้าทะเลขึ้นลงในที่ใดที่หนึ่งที่ได้บันทึกติดต่อกันไว้เป็นระยะเวลานาน, ใช้ย่อว่า รทก. |
รังวัด | วัดปักเขต และทำเขต จด หรือคำนวณเนื้อที่ เพื่อให้ทราบที่ตั้งแนวเขตที่ดิน หรือทราบที่ตั้งและเนื้อที่ของที่ดิน. |
ลัคน-, ลัคน์, ลัคนา | เวลาหรือวันที่ถือว่าเป็นมงคลสำหรับลงมือทำการใด ๆ, ถ้าเป็นเวลาที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนกาล ถ้าเป็นวันที่เป็นมงคล เรียกว่า ลัคนทิน เช่น โหรคำนวณว่าวันที่ ๑๔ พฤษภาคม เป็น ลัคนทิน เวลา ๑๗.๐๐ น. เป็น ลัคนกาล เป็นวันและเวลาที่เหมาะสำหรับทำพิธีรดนํ้าแต่งงาน. |
ลัพธ์ | จำนวนที่ได้จากการคำนวณเรียกว่า ผลลัพธ์ เช่น ๒๒ ลบด้วย ๘ ได้ผลลัพธ์เท่ากับ ๑๔. |
ลูกคิด | น. เครื่องคำนวณเลขของจีน ทำด้วยไม้เป็นต้น เป็นลูกกลม ๆ ร้อยใส่ไว้ในราง. |
เลข | วิชาคำนวณ. |
ศก ๒ | น. ระบบการคำนวณนับเวลาเรียงลำดับกันเป็นปี ๆ โดยถือเอาเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งเป็นจุดเริ่มต้น ดังในคำว่า รัตนโกสินทรศก ซึ่งถือเอาปีเริ่มสร้างกรุงรัตนโกสินทร์เป็นจุดเริ่มต้น, บางทีก็ใช้เป็นคำย่อของศักราช เช่น พุทธศก คริสต์ศก |
ศิลปศาสตร์ | ตำราว่าด้วยวิชาความรู้ต่าง ๆ ในสมัยก่อนพุทธกาล มี ๑๘ ประการ ได้แก่ ๑. สูติ วิชาฟังเสียงคนเสียงสัตว์รู้ว่าดีหรือร้าย ๒. สัมมติ วิชาเข้าใจในกฎธรรมเนียม ๓. สังขยา วิชาคำนวณ ๔. โยคยันตร์ วิชาการช่าง ๕. นีติ วิชาแบบแผนราชการ ๖. วิเสสิกา วิชาการค้า ๗. คันธัพพา วิชานาฏศิลป์ ๘. คณิกา วิชากายบริหาร ๙. ธนุพเพธา วิชายิงธนู ๑๐. ปุราณา วิชาโบราณคดี ๑๑. ติกิจฉา วิชาการแพทย์ ๑๒. อิติหาสา วิชาตำนานหรือประวัติศาสตร์ ๑๓. โชติ วิชาดาราศาสตร์ ๑๔. มายา วิชาตำราพิชัยสงคราม ๑๕. ฉันทสา วิชาการประพันธ์ ๑๖. เกตุ วิชาพูด ๑๗. มันตา วิชาร่ายมนตร์ ๑๘. สัททา วิชาไวยากรณ์. |
สมผุส | (-ผุด) น. การคำนวณชนิดหนึ่งเกี่ยวกับโลกและดาวพระเคราะห์เล็งร่วมกัน. |
สมพงศ์ | น. การร่วมวงศ์หรือตระกูลกัน, (โหร) วิธีคำนวณว่าหญิงชายที่จะเป็นคู่ครองกันมีชะตาต้องกันหรือไม่. |
สังขยา ๑ | (-ขะหฺยา) น. การนับ, การคำนวณ. |
สันทัด | ก. ถนัด, จัดเจน, เช่น เรื่องนี้เขาไม่สันทัด เขาสันทัดในด้านคำนวณ. |
หมู ๒, หมู ๆ | ว. ง่าย, สะดวก, เช่น วิชาคำนวณสำหรับเขาแล้วหมูมาก เขาเลือกทำแต่งานหมู ๆ. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
rating bureau | สำนักคำนวณอัตราเบี้ยประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
acalculia | ภาวะเสียการคำนวณ [แพทยศาสตร์ ๖ ส.ค. ๒๕๔๔] |
address computation | การคำนวณเลขที่อยู่ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic shift; arithmetical shift | การเลื่อนเชิงคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic shift; arithmetical shift | การเลื่อนเชิงคำนวณ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arithmetic statement | ข้อความสั่งคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic unit | หน่วยคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic-logic unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ (เอแอลยู) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic-logic unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ (เอแอลยู) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arithmetical shift; arithmetic shift | การเลื่อนเชิงคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetical shift; arithmetic shift | การเลื่อนเชิงคำนวณ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arithmetic operation | การดำเนินการคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic operator | ตัวดำเนินการคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic operator | ตัวดำเนินการคำนวณ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arithmetic register | เรจิสเตอร์คำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic relation | ความสัมพันธ์เชิงคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ALU (arithmetic-logic unit) | เอแอลยู (หน่วยคำนวณและตรรกะ) [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
ALU (arithmetic-logic unit) | เอแอลยู (หน่วยคำนวณและตรรกะ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
arithmetic expression | นิพจน์คำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
arithmetic instruction | คำสั่งคำนวณ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
binary arithmetic operation | การดำเนินการคำนวณฐานสอง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
measure of indemnity | หลักการคำนวณค่าสินไหมทดแทน [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
calculate | คำนวณ [ ดู compute ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computability | ภาวะคำนวณได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computation | การคำนวณ, การคณนา [ มีความหมายเหมือนกับ computing ๑ ] [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
computation | การคำนวณ [ ดู calculation ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
computing | ๑. การคำนวณ, การคณนา [ มีความหมายเหมือนกับ computation ]๒. -คอมพิวเตอร์๓. การคอมพิวเตอร์๔. วิชาการคอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
calculation | การคำนวณ [ ดู computation ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
calculation | การคำนวณ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
calculator | เครื่องคำนวณ, เครื่องคิดเลข, ผู้คำนวณ, ตารางคำนวณ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
compute | คำนวณ [ ดู calculate ] [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
dependable computing | การคำนวณที่พึ่งได้ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
independent liability method | วิธีคำนวณความรับผิดโดยเอกเทศ [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
Turing computability | ภาวะคำนวณได้ของทัวริง [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Computational fluid dynamics | กลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Quantum computing | การคำนวณเชิงควอนตัม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Iterative method (Mathematics) | วิธีการคำนวณซ้ำ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Numerical calculations | การคำนวณเชิงตัวเลข [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Evolutionary computation | การคำนวณเชิงวิวัฒนาการ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ, Example: เป็นวงจรหลักของคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ในการคำนวณทางเลขคณิต เปรียบเทียบค่าต่างๆ ว่าเท่ากันหรือไม่ นอกจากนั้นยังดำเนินการทางตรรกะด้วย วงจรนี้ที่จริงคือวงจรหลักของไมโครโพรเซสเซอร์ หรือชิปต่างๆ นั่นเอง [คอมพิวเตอร์] |
Acute exposure | การรับรังสีเฉียบพลัน, การรับปริมาณรังสีในระยะเวลาสั้นซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
Acute intake | การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเฉียบพลัน, การรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายภายในระยะเวลาสั้น ซึ่งสามารถนำไปคำนวณเป็นปริมาณรังสีผูกพันที่ได้รับในคราวเดียว [นิวเคลียร์] |
Annual Limit on Intake | เอแอลไอ, ขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี, ปริมาณสูงสุดของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิด ที่ร่างกายได้รับโดยการหายใจ การกิน หรือ ผ่านทางผิวหนังในเวลา 1 ปี ได้จากการคำนวณปริมาณรังสีผูกพันโดยใช้แบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) จะเท่ากับขีดจำกัดปริมาณรังสี [นิวเคลียร์] |
Carbon-14 | คาร์บอน-14, ไอโซโทปกัมมันตรังสีของธาตุคาร์บอน มีครึ่งชีวิต 5, 730 ปี เกิดขึ้นในบรรยากาศชั้นบนของโลก โดยอนุภาคนิวตรอนที่เกิดมาจากรังสีคอสมิกไปชนนิวเคลียสของธาตุไนโตรเจนเกิดเป็นคาร์บอน-14 และถูกออกซิไดส์ไปเป็นคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่วงจรของสิ่งมีชีวิต หลังจากสิ่งมีชีวิตตายไป จะไม่มีการแลกเปลี่ยนกับคาร์บอนไดออกไซด์ในอากาศอีก คาร์บอน-14 ที่มีอยู่ก็จะสลายลดลงด้วยอัตราที่สามารถทราบได้ จึงใช้ในการคำนวณอายุซากสิ่งมีชีวิตและวัตถุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ (ดู Radiocarbon dating ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Committed dose | ปริมาณ (รังสี) ผูกพัน, ปริมาณรังสียังผลจากสารกัมมันตรังสีที่เข้าสู่ร่างกาย บางชนิดจะกระจายไปทั่วร่างกาย บางชนิดจะไปสะสมอยู่ในอวัยวะเฉพาะที่ เรียกว่า อวัยวะวิกฤติ (critical organ) เช่น ไอโอดีนจะสะสมอยู่ที่ต่อมไทรอยด์ รังสีจะมีผลต่อร่างกายจนกว่าสารกัมมันตรังสีนั้นสลายหมดไปหรือถูกขับถ่ายออกจนหมด ปกติจะคำนวณระยะเวลาการรับรังสี 50 ปีสำหรับผู้ใหญ่ และ 70 ปีสำหรับเด็ก มีหน่วยเป็น ซีเวิร์ต [นิวเคลียร์] |
Derived Air Concentration | ค่ากำหนดความเข้มข้นนิวไคลด์กัมมันตรังสีในอากาศ, ดีเอซี, ขีดจำกัดความเข้มข้นของนิวไคลด์กัมมันตรังสีแต่ละชนิดในอากาศ ที่จะทำให้ผู้ปฏิบัติงานในบริเวณนั้นตลอดระยะเวลาทำงานใน 1 ปี ได้รับนิวไคลด์กัมมันตรังสีเข้าสู่ร่างกายเท่ากับขีดจำกัดการรับนิวไคลด์กัมมันตรังสีรอบปี โดยคำนวณจากแบบจำลองมนุษย์อ้างอิง (Reference Man) (ดู annual limit on intake (ALI) ประกอบ) [นิวเคลียร์] |
Number crunching | คำนวณเลข [คอมพิวเตอร์] |
Radiochemical purity | ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี, ความบริสุทธิ์ของสารประกอบกัมมันตรังสี ซึ่งมีสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการ โดยคำนวณจากสัดส่วนกัมมันตภาพของสารกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีที่ต้องการต่อกัมมันตภาพของสารประกอบกัมมันตรังสีทั้งหมด <br>ความบริสุทธิ์ทางเคมีรังสี ใช้เป็นค่ากำหนดคุณภาพของสารเภสัชรังสีซึ่งมีสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ เจือปนอยู่น้อยที่สุด ตามมาตรฐานเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกา (United States Pharmacopoeia, USP) เภสัชตำรับอังกฤษ (British Pharmacopoeia, BP) และ เภสัชตำรับยุโรป (European Pharmacopoeia, EP) เช่น ในการผลิตสารไอโอดีน-131 (<sup>131I</sup>) ตามเภสัชตำรับสหรัฐอเมริกาต้องมีอัตราส่วนของสารประกอบกัมมันตรังสีในรูปโซเดียมไอโอไดด์ (Na<sup>131</sup>I) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 95 และสารประกอบกัมมันตรังสีที่มีธาตุไอโอดีนอยู่ในรูปแบบทางเคมีอื่นๆ ไม่เกินร้อยละ 5</br> [นิวเคลียร์] |
Calculator | เครื่องคำนวณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Graphic calculator | เครื่องคำนวณกราฟิก [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
supercomputer | ซูเปอร์คอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูง คิดคำนวณได้เร็วมากกว่าคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ ชื่อซูเปอร์คอมพิวเตอร์นี้เดิมที่ตั้งขึ้นเพื่อเรียกคอมพิวเตอร์ Cray-1 ซึ่งเป็นเครื่องที่ผลิตโดยบริษัท Cray Research และต่อมามีผู้พัฒนาเครื่องซูเปอร์คอมพิวเตอร์อีกมาก รวมทั้งบริษัทคอมพิวเตอร์ในญี่ปุ่นด้วย ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีความเร็วสูงมาก และโดยทั่วไปถือว่าจะต้องเร็วกว่า 300 MFLOPS คือคำนวณเลขจุดลอยตัวได้เกินกว่า 300 ล้านคำสั่งต่อวินาที ซูเปอร์คอมพิวเตอร์นั้นอาจเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เป็นคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงยิ่ง (high performance computer) [คอมพิวเตอร์] |
Machine theory | ทฤษฎีเครื่องจักรคำนวณ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Simulation | การจำลองแบบเสมือน, เป็นการจำลองสถานการณ์โดยใช้สูตรคณิตศาสตร์ สถิติและแคลคูลัส เพื่อให้การคำนวณในสิ่งที่ศึกษามีผลลัพท์ตรงกับหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง [Assistive Technology] |
คำนวณ | กะประมาณ คิดหาผลลัพธ์โดยวิธีเลข, Example: คำที่มักเขียนผิด คือ คำณวน [คำที่มักเขียนผิด] |
Calculators | เครื่องคำนวณ [TU Subject Heading] |
Computational complexity | การคำนวณที่ซับซ้อน [TU Subject Heading] |
Numerical calculations | การคำนวณเชิงตัวเลข [TU Subject Heading] |
Pharmaceutical arithmetic | การคำนวณทางเภสัชกรรม [TU Subject Heading] |
Volume (Cubic content) | การคำนวณปริมาตร [TU Subject Heading] |
Cost, Insurance and Freight | มูลค่าสินค้าที่คำนวณ ณ แหล่งซื้อ เป็นมูลค่าสินค้าเข้าซึ่งรวมต้นทุนสินค้า ค่าประกันภัย และค่าระวาง ซึ่งคำนวณจากจุดส่งออก ณ ท่าเรือหรือท่าอากาศยาน ไปสู่ท่าเรือหรือท่าอากาศยานของประเทศผู้ซื้อ [การทูต] |
Compression set | รูปร่างและมิติของยางที่ได้กลับคืนมาหลังจากนำแรงกดออกไป ซึ่งจะบอกถึง ความสามารถของยางในการรักษาสมบัติความยืดหยุ่นหลังจากยางได้รับแรงกดเป็น ระยะเวลาหนึ่ง คำนวณเป็นร้อยละของปริมาณที่ไม่สามารถกลับคืนรูปร่างเดิมได้ มาตรฐานการทดสอบ เช่น ISO 815, ASTM D395 [เทคโนโลยียาง] |
Elongation at break | ร้อยละการยืดของชิ้นทดสอบที่จุดขาด คำนวณได้จากสูตร การยืด (%) = (ความยาวสุดท้าย – ความยาวเริ่มต้น)/ความยาวเริ่มต้น x100 วิธีทำสามารถหาได้จาก ISO 37 หรือ ASTM D412 [เทคโนโลยียาง] |
Permanent set | การเสียสภาพถาวรหลังจากชิ้นงานถูกดึงยืดตามเวลาที่กำหนดและปล่อยออก ชิ้นงานนั้นไม่สามารถกลับคืนสู่ความยาวเดิมได้ โดยมีส่วนที่ยืดยาวออกมามากกว่าความยาวก่อนการดึงยืด ความยาวส่วนที่เพิ่มขึ้นนี้คำนวณเป็นร้อยละของความยาวเดิม [เทคโนโลยียาง] |
Stress | แรงที่กระทำต่อหน่วยพื้นที่ในเนื้อของสสารและวัสดุ มีหลายประเภท เช่น แรงดึง แรงกด แรงเฉือน เป็นต้น สามารถคำนวณได้จาก แรงที่ให้หารด้วยขนาดพื้นที่หน้าตัดที่รับแรง [เทคโนโลยียาง] |
Acalculia | ทำคำนวณไม่ได้, ทำคำนวณง่ายๆไม่ได้ [การแพทย์] |
Arithmetic Progression Method | วิธีคำนวณการเพิ่มแบบเลขคณิต [การแพทย์] |
Calculation | การคำนวณ, วิธีคำนวณ [การแพทย์] |
Calculation, Formular | สูตรคำนวณ [การแพทย์] |
Computation | การคำนวณ [การแพทย์] |
Creatinine Clearance | ครีอาตินีนเคลียรานซ์, การชำระครีอะทินิน, การคำนวณอัตราเลือดผ่านไตโดยอาศัยค่าระดับเครอาติ [การแพทย์] |
Data Calculation | วิธีคำนวณ [การแพทย์] |
Cloud computing | การคำนวณแบบคลาวด์, การประมวลผลแบบแบ่งปันทรัพยากรผ่านเครือข่าย, Example: การให้บริการประมวลผลแบบคลาวด์ เกิดจากแนวคิดการให้บริการโดยใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานไอทีที่ทำงานเชื่อมโยงกัน โดยมีเซิร์ฟเวอร์มากมายทำงานสอดประสานเป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อให้บริการแอพพลิเคชั่นต่างๆ มีข้อดีคือลดความซ้ำซ้อนยุ่งยากของผู้ต้องการใช้บริการ อีกทั้งยังช่วยประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่าย เพราะคลาวด์คอมพิวติ้ง ทำงานผ่านเทคโนโลยีเสมือน (Virtualization) ระบบจึงไม่ได้ถูกจำกัดในเรื่องของสมรรถนะและขีดความสามารถของการใช้ระบบประมวลผลจากระบบต่างๆ ทำให้เกิดการบริการหลายๆ อย่าง เช่น การประชุมผ่านอินเทอร์เน็ต Web conferencing, Online meeting ผู้ใช้งานอาจอยู่ในห้องเดียวกันหรือห่างไกลกันคนละซีกโลกก็ได้ การประมวลผล แบบคลาวด์ สามารถแบ่งออกเป็น 2 แบบใหญ่ๆ คือ Private cloud computing เป็นการใช้งานภายในองค์กร โดยเป็นการใช้สมรรถนะของดาต้าเซ็นเตอร์ภายในองค์กรนั้นๆ และ cloud computing เป็นรูปแบบที่มีผู้ให้บริการสาธารณะจัดสรรการให้บริการการเข้าถึงข้อมูลในรูปแบบต่างๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนมาก โดยผู้ใช้บริการไม่จำเป็นต้องรับทราบว่ามีเซิร์ฟเวอร์ติดตั้งอยู่ที่ไหนและมากเท่าใด สนใจเพียงแต่บริการที่ได้รับเท่านั้น [เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ] |
Extrapolation | การคาดเหตุการณ์ข้างหน้า, คาดคิดเกินไป, การขยายความ, ความผิดพลาดในการคำนวณ [การแพทย์] |
Pilot - balloon slide - rule | บรรทัดคำนวณไพลอตแบ ลลูน หรือแบลลูนตรวจอากาศ [อุตุนิยมวิทยา] |
efficiency | ประสิทธิภาพ, อัตราส่วนระหว่างงานที่ได้กับงานที่ให้ นิยมคิดเป็นร้อยละ ใช้คำนวณหาประสิทธิภาพเครื่องกล [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
error | ความคลาดเคลื่อน, ค่าที่แตกต่างกันระหว่างค่าที่คำนวณหรือวัดได้ กับค่าที่ถูกต้องเป็นจริง [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
eureka cup | ถ้วยยูรีกา, ภาชนะที่ใช้สำหรับหาปริมาตรของวัตถุ โดยวัดจากปริมาตรของของเหลวที่ล้นออกมา จากนั้นจึงนำไปคำนวณหาความหนาแน่นของวัตถุได้ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Arithmetic-Logic Unit (ALU) | หน่วยคำนวณและตรรกะ หรือเอแอลยู, หน่วยที่ทำหน้าที่ในการคำนวณต่างๆ ทางคณิตศาสตร์ ได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อทำการตัดสินใจ เช่น การเปรียบเทียบข้อมูล การเปรียบเทียบว่าจริงหรือเท็จ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
computer | คอมพิวเตอร์, อุปกรณ์ที่ประกอบด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์และไอซีต่าง ๆ มากมาย สามารถจดจำและประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ เปรียบเทียบและตัดสินใจทางตรรกศาสตร์ คำนวณทางคณิตศาสตร์ที่มนุษย์ต้องใช้เวลามาก สามารถใช้ช่วยในการออกแบบและสร้างสรรค์งานทางกราฟิกได้ อีกทั้งยังตอบสนองค [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
graphic processing unit( GPU) | ชิปประมวลผลกราฟิก, อุปกรณ์พิเศษที่สามารถเพิ่มความเร็วในการแสดงผลโดยลดภาระซีพียูในการคำนวณข้อมูลที่จะส่งไปที่จอภาพ [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
spreadsheet | ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน, โปรแกรมที่จัดตัวเลข และสูตรไว้ในแถวและคอลัมน์เพื่อคำนวณผลลัพธ์ โดยใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ สถิติหรือการเงิน ในการคำนวณเพื่อสร้างรายงานเอกสาร [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
geometric form | รูปทรงเรขาคณิต, รูปทรงที่มีลักษณะเป็น 3 มิติ คือมีความกว้าง ความยาว และความสูง และสามารถใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์หาปริมาตรที่แน่นอนได้ ได้แก่ รูปทรงกลม รูปทรงกระบอก รูปทรงกรวย ลูกบาศก์ ปริซึม รูปพีระมิด เป็นต้น [พจนานุกรมศัพท์ สสวท.] |
Logistic Curve | สถิติที่คำนวณได้ [การแพทย์] |
Mean Response | การคำนวณหาค่าเฉลี่ย [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ชีววิทยาเชิงคำนวณ | [chīwawitthayā choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational biology |
เชิงคำนวณ | [choēng khamnūan] (adj) EN: computational |
การคำนวณ | [kān khamnūan] (n) EN: calculation FR: calcul [ m ] |
การคำนวณต้นทุน | [kān khamnūan tonthun] (n, exp) EN: cost calculation |
คำนวณ | [khamnūan] (v) EN: calculate ; compute ; estimate ; reckon ; figure ; count FR: calculer ; compter |
คำนวณใหม่ | [khamnūan mai] (v, exp) EN: recalculate FR: recalculer |
คำนวณผิด | [khamnūan phit] (v, exp) EN: miscalculate FR: mal calculer |
คำนวณราคา | [khamnūan rākhā] (v, exp) EN: calculate the price FR: calculer le prix |
เคมีการคำนวณ | [khēmī kān khamnūan] (n, exp) EN: computational chemistry |
เครื่องคำนวณ | [khreūang khamnūan] (n, exp) EN: computer FR: ordinateur [ m ] |
นักคำนวณ | [nakkhamnūan] (n) EN: mathematician |
นาโนเทคโนโลยีเชิงคำนวณ | [nānōthēknōlōyī choēng khamnūan] (n, exp) EN: computational nanotechnology |
Longdo Approved EN-TH
accrual basis | (n) (ในแง่การบัญชี)เกณฑ์คงค้าง, เกณฑ์สิทธิ์, เกณฑ์พึงรับพึงจ่าย, เกณฑ์ในการวัดผลการดำเนินงานสำหรับแต่ละงวดบัญชี ที่ใช้ในการคำนวณหาผลการดำเนินงานของธุรกิจ |
recursive | [เรค' เคอเสฟ] (adj) ลักษณะการทำงานหรือการคำนวณที่ให้ผลลัพธ์แบบย้อนกลับหรือทำซ้ำขั้นตอนเดิม คำในลักษณะ recursive เช่น GNU = GNU's not Unix, PHP = PHP: Hypertext Processor, See also: recurring, recursion, recursive function, Syn. recur |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
account | (n) การคำนวณ, Syn. counting, calculation |
approximation | (n) การประมาณ, See also: การคำนวณอย่างหยาบๆ, Syn. estimate, conjecture |
budget for | (phrv) คำนวณค่าใช้จ่ายให้พอกับ, See also: ประเมินเงินให้เพียงพอกับ |
calculable | (adj) ที่สามารถคำนวณได้, Syn. computable, countable, accountable |
calculate | (vt) คำนวณ |
calculate | (vi) คำนวณ, Syn. compute, reckon |
calculation | (n) การคำนวณ, Syn. computation, figuring |
calculus | (n) ระบบการคำนวณเกี่ยวกับจำนวนที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง เช่น ความเร็วของหินที่ตกลงมา, See also: แคลคูลัส |
carbon dating | (n) การคำนวณอายุของวัตถุเก่าแก่โดยดูจากปริมาณคาร์บอน, Syn. carbon-14 dating, carbon-14 method, radioactive dating |
cast | (n) การคำนวณ, Syn. computation, calculation |
cast | (vt) คำนวณ, Syn. calculate, compute |
computable | (adj) ที่คิดคำนวณได้, Syn. calculable |
computation | (n) การคำนวณ, Syn. computing, counting, calculation |
computation | (n) ผลที่ได้จากการคำนวณ |
compute | (n) การคำนวณ, Syn. camputation |
compute | (vi) คำนวณ |
compute | (vt) คำนวณ, Syn. calculate, measure, reckon |
computer | (n) ผู้คำนวณ |
cost | (vt) คำนวณเงินที่ต้องการ |
count | (n) การนับ, See also: การคำนวณ, การประเมิน |
calculate on | (phrv) คาดการณ์, See also: กะประมาณ, คาด, คำนวณ, Syn. calculate for |
calculate upon | (phrv) คาดการณ์, See also: กะประมาณ, คาด, คำนวณ, Syn. calculate for |
cast up | (phrv) คำนวณ, See also: รวมเป็น, รวมตัวเลข, Syn. wash up |
count out | (phrv) คำนวณ, See also: นับรวม, Syn. count in, reckon in |
cut fine | (phrv) คำนวณ |
figure out | (phrv) คำนวณ, See also: คิดคำนวณ, Syn. work out |
determination | (n) การคำนวณ, See also: ผลของการคำนวณ, Syn. calculation, computation |
forecast | (vt) ทำนาย, See also: ทาย, พยากรณ์, คำนวณล่วงหน้า, คาดการณ์, Syn. foretell, predict |
get out | (phrv) คำนวณ, See also: รวมจำนวน, Syn. come out, work out |
get right | (phrv) ทำไม่ผิด (เช่น คำนวณ, การกระทำ) |
guesswork | (n) การคำนวณคร่าวๆ, See also: การคาดการณ์อย่างคร่าวๆ, Syn. guess, estimation |
incomputable | (adj) ซึ่งไม่สามารถคำนวณไม่ได้, Ant. calculable, computable |
mathematical | (adj) เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, See also: เกี่ยวกับการคำนวณ, Syn. arithmetical, numerical, scientific |
mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math |
miscalculate | (vt) คำนวณผิด, Syn. misjudge, misestimate |
miscalculation | (n) การคำนวณผิด, Syn. error, fallacy, miscount |
miscount | (vt) คำนวณผิด, Syn. miscompute, misestimate |
misestimate | (vt) ประเมินผิด, See also: คาดผิด, คำนวณผิด, Syn. miscalculate, misread |
mistime | (vt) คำนวณเวลาผิด, See also: ประเมินเวลาผิด, Syn. misdate |
number crunching | (n) กระบวนการคำนวณข้อมูลขนาดใหญ่ |
numeracy | (n) ความรู้พื้นฐานที่ดีทางการคำนวณ |
radiocarbon | (n) กัมมันตภาพรังสีในรูปของคาร์บอนที่ใช้คำนวณอายุของอินทรีย์วัตถุ |
reckon | (vt) นับ, See also: คำนวณ, Syn. count, calculate |
reckoning | (n) การคำนวณ, Syn. computation, calculation |
rule | (n) วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์ |
read out | (phrv) อ่านหรือผลของการคำนวณ (ทางคอมพิวเตอร์), Syn. print out |
reckon for | (phrv) คำนวณ, See also: ประเมิน, คาดการณ์, Syn. bargain for, calculate for |
reckon up | (phrv) หาผลรวมของ, See also: คำนวณผลรวมของ, Syn. count up |
reckon with | (phrv) คำนวณด้วย, See also: คิดด้วย, นับด้วย |
reckon without | (phrv) คำนวณโดยไม่มี (บางสิ่ง), Syn. reckon with |
Hope Dictionary
accumulator | ตัวสะสมเป็นหน่วยความจำ ซึ่งอยู่ในหน่วยคำนวณและตรรกะ (arithmetic and logical unit) ของคอมพิวเตอร์ เป็นที่ใช้สำหรับเก็บผลบวก หรือ การคำนวณอื่น ๆ และผลของการเปรียบเทียบเอาไว้ ถ้ามีหลายตัว มักเรียกว่า เรจิสเตอร์ (register) ดู register ประกอบ |
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
alu | (เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ |
analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ |
apple menu | เมนูลูกแอปเปิลหมายถึง โปรแกรมต่าง ๆ ในคอมพิวเตอร์แมคอินทอช ที่สามารถสั่งให้ทำงานในระหว่างที่เครื่องกำลังทำโปรแกรมอื่นอยู่ได้ โปรแกรมเหล่านี้จะรวมอยู่ในเมนูที่มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกแอปเปิลแหว่ง (แทนที่จะมีชื่อเมนูตามปรกติ) และจะอยู่เป็นรายการแรกซ้ายมือสุดบนแถบเมนู เมนูนี้จะประกอบด้วยรายการย่อยอีกหลายรายการด้วยกัน เช่น นาฬิกา, เครื่องคำนวณ, แผงควบคุม ฯ รวมทั้งที่สำคัญที่สุด คือ แฟ้มภาพ ที่เรียกว่า scrapbook เป็นต้น |
arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ |
arithmetic statement | ข้อความสั่งคำนวณ <คำแปล>หมายถึง คำสั่งที่กำหนดให้คอมพิวเตอร์ นำค่าไปเก็บไว้ในหน่วยความจำหรือนำค่าเหล่านั้นไปทำการคำนวณ เมื่อได้ผลจากการคำนวณแล้วจึงนำไปเก็บในตำแหน่งที่ซี่งกำหนดไว้ เช่น score = A+B หมายความว่า ให้นำค่า A+B ได้ผลเท่าใด นำไปเก็บไว้ที่ score |
arithmometer | (อะริธมอม'มิเทอะ) n. เครื่องคิดเลข, เครื่องคำนวณ |
babbage, charles | (ชาร์ลส์ แบบเบจ) เป็นชื่อนักวิทยาศาสตร์คนหนึ่ง มีชีวิตอยู่ตั้งแต่ ค.ศ 1791-1871 เป็นคนแรกที่ประดิษฐ์เครื่องคำนวณที่มีชื่อว่า Analytic Engine ซึ่งมีลักษณะความคิดที่เป็นต้นเค้าของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดิจิตอล ในปัจจุบัน กล่าวคือเป็นเครื่องจักรที่ทำงานไปตามโปรแกรมซึ่งเขียนเก็บไว้ในหน่วยความจำ |
base address | หมายถึง ตำแหน่งเริ่มต้นที่ใช้เพื่อการคำนวณหาเลขที่อยู่ (address) ในแหล่งเก็บข้อมูล จากเลขที่อยู่สัมพัทธ์ (relative address) |
bcd | (บีซีดี) ย่อมาจาก binary coded decimal ถ้าแปลตรง ๆ ก็คือ เลขฐานสิบเข้ารหัสฐานสอง เป็นเทคนิคที่ใช้ใน การเขียนโปรแกรมเพื่อประกันความแม่นตรงของการคำนวณ โปรแกรมประเภท ตารางจัดการ (spreadsheet) มักใช้เทคนิคนี้ |
cae | (ซีเออี) ย่อมาจาก computer-aided engineering (งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
calculable | (แคล'คิวละเบิล) adj. ซึ่งคำนวณได้, ไว้ใจได้, See also: calculability n. ดู calculable |
calculate | (แคล'คิวเลท) { calculated, calculating, calculates } v คำนวณ, ถือว่า, เข้าใจว่า, คาดคะเน, คิดว่า, เดา, วางแผน, ประมาณ, Syn. compute -Conf. estimate |
calculated | adj. คิดคำนวณไว้ด้วยความระมัดระวัง |
calculating | adj. สามารถคำนวณได้, ฉลาด, หลักแหลม, วางแผนไว้อย่างเห็นแก่ตัว, Syn. shrewd |
calculation | (แคลคิวเล'เชิน) n. การคำนวณ, ผลจากการคำนวณ, See also: calculative adj. ดูcalculation, Syn. computation -Conf. estimation |
calculator | (แคล'คิวเล'เทอะ) n. เครื่องคำนวณ, คนคำนวณ |
calculus | (แคล'คิวลัส) n. แคลคิวลัส (การคำนวณระบบหนึ่ง) , นิ่ว, ก้อนหินปูน -pl. calculi, calculuses |
cast | (คาสทฺ) { cast, cast, casting, casts } v., n. (การ) ขว้าง, ทิ้ง, เหวี่ยง, โยน, หว่าน, เปลื้อง, ปลด, ลอก (คราบ) , ทอด (แสง, เงา, สายตา) , ปลด, ลง, หย่อน, ทำนาย, หล่อ, ให้กำเนิด, ปฎิเสธ, ไล่ออก, ให้, จัดการ, เลือก (คนแสดง) , คำนวณ, วางแผน, ข้าง, หล่อแบบ, คำนวณ, บวก, ทำนาย, ตรวจหา คำศัพท์ย่อย: |
central processing unit | หน่วยประมวลผลกลางนิยมใช้ตัวย่อว่า CPU (ซีพียู) หมายถึง ส่วนที่เป็นสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์หรือส่วนที่เรียกว่าตัวประมวลผล (microprocessor) และหน่วยความจำ ประกอบด้วยชิป (chip) ส่วนนี้นับเป็นส่วนสำ คัญที่สุด เพราะเป็นส่วนที่ใช้ทำหน้าที่ในการประมวลผล หรือทำการคำนวณ เมื่อทำการประมวลผล หรือคำนวณในส่วนนี้เสร็จแล้ว ก็จะถ่ายโอนผลลัพธ์ที่ได้ไปไว้ในส่วนอื่นอีกชั้นหนึ่ง ดู input unit และ output unit ประกอบ |
check sum | ผลรวมตรวจสอบหมายถึง ผลการคำนวณเพื่อยืนยันในความแม่นตรงของการถ่ายโอนข้อมูลผ่านทางโมเด็ม ส่วนมากจะเป็น XModem โดยปกติ ในการส่งข้อมูล คอมพิวเตอร์จะต้องจัดการแยกข้อมูลทั้งหมดออกเป็นส่วนเล็ก ๆ ก่อน ฉะนั้นเมื่อส่งเรียบร้อยแล้ว จึงต้องมีการตรวจสอบผลรวม ถ้าตรงกัน ก็แปลว่า ข้อมูลที่ส่งออกไปถูกต้องครบถ้วน |
chip | (ชิพ) 1. { chipped, chipping, chips } n. เศษไม้, เศษหิน, ชิ้น, แผ่นตัด, เศษ, เบี้ย, สิ่งเล็กสิ่งน้อย, สิ่งที่ไร้ค่าหรือมีค่าน้อย, ไม้ตอก, ก้อนมูลแห้ง, เงิน vt. ตัด, เลาะ, แกะ, แชะ, ขูด, สกัด, เจาะ, ทำปากแหว่ง, เฉือนเป็นแผ่นบาง ๆ , พูดเหน็บแนม, พูดสอด, จิกให้ไข่แตก vi. แหว่ง, เป็นรอยร้า 2. n. หมายถึงวงจรรวม (integrated circuit) ทำหน้าที่ เหมือนสาร กึ่งตัวนำ ใช้เป็นที่เก็บข้อมูลหรือหน่วยความจำในไมโครคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน มีชิปแบบวีแอลเอสไอ (VLSI หรือ Very large scale integrated circuit) ซึ่งจะมีทรานซิสเตอร์เป็นพัน ๆ ตัว แต่มีขนาดเล็กนิดเดียว ราคาถูกลงทุกวัน แต่มีประสิทธิภาพสูงมาก ถ้าชิปใดมีทั้งหน่วยความจำ หน่วยคำนวณ และตรรกะ เราจะเรียกชิปนั้นว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (micro processor) ปัจจุบัน เราใช้ชิปกันมากในเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก เครื่องคิดเลข นาฬิกา เครื่องมือแพทย์ ฯ ดู microprocessor ประกอบ |
cipher | (ไซ'เฟอะ) { ciphered, ciphering, ciphers } n. เลขศูนย์, คนที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่สำคัญ, สิ่งที่ไม่มีค่า, รหัสลับ, เครื่องหมายลับ, สัญลักษณ์ลับ, อักษรไขว้, ตัวหนังสือไขว้ vt. คำนวณเป็นตัวเลข, เขียนเป็นระหัส, คิดออกมา. vi. ใช้ตัวเลขหรืออักษรในการคิดคำนวณ คำศัพท์ย่อย: |
computation | (คอมพิวเท'เชิน) n. การคำนวณ, วิธีการคำนวณ, ผลของการคำนวณ, ค่าที่คำนวณได้, Syn. calculation, numeration |
compute | (คัมพิวทฺ') { computed, computing, computes } vt., vi. คำนวณ, ประมาณการ, นับ. n. การคำนวณ., See also: computability n. ดูcompute computable adj. ดูcompute, Syn. calculate, estimate, determine, count |
computer | (คัมพิว'เทอะ) n. เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ, ผู้คำนวณ คณิตกรณ์หมายถึง อุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ทำงานด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำข้อมูลและคำสั่งได้ ทำให้สามารถทำงานไปได้ โดยอัตโนมัติด้วยอัตราความเร็วที่สูงมาก ใช้ประโยชน์ในการคำนวณหรือการทำงานต่าง ๆ ได้เกือบทุกชนิด มี 3 ขนาด คือ ขนาดใหญ่ (main frame) ขนาดกลาง (mini computer) และขนาดเล็กที่กำลังได้รับความนิยมทั่วไปในขณะนี้ เรียกว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ (micro computer) หรือ คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (personal computer) ที่เรียกกันย่อ ๆ ว่า พีซี ปัจจุบัน การใช้ระบบเครือข่ายทำให้เราสามารถใช้คอมพิวเตอร์เป็นที่ค้นหาข้อมูลต่าง ๆ สื่อสารได้ นอกเหนือไปจากการใช้เพื่อการคำนวณตามวัตถุประสงค์ดั้งเดิมของผู้ประดิษฐ์ |
computer aided engineerin | งานวิศวกรรมใช้คอมพิวเตอร์ช่วยใช้ตัวย่อว่า CAE (อ่านว่า ซีเออี) หมายถึง การออกแบบคำนวณเชิงวิศวกรรมนั้น สามารถทำได้โดยอาศัยคอมพิวเตอร์กำหนดสูตรสำเร็จ และจะเปลี่ยนแปลงความต้องการได้เมื่อเปลี่ยนข้อมูล |
computerize | (-พิว'ทะไรซ) vt. คำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์, See also: computerization n. ทำให้เป็นระบบคอมพิวเตอร์หมายถึง งานต่าง ๆ ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์เข้าไปช่วย แทนที่จะทำด้วยมือ Manual ซึ่งจะให้ผลที่รวดเร็ว แน่นอน และมีความผิดพลาดน้อย ตัวอย่างเช่นการพิมพ์ด้วยเครื่องพิมพ์ดีด ย่อมจะสู้การพิมพ์ด้วยคอมพิวเตอร์ไม่ได้ เพราะเร็วกว่า แก้ไขง่ายกว่า เก็บบันทึกไว้ใช้ใหม่ก็ได้ เป็นต้น |
computerized | (คัมพิว'เทอไรซดฺ) adj. ซึ่งใช้หรือคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ |
control unit | หน่วยควบคุมเป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit) หน่วยควบคุม มีหน้าที่ควบคุมการทำงานทั้งหมด กล่าวคือ ควบคุมการทำงานของหน่วยคำนวณและตรรกะ ควบคุมการรับ/ส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจำหลัก (main memory) กับหน่วยความจำในหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ติตต่อและควบคุมการทำงานของหน่วยรับข้อมูลและแสดงผล (input/output unit) เป็นต้นว่า รับข้อมูลเข้ามาเก็บในหน่วยความจำ ปฏิบัติตามคำสั่งในโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง รวมทั้งจัดการให้การทำงานเป็นไปตามขั้นตอน และแสดงผลตามคำสั่งด้วยดู central processing unit ประกอบ |
coprocessor | ตัวประมวล (ผล) ร่วมหมายถึง ตัวประมวลผลตัวหนึ่ง ที่แยกออกมาเพื่อเอาไว้ใช้ทำงานในส่วนที่เกินความสามารถของตัวประมวลผลหลัก เพื่อที่จะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วขึ้น เช่น ตัวประมวลภาพจะทำหน้าที่เฉพาะในเรื่องการแสดงภาพ ตัวประมวลผลคณิตก็จะทำหน้าที่เฉพาะด้านการคำนวณ |
cpu | (ซีพียู) เป็นคำที่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต้องรู้จัก ย่อมาจาก Central Processing Unit แปลว่า ตัวประมวลผลกลาง หมายถึงส่วนสมองของเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ประกอบด้วยหน่วย ความจำ หน่วยคำนวณ และหน่วยควบคุม เมื่อพูดถึง "ซีพียู" ของไมโครคอมพิวเตอร์ มักจะหมายถึงชิป (chip) ที่ใช้ ว่าเป็นเบอร์ 80286, 80386, 80486 หรือ เพนเทียม (pentium) |
data processing | n. กระบวนการหรือเทคนิคการป้อนข้อมูล ใช้ตัวย่อว่า DP (อ่านว่า ดีพี) หมายถึง การนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่น จัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการ หรือ ผลที่จะนำไปใช้ต่อไป โดยปกติจะใช้คำเต็ม ๆ ว่า electronic data processing หรือ EDP ซึ่งหมายเฉพาะถึง การประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เท่านั้น |
digital computer | ดิจิตอลคอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์เชิงเลขหมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์แบบหนึ่ง ซึ่งจะแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการทางเลขคณิต โดยป้อนข้อมูลเป็นตัวเลข และให้ผลลัพธ์เป็นเลข คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะคิดคำนวณในระบบตัวเลขด้วยสัญญาณดิจิตอล คือ บวก ลบ คูณ หาร และเปรียบเทียบ และจะให้ค่าที่ไม่ต่อเนื่อง คอมพิวเตอร์นั้นแบ่งตามลักษณะการรับ/ส่งข้อมูลเป้น 2 ชนิด คือ อะนาล็อกคอมพิวเตอร์ (analog computer) และดิจิตอลคอมพิวเตอร์ (digital computer) คอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้ส่วนมากจะเป็น ดิจิตอลคอมพิวเตอร์เกือบทั้งสิ้น ผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จะถูกต้องและแม่นยำกว่าอะนาล็อกคอมพิวเตอร์ดู analog computer เปรียบเทียบ |
dope | (โดพ) { doped, doping, dopes } n. สารทำให้เกิดอาการง่วงหลับ, กาว, ยากระตุ้น, ยาม้า, ข่าวสาร, ข้อมูล, คนโง่เง่า, เครื่องดื่มคาร์บอเนต (โดยเฉพาะโคคาโคล่า) . vt. กระตุ้นด้วยยากระตุ้น. -Phr. (dope out คำนวณ, คาดการณ์, ร่างโครงการ), See also: dope fiend n. คนติดยาเสพ |
dp | (ดีพี) ย่อมาจาก data processing (แปลว่า การประมวลผลข้อมูล) หมายถึงการนำข้อมูลดิบ (raw data) มาดำเนินการบางประการ เช่นจัดจำแนก คัดแยก คำนวณ บันทึก เปรียบเทียบ เพื่อให้เกิดผลตามต้องการหรือผลที่จะนำไปใช้ต่อไปได้ โดยปกติจะหมายถึงการประมวลผลโดยใช้คอมพิวเตอร์เท่านั้น |
error rate | อัตราความผิดพลาดหมายถึง มาตรฐานการวัดคุณภาพของวงจร หรือระบบถ่ายโอนข้อมูล การคำนวณโดยใช้วิธีการ นำจำนวนข้อผิดพลาดของข้อมูล หารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด หรืออาจจะคิดเป็น อัตราต่อหน่วยเวลาก็ได้ |
estimate | (เอส'ทิเมท) v., n. (การ) ประมาณ, ประเมิน, กะ, ตีราคา, คำนวณ, คิด, วินิจฉัย, ความคิดเห็น, ค่าที่ประเมิน, ราคาที่ประเมิน., See also: estimator n. ดูestimate, Syn. evaluate |
exclusive or | หรือใช้ตัวย่อว่า XOR (อ่านว่า ซอร์) เป็นคำที่นักเขียนโปรแกรมใช้ เมื่อจะสั่งให้แสดงภาพออกมาเป็นตัวดำเนินการเชิงตรรกะตัวหนึ่ง ซึ่งใช้เลขฐานสอง สองตัวมาทำให้เกิดเป็นค่าใหม่ ถ้าในการคำนวณได้ผลลัพธ์เป็น 0 แสดงว่าคอมพิวเตอร์คำนวณได้ผลออกมาเหมือนกัน แต่ถ้าค่าออกมาไม่เท่ากัน ผลลัพธ์จะออกมาเป็นหนึ่ง อย่างไรก็ตาม ถ้าไม่คิดจะเป็นนักเขียนโปรแกรม ก็ไม่มีความจำเป็นจะต้องเข้าใจเรื่องตรรกะนี้ก็ได้ |
figure | (ฟิก'เกอะ) { figured, figuring, figures } n. รูปร่าง, รูปภายนอก, รูปหล่อ, รูปสลัก, ร่าง, ทรวดทรง, ภาพวาด, ตัวเลข, จำนวน, จำนวนเงิน, ราคา, เครื่องหมาย, สัญลักษณ์, รูปแบบ, แบบแผน, อุปมาอุปไมย, แบบระบำ, แบบสำนวน vt. คำนวณ, แสดงออกเป็นรูป, สรุป, วาดภาพ, จินตนาการ, ประเมิน, คิด, คาดคะเน. |
graphics | (แกรฟ'ฟิคซฺ) n. ศิลปะการเขียน, การทำภาพพิมพ์, วิชาการคำนวณด้วยแผนภูมิ'หรือไดอะแกรม |
hashing | (แฮชชิง) หมายถึง วิธีการเขียนโปรแกรมให้จานบันทึกเก็บข้อมูลได้โดยอาศัยวิธีการคำนวณ การจะเข้าถึงข้อมูลได้ จะต้องรู้เลขประจำตำแหน่งต่าง ๆ เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม ถ้าคิดเพียงจะเป็น ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ ก็ไม่จำเป็นต้องรู้จักคำนี้เลยก็ได้ |
incomputable | (อินคัมพิว' ทะเบิล) adj. คำนวณไม่ได้, เหลือคณานับ., See also: incomputably adv., Syn. uncountable |
inference engine | เครื่องอนุมานเป็นส่วนสำคัญส่วนหนึ่งในระบบผู้เชี่ยวชาญ ระบบผู้เชี่ยวชาญนั้นจะประกอบไปด้วยสามส่วนคือ 1. ตัวประสานกับผู้ใช้ (user interface) 2. ฐานความรู้ (knowledge based) และ3. ส่วนอนุมาน ส่วนอนุมานนั้นจะเป็นส่วนที่ทำหน้าที่คำนวณหาผลลัพธ์จากข้อเท็จจริงและข้อสนเทศที่ได้เก็บเอาไว้แล้ว โดยผู้ใช้เป็นผู้จัดหาข้อสนเทศนั้นให้อีกชั้นหนึ่ง |
informatics | สนเทศศาสตร์เป็นวิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับสารสนเทศ (information) และการคำนวณเพื่อคาดการณ์ในอนาคต เป็นคำที่ชาวยุโรปนำมาใช้แทนคำ computer science ที่แปลว่า วิทยาการคอมพิวเตอร์ดู computer science ประกอบ |
input | (อิน'พุท) n. สิ่งที่ใส่เข้า, สิ่งที่ป้อนเข้า, การป้อนเข้า, การนำเข้า, ด้านเข้า, ทางเข้า, กำลังกระแสไฟฟ้า, กำลังโวลท์, ข้อมูลสำหรับแก้ปัญหา, ข้อมูลที่ป้อนเข้าเครื่องคำนวณเครื่องคอมพิวตอร์, เงินบริจาค. adj. เกี่ยวกับข้อมูลที่ป้อนเข้า |
job control program | ชุดคำสั่งควบคุมงานหมายถึงชุดคำสั่งหรือโปรแกรมชุดหนึ่ง ที่มีหน้าที่ควบคุมสายงานในการปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่มตั้งแต่อ่านข้อมูลเข้าไปเก็บ กำหนดว่าจะต้องใช้อุปกรณ์หรือชุดคำสั่งใดบ้าง (เช่น ตัวแปลภาษาใด) กำหนดการเริ่มกระทำการ (execute) และการส่งผลที่คำนวณแล้วไปยังเครื่องพิมพ์ ฯมีความหมายเหมือน job control language |
julian | (จูล'เยิน) adj. เกี่ยวกับหรือมีลักษณะของจูเลียส ซีซาร์ จูเลียน <คำอ่าน>เป็นวิธีคิดคำนวณวันที่อย่างง่าย ๆ วิธีหนึ่ง ระบบจูเลียนนี้กำหนดให้ทุก ๆ วันมีหมายเลขเฉพาะ เช่น วัน 1 แทนวันที่ 1 มกราคม เมื่อ 4713 ปีก่อนคริสตศักราช วัน 2448299 ก็แทนวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1991 เป็นต้น |
lcd | (แอลซีดี) ย่อมาจากคำว่า liquid crystal display (จอภาพผลึกเหลว) ใช้ทำจอภาพ มีลักษณะเป็นของเหลวใสเหมือนแก้วเจียรนัย อัดอยู่ระหว่างเนื้อแก้วสองชั้น เมื่อถูกกระตุ้นด้วยแสงจากภายนอก จะสะท้อนแสงออกมาเป็นมุมต่าง ๆ ใช้เป็นตัวแสดงอักขระและภาพ คอมพิวเตอร์ขนาดวางตักนิยมใช้จอภาพชนิดนี้ จอภาพนี้แม้จะใช้กำลังไฟฟ้าน้อยมาก แต่จะชัดเจนดี นิยมใช้กับเครื่องคำนวณที่มีขนาดเล็กมาก ๆ ด้วย |
Nontri Dictionary
calculate | (vt) คิดเลข, คำนวณ, คาดคะเน |
calculation | (n) การคำนวณ, การคิดเลข, การคาดคะเน |
calculator | (n) เครื่องคำนวณ, เครื่องคิดเลข |
cast | (n) รูปหล่อ, การขว้าง, การเลือกตัวละคร, การทอดลูกเต๋า, การคำนวณ |
computation | (n) การคำนวณ, การนับ, การประมาณการ |
compute | (n) คำนวณ, นับ, ประมาณการ |
computer | (n) เครื่องคอมพิวเตอร์, เครื่องคำนวณ |
count | (n) การนับ, การคำนวณ, ตำแหน่งท่านเคานต์ |
count | (vt) นับ, คำนวณ, คิดว่า, หวังว่า, เข้าใจว่า |
cypher | (vt) คิดเลข, คำนวณ, เขียนรหัส |
estimate | (vt) ประมาณ, ประเมิน, ตีค่า, กะ, คำนวณ |
figure | (vt) นึก, คิด, กะ, ไตร่ตรอง, คำนวณ, แสดงเป็นรูป |
mensuration | (n) การคำนวณเนื้อที่, การวัด |
miscalculate | (vt) คำนวณผิด, คาดผิด, กะผิด |
miscalculation | (n) การคำนวณผิด, การคาดผิด, การกะผิด, การวินิจฉัยผิด |
miscount | (vt) นับผิดไป, คำนวณผิด |
reckon | (vt) นับ, คิด, คาดคะเน, สรุป, คำนวณ, ประเมิน, พิจารณา |
reckoning | (n) การนับ, การคำนวณ, การชำระบัญชี, การคิดบัญชี |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
compute | (vt) compute vt. คึ่มพิ้วท์ (พบบ่อย) 1. คำนวณ nc. ค็อมพิ้วเตอร์ (บังคับ) 1. (comp.) คอมพิวเตอร์อุปกรณ์ประมวลผลที่มีความจำ ตามชุดคำสั่ง และสามารถบันทึกผลการประมวลได้ 2. (comp.) พนักงานคำนวณ ในแง่ที่ทำกันเป็นร้อยคน ในสมัยโบราณ ในงานดาราศาสตร์ (ความหมายโบราณ) nc. 1. (comp.) ศิลปะโดยคอมพิวเตอร์ คือ ศิลปที่สร้างหรือทำขึ้นโดยคอมพิวเตอร์ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพ หรือระบายสี เป็นต้น nc. 1. (comp.) คอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง คือ ได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดเมนเฟรม หรือมินิคอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นศูนย์กลางเครือข่ายทำหน้าที่บริการด้านประมวลผลข้อมูลแก่ผู้ใช้บริการในเครือข่าย nc. 1. (comp.) สกุลของคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในกลุ่มที่สร้างขึ้นจาก microprocessor ชนิดเดียวกัน หรือ คล้ายกัน ตัวอย่างสกุลของคอมพิวเตอร์ เช่น คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลของบริษัทไอบีเอ็ม และแบบ PS /2 nc. 1. (comp.) เกมคอมพิวเตอร์ คือ การเล่นเกมโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ การเล่นเกมในคอมพิวเตอร์ มักควบคุมการเล่นโดยคันโยก (joystick)หรือ แป้นพิมพ์ (keyboard) ก็ได้ nc. 1. (comp.) ชุดคำสั่งที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่งเพื่อจะนำไปใช้สั่งให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานตามคำสั่งนั้น ๆ nc. 1. (comp.) ระบบคอมพิวเตอร์ คือ ระบบคอมพิวเตอร์ ประกอบไปด้วยชุดฮาร์ดแวร์ และเครื่องอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่ทำหน้าที่ร่วมกันของระบบ เช่น ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยตัวเครื่อง ดิสก์ไดร้ว์ จอภาพ คีย์บอร์ด เครื่องพิมพ์ และเมาส์ nc. 1. (comp.) ยุคพัฒนาการคอมพิวเตอร์ ในช่วงระหว่างกลางปี พ.ศ. 2503 - 2513 เป็นยุคที่คอมพิวเตอร์เปลี่ยนมาใช้ IC หรือวงจรรวม ชื่อเต็มว่า integrated circuit หรือ IC n. (ศัพท์คอม) 1. (comp.) ความสามารถที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ให้เป็นประโยชน์ nc. 1. (comp.) การใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการสอน มีความหมาย เช่นเดียวกับ computer-assisted instruction สามารถดูคำอธิบายใน CAI n. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ศัพท์ที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ v. (ไม่ต้องท่อง) 1. (comp.) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยทำงาน |
figuring out | (n) การคิดคำนวณ การแก้ปัญหา |
quaternion | (n) สมการคำนวณการหมุนในระบบ 3 มิติ เมื่อมีการหมุนด้วยมุม t ใดๆรอบแกนที่อธิบายด้วยเวคเตอร์หนึ่งหน่วย(x1, y1, z1) ซึ่งการหมุนนี้สามารถอธิบายด้วยสมการดังต่อไปนี้ q = cos(t/2) + i ( x1 * sin(t/2)) + j (y1 * sin(t/2)) + k ( z1 * sin(t/2)) |
Longdo Approved DE-TH
rechnen | คำนวณ |
Rechner | (n) |der, pl. Rechner| เครื่องคำนวณ, คอมพิวเตอร์, See also: der Computer |
umrechnen | (vt) |rechnete um, hat umgerechnet, in etw.(A)| คำนวณเปลี่ยนหน่วย เช่น Euro in Baht umrechnen คำนวณเปลี่ยนเงินยูโรเป็นเงินบาท |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0451 seconds, cache age: 3.396 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม