90 ผลลัพธ์ สำหรับ *ความขัดแย้ง*
ภาษา
หรือค้นหา: ความขัดแย้ง, -ความขัดแย้ง-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
ความขัดแย้ง | (n) conflict, See also: opposition, disagreement, controversy, quarrel, argument, Syn. การขัดกัน, ความไม่ถูกกัน, ความไม่ลงรอยกัน, Example: ประเทศอภิมหาอำนาจจะพยายามแก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่างยิวและอาหรับ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
จริงอยู่แต่, จริงอยู่...แต่ | สัน. ใช้แสดงความยืนยันข้อความที่กล่าวมาแล้วข้างหน้า และแสดงว่ามีข้อความขัดแย้งตามมาข้างหลัง. |
เฮ่ย | อ. คำที่เปล่งออกมาแสดงความขัดแย้งไม่เห็นด้วยหรือเห็นว่าไม่สำคัญเป็นต้น. |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
self-contradiction | ความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradiction | ๑. ความขัดแย้งกัน๒. ข้อความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradiction, self- | ความขัดแย้งในตัว [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
contradictory statements | ข้อความขัดแย้ง [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
conflict | ความขัดแย้ง [วรรณกรรม ๖ มี.ค. ๒๕๔๕] |
conflict management | การจัดการกับความขัดแย้ง [รัฐศาสตร์ ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Arab-Israeli conflict | ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลและอาหรับ [TU Subject Heading] |
Conflict management | การบริหารความขัดแย้ง [TU Subject Heading] |
Contradiction | ความขัดแย้งกัน [TU Subject Heading] |
Culture conflict | ความขัดแย้งทางวัฒนธรรม [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1947-1949 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1947-1949 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1965 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1965 [TU Subject Heading] |
India-Pakistan Conflict, 1971 | ความขัดแย้งระหว่างอินเดียและปากีสถาน, ค.ศ. 1971 [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict | ความขัดแย้งระหว่างบุคคล [TU Subject Heading] |
Interpersonal conflict in motion pictures | ความขัดแย้งระหว่างบุคคลในภาพยนตร์ [TU Subject Heading] |
Low-intensity conflicts (Military science) | ความขัดแย้งแบบลดความรุนแรง (การทหาร) [TU Subject Heading] |
Social conflict | ความขัดแย้งทางสังคม [TU Subject Heading] |
Social conflict in mass media | ความขัดแย้งทางสังคมในสื่อมวลชน [TU Subject Heading] |
ASEAN Regional Forum | การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคงในภูมิภาค เอเชีย-แปซิฟิก " เป็นการประชุมระหว่างรัฐมนตรีต่างประเทศอาเซียนกับรัฐมนตรี ต่างประเทศของประเทศคู่เจรจาของอาเซียน (Dialogue Partners) ได้แก่ ญี่ปุ่น สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต้) สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย จีน รัสเซีย และสหภาพยุโรป ผู้สังเกตการณ์ (Observers) ของอาเซียน ได้แก่ ปาปัวนิวกินี และประเทศอื่น ๆ ที่มีบทบาทสำคัญในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เช่น มองโกเลียและสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี (เกาหลีเหนือ) โดย ARF ได้ใช้ ""geographical footprint"" หรือขอบเขตทางภูมิศาสตร์ เป็นปัจจัยสำคัญเพื่อประกอบการพิจารณารับสมาชิกใหม่ ปัจจุบัน ARF มีประเทศสมาชิก 22 ประเทศ กับ 1 กลุ่ม (สหภาพยุโรป) โดยมีการประชุมเป็นประจำทุกปีในช่วงต่อเนื่องกับการประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศอาเซียน (ASEAN Ministerial Meeting - AMM) เป็นเวทีปรึกษาหารือเพื่อส่งเสริมความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ระดับพหุภาคีในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก และพัฒนาแนวทางการ ดำเนินการทางการทูตเชิงป้องกัน (Preventive Diplomacy) ที่มุ่ง ป้องกันการเกิดและขยายตัวของความขัดแย้ง โดยใช้มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ (Confidence Building Measures - CBMs) ระหว่างกัน ทั้งนี้ ARF มีการประชุมระดับรัฐมนตรีครั้งที่ 1 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2537 และไทยเป็นเจ้าภาพจัดการประชุม ARF ระดับรัฐมนตรีอีกครั้ง ซึ่งเป็นครั้งที่ 7 ที่กรุงเทพฯ เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม 2543 นอกจากการประชุม ARF ประจำปีแล้วยังมีการดำเนินกิจกรรมระหว่างปี (Inter-sessional Activities) ในสองระดับ คือ กิจกรรมที่เป็นทางการ (Track I) และกิจกรรมที่ไม่เป็นทางการ (Track II) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จัดร่วมกันระหว่างรัฐบาลกับสถาบันวิชาการของ ประเทศผู้เข้าร่วม ARF ได้แก่ (1) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมกลุ่มสนับสนุนว่าด้วยมาตรการสร้างความไว้เนื้อ เชื่อใจของ ARF (ARF Inter-sessional Support Group on Confidence Building Measures - ARF ISG on CBMs) (2) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการบรรเทาภัยพิบัติของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Disaster Relief - ARF ISM on DR) (3) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการรักษาสันติภาพของ ARF (Inter-sessional Meeting on Peace-keeping Operations - ARF ISM on PKO) และ (4) การประชุมระหว่างปีกิจกรรมเรื่องการประสานและร่วมมือด้านการค้นหาและกู้ภัย ของ ARF (ARF Inter-sessional Meeting on Search and Rescue Coordination - ARF ISM on SAR) " [การทูต] |
Confidence Building Measures | มาตรการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจ เป็นมาตรการเพื่อสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างรัฐ/เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทั้งด้านการเมือง ความมั่นคง และการทหาร เพื่อลดความหวาดระแวง ลดความขัดแย้ง และสร้างความมั่นใจระหว่างสองฝ่ายหรือหลาย ๆ ฝ่าย อันจะเป็นการส่งเสริมการทูตเชิงป้องกัน ทั้งนี้ CBMs เป็นกระบวนการที่สำคัญในกรอบการประชุม ARF [การทูต] |
ethnic conflict | ความขัดแย้งที่เกิดจากความแตกต่างทางด้านชาติพันธุ์ [การทูต] |
Peacebuilding Commission | คณะกรรมาธิการเสริมสร้างสันติภาพ จัดตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2548 เพื่อให้คำปรึกษาเรื่องการเสวริมสร้างสันติภาพในกรอบสหประชาชาติแก่ประเทศ ที่เพิ่งผ่านพ้นความขัดแย้ง รวมทั้งเป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อระหว่างกระบวนการสร้างสันติภาพ (peace enforcement) การรักษาสันติภาพภาพ (peacekeeping) และการเสริมสร้างสันติภาพ (peacebuilding) [การทูต] |
peace keeping | การรักษาสันติภาพ " หมายถึง การส่งคณะเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายทหารและพลเรือนในนามของสหประชาชาติเข้าไปใน พื้นที่ที่มีความขัดแย้งโดยความยินยอมของ ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อทำหน้าที่ดูแลให้มีการปฏิบัติตามข้อตกลงหยุดยิง หรือความตกลงสันติภาพ หรือกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยวิถีทาง การเมือง " [การทูต] |
peace making | การทำให้เกิดสันติภาพ เป็นการดำเนินการทางการทูตโดยมักใช้วิธีไกล่เกลี่ย และเจรจาเพื่อยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี [การทูต] |
Shuttle Diplomacy | การทูตแบบกระสวย หมายถึง การเดินทางไปเจรจาทางการทูตเพื่อคลี่คลายปัญหาหรือกรณีพิพาทโดยผู้ไกล่ เกลี่ยจะต้องเดินทางกลับไป-กลับมาระหว่างประเทศหรือคู่กรณีที่มีความขัดแย้ง กัน เช่น การแก้ปัญหาในตะวันออกกลาง [การทูต] |
Treaty of Amity and Cooperation | สนธิสัญญาไมตรีและความร่วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ " เป็นสนธิสัญญาที่จัดทำขึ้นโดยอาเซียนเมี่อปี พ.ศ. 2519 เพื่อกำหนด หลักการดำเนินความสัมพันธ์ในภูมิภาค โดยมีหลักการที่สำคัญได้แก่ การเคารพในอำนาจอธิปไตย ความเท่าเทียมกัน บูรณภาพแห่งดินแดน การไม่แทรกแซงกิจการภายใน การแก้ไขปัญหาโดยสันติ การไม่ใช้หรือขู่ว่าจะใช้กำลัง และการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างกัน รวมทั้งมีมาตราเกี่ยวกับแนวทางยุติความขัดแย้งโดยสันติวิธี โดยอาศัยกลไกคณะอัครมนตรี (High Council) ปัจจุบันประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้ง 10 ประเทศ เป็นภาคีสนธิสัญญาฯ " [การทูต] |
Communication, Double Blind | การสื่อความหมายที่มีความขัดแย้งกันเองในเวลา [การแพทย์] |
Conflict | ความขัดแย้ง [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Approach | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-เข้าหา [การแพทย์] |
Conflict, Approach-Avoidance | ความขัดแย้งเข้าหา-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Avoidance-Avoidance | ความขัดแย้งชนิดหลีกหนี-หลีกหนี [การแพทย์] |
Conflict, Double Approach Avoidance | ความขัดแย้งชนิดเข้าหา-หลีกหนีซ้อน [การแพทย์] |
Conflict, Psychodynamic | ความขัดแย้งทางจิตพลวัต [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious | ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก, ความขัดแย้งในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
Conflict, Unconscious, Internal | ความขัดแย้งภายในจิตไร้สำนึก [การแพทย์] |
ความขัดแย้ง | ความขัดแย้ง, สภาวะหรือเหตุการณ์ที่ทำให้บุคคลเกิดความรู้สึกมีความขัดแย้งในตนเอง เมื่อถึงเวลาที่เผชิญแล้ว บุคคลนั้นเกิดความลำบากใจ หนักใจ หรืออึดอัดใจในการตัดสินใจ ตกลงใจที่จะเลือกกระทำสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ความขัดแย้งแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. ความขัดแย้งในใจที่บุคคลจะต้องต [สุขภาพจิต] |
ตัวกระตุ้นทางใจ | ตัวกระตุ้นทางใจ, สิ่งที่ไปเร้าจิตใจให้เกิดการกระทำจัดการอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยที่สิ่งนั้นอาจสร้างผลดีหรือผลเสียได้หลายรูปแบบ เช่น ความสับสน (Confusion) ความกดดัน (Pressure) ความเครียด (Stress) ความคับข้องใจ (Frustration) ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้ได้ย้ [สุขภาพจิต] |
กลไกป้องกันทางจิต | กลไกป้องกันทางจิต, วิธีการปรับตัวและปรับจิตใจเพื่อให้ผ่านพ้นจากผลกระทบที่ก่อให้เกิดความ สับสน ความอึดอัดใจ ความคับข้องใจ ความขัดแย้ง จนเป็นความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นในจิตใจของบุคคล อันเนื่องมาจากสถานการณ์ที่ปรารถนาหรือถูกคุกคามอย่างที่สุด เพื่อป้องกันตนเองในระดับจิตไร้สำนึก ให้ [สุขภาพจิต] |
Lose-Lose Emphasis | ความขัดแย้งจากฝ่ายแพ้ทั้งคู่ [การแพทย์] |
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
ความขัดแย้ง | [khwām khatyaēng] (n, exp) EN: conflict ; contradiction |
ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งกันในเชิงผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng kan nai choēng phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งกันในด้านผลประโยชน์ | [khwām khatyaēng kan nai dān phonprayōt] (n, exp) EN: conflict of interest |
ความขัดแย้งระหว่างศาสนา | [khwām khatyaēng rawāng sātsanā] (n, exp) FR: conflit interreligieux [ m ] |
สะสางความขัดแย้ง | [sasāng khwām khatyaēng] (v, exp) EN: settle a conflict |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
Hope Dictionary
agon | (แอก' ออน) n., (pl. agones) การแข่งขันที่มีการให้รางวัล, ความขัดแย้ง |
antinomy | (แอนทิน' โนมี) n. ความขัดแย้งกันระหว่างกฎหรือหลักการ, คำพูดหรือข้อความที่ขัดกันเอง. -antinoic (al) adj., (contradiction) |
clash | (แคล?) { clashed, clashing, clashes } vi. เสียงดังกระทบกัน, ปะทะโครม, ขัดแย้ง vt. ชนเสียงดัง n. เสียงดังปะทะ, ความขัดแย้ง, การต่อสู้การต่อต้าน, สงคราม |
collision | (คะลิส'เชิน) n. การปะทะกันโครม, ความขัดแย้ง, , Syn. clash |
combat | (v. คัมแบท', n. คอม'แบท) { combated, combating, combats } vt. ต่อสู้, ต่อต้าน, รบกับ vi. ต่อสู้ n. การรบ, การต่อสู้, ความขัดแย้ง, Syn. fight |
contestation | (คอนเทสเท'เชิน) n. การแข่งขัน, ความขัดแย้ง, การโต้เถียง |
contradiction | (คอนทระดิค'เชิน) n. การโต้แย้ง, การเถียง, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน |
discord | (ดิส'คอร์ด) { discorded, discording, discords } n. ความไม่ลงรอยกัน, ความบาดหมาง, ความไม่ประสานกัน, ความขัดแย้ง, การทะเลาะ, การต่อสู้, สงคราม, เสียงที่ไม่เข้ากัน. vi. ไม่เห็นด้วย, Syn. disagreement, strife |
discrepancy | (ดิสเครพ'เพินซี) n. ความไม่ลงรอยกัน, ความไม่ตรงกัน, ความขัดแย้ง., See also: discrepance n., Syn. variance, difference, gap, Ant. similarity, unity |
dissension | (ดิเซน'เชิน) n. ความไม่เห็นด้วยอย่างแรง, ความไม่ลงรอยกัน, การทะเลาะ, ความขัดแย้ง, Syn. discord, disagreement |
friction | (ฟริค'เชิน) n. การเสียดสี, การขัดสี, ความขัดแย้ง, ความไม่ลงรอยกัน., See also: less adj., Syn. attrition |
strife | (สไทรฟฺ) n. ความขัดแย้งอย่างรุนแรง, การต่อสู้กัน, การปะทะกัน, การดิ้นรน, การทะเลาะวิวาท, ความสับสนอลหม่าน, ความพยายามเต็มที่, การแข่งขัน, See also: strifeful adj., Syn. discord, conflict-A. peace, concord |
tilt | (ทิลทฺ) vt. ทำให้เอียง, ทำให้กระดก, ทำให้ตะ-แคง, โจมตี, โถมเข้าใส่, ถือหอกเตรียมแทง. vi. เอียง, กระดก, ตะแคง, โถมเข้าใส่ด้วยหอก, โจมตี n. การเอียง, การกระดก, ตำแหน่งเอียง, ที่ลาด, การต่อสู้, การโต้เถียง, ความขัดแย้ง, การโจมตีด้วยหอก, -Phr. (full tilt เต็มแรง เต็มที่ |
trouble | (ทรัพ'เบิล) n. ความยุ่งยาก, ความยากลำบาก, การรบกวน, สิ่งรบกวน, อุปสรรค, ความเป็นทุกข์, ความเจ็บปวด, ความขัดแย้ง, ความไม่สบาย vt. รบกวน, ทำให้ยุ่งยาก, ทำให้เป็นทุกข์, ทำให้ลำบาก. -Phr. (in trouble ยุ่งยาก, ตั้งครรภ์ก่อนสมรส), See also: troubledly adv. troub |
Nontri Dictionary
collision | (n) การปะทะกัน, การกระทบกัน, ความขัดแย้ง |
combat | (n) การต่อสู้, การต่อต้าน, การรบ, ความขัดแย้ง |
controversy | (n) ความขัดแย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง, การเถียง, การโต้คารม |
dissension | (n) การทะเลาะ, การวิวาท, ความขัดแย้ง, ความไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
dissent | (n) ความขัดแย้ง, ความแตกแยก, ความไม่เห็นด้วย, ความแตกร้าว |
dissidence | (n) ความขัดแย้ง, การไม่เห็นด้วย, ความไม่ลงรอยกัน |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
conflict of opinion | (phrase) ความขัดแย้งทางความคิด |
Longdo Approved DE-TH
Kampf | (n) |der, pl. Kämpfe| ความขัดแย้ง, See also: der Konflikt |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.1635 seconds, cache age: 4.446 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม