257 ผลลัพธ์ สำหรับ *คณิตศาสตร์*
ภาษา
หรือค้นหา: คณิตศาสตร์, -คณิตศาสตร์-NECTEC Lexitron-2 Dictionary (TH-EN)
คณิตศาสตร์ | (n) mathematics, Syn. คณิต, เลข, เลขคณิต, Example: โปรแกรมการสอนคณิตศาสตร์และภาษาอังกฤษมีจำหน่ายแล้ว, Count Unit: วิชา, Thai Definition: วิชาว่าด้วยการคำนวณ |
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔
คณิตศาสตร์ | (คะนิดตะสาด, คะนิดสาด) น. วิชาว่าด้วยการคำนวณ. |
คอมพิวเตอร์ | น. เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สำหรับแก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์. |
แคลคูลัส | (แคน-) น. คณิตศาสตร์ชั้นสูงแขนงหนึ่ง ศึกษาเกี่ยวกับค่าของจำนวนที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา แบ่งออกเป็น แคลคูลัสเชิงอนุพันธ์ และแคลคูลัสเชิงอินทิกรัล. |
โจทย์ | (โจด) น. คำถามในวิชาคณิตศาสตร์, โดยปริยายใช้หมายถึงสิ่งที่คล้ายคลึงเช่นนั้น เช่น ปัญหานี้เป็นโจทย์ที่รัฐบาลแก้ไม่ตก. |
ตรีโกณมิติ | (ตฺรีโกน-) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยฟังก์ชันของตัวแปรจริง ซึ่งแทนขนาดของมุมในรูปสามเหลี่ยม, คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการใช้ฟังก์ชันของมุมเป็นรากฐานในการศึกษาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมหรือรูปอื่นใดที่ทอนลงมาเป็นรูปสามเหลี่ยมได้. |
ตัว ๒ | น. จำนวนเลขที่ใช้ในการคำนวณหาคำตอบตามวิธีการทางคณิตศาสตร์ เช่น ตัวบวก ตัวลบ ตัวคูณ ตัวหาร, ลักษณนามใช้เรียกตัวเลข เช่น เลขท้าย ๒ ตัว. |
บวก | ในทางคณิตศาสตร์เรียกจำนวนเลขที่มีค่ามากกว่าศูนย์ ว่า จำนวนบวก. |
บวก | น. เรียกเครื่องหมายคณิตศาสตร์รูปดังนี้ + ว่า เครื่องหมายบวก. |
พีชคณิต | (พีชะคะนิด) น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ใช้สัญลักษณ์มาศึกษาการจำแนกประเภท คุณสมบัติ และโครงสร้างของระบบจำนวนหรือระบบคณิตศาสตร์อื่น ๆ ที่เน้นในเรื่องโครงสร้างเป็นสำคัญ รวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระบบเหล่านั้นด้วย. |
รากฐาน | น. หลักสำคัญอันเป็นพื้นฐานรองรับ, ส่วนที่เป็นพื้นรองรับสำหรับพัฒนาต่อไป, เช่น วางรากฐานการศึกษา วิชาคณิตศาสตร์เป็นรากฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ |
เรขาคณิต | น. คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการจำแนกประเภท สมบัติ และโครงสร้างของเซตของจุดที่เรียงกันอย่างมีระเบียบตามกฎเกณฑ์ที่กำหนดให้เป็นรูปทรงต่าง ๆ เช่น เส้นตรง วงกลม รูปสามเหลี่ยม ระนาบ รูปกรวย. |
วงเล็บ | ใช้กันนามเต็มหรือบรรดาศักดิ์ที่เขียนใต้ลายมือชื่อ เช่น ใช้กันตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้อหรือที่เป็นเลขหมายบอกเชิงอรรถ ส่วนตัวอักษรหรือตัวเลขที่เป็นหัวข้ออาจใช้เพียงเครื่องหมายวงเล็บปิดก็ได้ เช่น วันรุ่งแรมสามค่ำเป็นสำคัญ (๑) อภิวันท์ลาบาทพระชินวร ข้อ (ก) ข้อ ๑), ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์และสูตรทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นตัวเลขหรือสัญลักษณ์ไว้เป็นกลุ่ม เช่น a2 - b2 = (a + b)(a – b), Al2(SO4)3, นขลิขิต ก็ว่า. |
วงเล็บปีกกา | น. เครื่องหมายวรรคตอนรูปดังนี้ { } สำหรับใช้ควงคำหรือข้อความซึ่งอยู่คนละบรรทัดเข้าด้วยกันเพื่อให้รู้ว่าเป็นกลุ่มเดียวกันหรือเชื่อมโยงกัน อาจใช้เพียงข้างใดข้างหนึ่งก็ได้ เช่น ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์ เพื่อกั้นสมาชิกของเซตหรือกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บแบบอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น A = { 2, 4, 6, 8 }, 2x – 5{ 7 – (x – 6) + 3x } – 28 = 39. |
วงเล็บเหลี่ยม | น. คิ้ว, ใช้เป็นราชาศัพท์ว่า พระขนง, ใช้กันข้อความในการเขียนบรรณานุกรมและเชิงอรรถในกรณีที่ข้อความนั้นไม่ปรากฏในหนังสือ แต่ผู้ทำบรรณานุกรมเพิ่มเติมเข้าไปเอง โดยมีหลักฐานยืนยัน เช่น [ ตรี อมาตยกุล ] นำชมหอสมุดดำรงราชานุภาพ. พระนคร : กรมศิลปากร, ๒๔๙๔., ใช้ในวิชาคณิตศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขกลุ่มสัญลักษณ์ที่มีวงเล็บอื่นอยู่แล้วไว้เป็นกลุ่มเดียวกัน เช่น 11 + 2[ x + 4 – 3{ x + 5 – 4(x + 1) } ] = 23, ใช้ในทางวิทยาศาสตร์เพื่อกั้นกลุ่มตัวเลขหรือกลุ่มสัญลักษณ์เพื่อแสดงความหมายต่าง ๆ เช่น [ Ba2+ ][ F−2 ] = 1.05.10−6, Na2[ Fe(Cn)5(NO) ]·2H2O. |
วิทยาศาสตร์กายภาพ | น. วิทยาศาสตร์ที่ว่าด้วยเรื่องราวต่าง ๆ ของสิ่งไม่มีชีวิต เช่น เคมี ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์. |
วิธี | น. ทำนองหรือหนทางที่จะทำ เช่น วิธีทำฝอยทอง วิธีสอนคณิตศาสตร์ เลขข้อนี้ทำได้หลายวิธี |
วิศวกรรม | การนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้. |
วิศวกรรมศาสตร์ | (วิดสะวะกำมะสาด) น. วิชาที่เกี่ยวกับการนำความรู้ทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ธรรมชาติมาประยุกต์ใช้ มีหลายสาขา เช่น วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมเครื่องกล. |
สนใจ | ก. ตั้งใจจดจ่ออยู่กับสิ่งใดเรื่องใดเป็นพิเศษ เช่น เขาสนใจวิชาคณิตศาสตร์มาก, ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เห็นเป็นต้น เช่น เขาสนใจการเมืองมาตั้งแต่เด็ก. |
สัจพจน์ | (สัดจะ-) น. ข้อความที่ยอมรับในวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์. |
สัญลักษณ์ | (สันยะ-) น. สิ่งที่กำหนดนิยมกันขึ้นเพื่อให้ใช้หมายความแทนอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ตัวหนังสือเป็นสัญลักษณ์แทนเสียงพูด H เป็นสัญลักษณ์แทนธาตุไฮโดรเจน + − x ÷ เป็นสัญลักษณ์เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์. |
สูงสุด | ว. มากที่สุด เช่น ตัวเลขสูงสุด เขาได้คะแนนคณิตศาสตร์สูงสุดในชั้น. |
สูตร ๑ | (สูด) น. กฎสำหรับจดจำ เช่น สูตรคูณ สูตรคณิตศาสตร์ |
ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน
pure mathematics | คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
logicism mathematics | คณิตศาสตร์ตรรกนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
applied mathematics | คณิตศาสตร์ประยุกต์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
actuarial science | คณิตศาสตร์ประกันภัย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
actuary | นักคณิตศาสตร์ประกันภัย [ประกันภัย ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
actuary | นักคณิตศาสตร์ประกันภัย [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
biomathematics | ชีวคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์ [เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] |
mathematical demography | ประชากรศาสตร์เชิงคณิตศาสตร์ [ประชากรศาสตร์ ๔ ก.พ. ๒๕๔๕] |
mathematical induction | อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
mathematical model | ๑. แบบจำลองคณิตศาสตร์๒. ตัวแบบคณิตศาสตร์ [พลังงาน ๒๖ ม.ค. ๒๕๔๕] |
mathematical model | ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
mathematical programming | กำหนดการเชิงคณิตศาสตร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
mathematical programming | กำหนดการเชิงคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
mathematical term | ศัพท์คณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
mathematics | คณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
metamathematics | อภิคณิตศาสตร์ [ปรัชญา ๒ มี.ค. ๒๕๔๕] |
combinatorial mathematics; combinatorics | คณิตศาสตร์เชิงการจัด [ มีความหมายเหมือนกับ combinatorial analysis ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
combinatorics; combinatorial mathematics | คณิตศาสตร์เชิงการจัด [ มีความหมายเหมือนกับ combinatorial analysis ] [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
computational mathematics | คณิตศาสตร์การคณนา [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
computer mathematics | คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ [คอมพิวเตอร์ ๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] |
finite mathematics | อันตคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
formalistic mathematics | คณิตศาสตร์รูปนัยนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
foundation of mathematics | รากฐานคณิตศาสตร์ [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
intuitionistic mathematics | คณิตศาสตร์สหัชญาณนิยม [คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗] |
คลังศัพท์ไทย (สวทช.)
Mathematical model | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Fuzzy mathematics | คณิตศาสตร์แบบฟัสซี [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Induction (Mathematics) | วิธีอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mathematical model | ตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ [เศรษฐศาสตร์] |
APL (a programming language) | เอพีแอล ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงภาษาหนึ่งซึ่งคิดค้นขึ้นโดยนักคณิตศาสตร์ชื่อ เคนเนท ไอเวอร์สัน แห่งบริษัทไอบีเอ็ม ใช้สัญลักษณ์ต่างๆ หลากหลายมาใช้แทนคำสั่งในภาษานี้พร้อมกันนั้นก็เพิ่งคำสั่งแปลกๆ ที่ภาษาคอมพิวเตอร์อื่นๆ ไม่มีใช้ลงไปด้วย ทำให้ภาษานี้ซับซ้อนและไม่ได้รับความนิยมนัก ทั้งๆ ที่เป็นภาษาที่มีสมรรถนะสูงมาก [คอมพิวเตอร์] |
Programming mathematics | การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Error analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ความคลาดเคลื่อน (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mathematical optimization | การหาค่าเหมาะที่สุดเชิงคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์ [คอมพิวเตอร์] |
Mathematics | คณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Agricultural mathematics | คณิตศาสตร์การเกษตร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Business mathematics | คณิตศาสตร์ธุรกิจ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mathematical analysis | คณิตศาสตร์วิเคราะห์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Engineering mathematics | คณิตศาสตร์วิศวกรรม [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mathematical statistics | คณิตศาสตร์สถิติ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Variable (Mathematic) | ตัวแปร (คณิตศาสตร์) [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Mathematician | นักคณิตศาสตร์ [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] |
Scientific calculator | เครื่องคิดเลขวิทยาศาสตร์, เครื่องคิดเลขที่มีสูตรคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สถิติ สมการลีเนียร์หลายตัวแปรได้ เป็นต้น [Assistive Technology] |
Simulation | การจำลองแบบเสมือน, เป็นการจำลองสถานการณ์โดยใช้สูตรคณิตศาสตร์ สถิติและแคลคูลัส เพื่อให้การคำนวณในสิ่งที่ศึกษามีผลลัพท์ตรงกับหรือใกล้เคียงกับสภาพจริง [Assistive Technology] |
Business mathematics | คณิตศาสตร์ธุรกิจ [TU Subject Heading] |
Categories (Mathematics) | การจำแนกประเภท (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Conversation and phrase books for mathematicians | บทสนทนาและวลี (สำหรับนักคณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Convolutions (Mathematics) | คอนโวลูชัน (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Critical point theory (Mathematical analysis) | ทฤษฎีจุดวิกฤต (การวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Decomposition (Mathematics) | ดีคอมโพซิชั่น (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Engineering mathematics | คณิตศาสตร์วิศวกรรม [TU Subject Heading] |
Games in mathematics education | เกมส์ในการศึกษาคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Induction (Mathematics) | การอุปนัย (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
International Mathematical Olympaid | การแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ [TU Subject Heading] |
Interval analysis (Mathematics) | การวิเคราะห์ช่วง (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Manifolds (Mathematics) | แมนิโฟลดส์ (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Mathematical analysis | การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ [เศรษฐศาสตร์] |
Mathematical ability | ความสามารถทางคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematical analysis | การวิเคราะห์เชิงคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematical models | แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematical optimization | การหาค่าเหมาะสมที่สุดทางคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematical physics | คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ [TU Subject Heading] |
Mathematical recreations | คณิตศาสตร์นันทนาการ [TU Subject Heading] |
Mathematical statistics | คณิตศาสตร์สถิติ [TU Subject Heading] |
Mathematicians | นักคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematics | คณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Mathematics teachers | ครูคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Perturbation (Mathematics) | เพอร์เทอร์เบชั่น (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Programming (Mathematics) | การโปรแกรมเชิงคณิตศาสตร์ [TU Subject Heading] |
Sequences (Mathematics) | อันดับ (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Singularities (Mathematics) | ภาวะเอกฐาน (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Transformations (Mathematics) | การแปลง (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Variables (Mathematics) | ตัวแปร (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Wavelets (Mathematics) | เวฟเล็ท (คณิตศาสตร์) [TU Subject Heading] |
Ability, Numerical | ความสามารถทางคณิตศาสตร์ [การแพทย์] |
ตัวอย่างประโยคจาก Open Subtitles
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
Volubilis Dictionary (TH-EN-FR)
คณิตศาสตร์ | [khanittasāt] (n) EN: mathematics ; math FR: mathématiques [ fpl ] ; maths [ fpl ] (fam.) |
คณิตศาสตร์บริสุทธิ์ | [khanittasāt børisut] (n, exp) EN: pure mathematics ; pure math |
คณิตศาสตร์ฟิสิกส์ | [khanittasāt fisik] (n, exp) EN: mathematical physics FR: physique mathématique [ f ] |
คณิตศาสตร์การเงิน | [khanittasāt kānngoen] (n, exp) EN: mathematical finance ; mathematics of finance ; financial engineering ; financial mathematics |
นักคณิตศาสตร์ | [nak khanittasāt] (n) EN: mathematician FR: mathématicien [ m ] ; mathématicienne [ f ] |
นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ | [niphot thāng khanittasāt] (n, exp) EN: numeric expression |
วิชาคณิตศาสตร์ | [wichā khanittasāt] (n, exp) EN: mathematics FR: mathématiques [ fpl ] |
Longdo Approved EN-TH
cardinality | (n) จำนวนสมาชิกในเซ็ตทางคณิตศาสตร์ที่ให้มา |
data science | (n) วิทยาการข้อมูล, สหวิทยาการซึ่งประกอบด้วยวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ สถิติ และสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งใช้ในการวิเคราะห์และทำความเข้าใจข้อมูลเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป [ ศัพท์คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ] |
NECTEC Lexitron Dictionary EN-TH
arithmetic | (n) คณิตศาสตร์, Syn. mathematics |
divide | (vi) หาร (ทางคณิตศาสตร์), Syn. subdivide, separate, Ant. integrate, unite |
divide | (vt) หาร (ทางคณิตศาสตร์), Syn. subdivide, separate, Ant. integrate, unite |
econometrics | (n) การใช้เทคนิคทางคณิตศาสตร์และทางสถิติในการทดสอบทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ |
equation | (n) สมการ (คณิตศาสตร์) |
factor | (n) ตัวประกอบ (ทางคณิตศาสตร์) |
function | (n) ความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับจำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น มีสัญลักษณ์คือ f |
invariant | (n) ค่าคงที่ (ทางคณิตศาสตร์) |
least common multiple | (n) ตัวคูณร่วมน้อย (ทางคณิตศาสตร์), Syn. l.c.m. |
log | (n) คณิตศาสตร์ลอการิทึม, Syn. logarithm |
logarithm | (n) คณิตศาสตร์ลอการิทึม, Syn. log |
math | (n) คณิตศาสตร์ (คำเรียกย่อของวิชาคณิตศาสตร์), See also: เลข, Syn. mathematics |
mathematical | (adj) เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, See also: เกี่ยวกับการคำนวณ, Syn. arithmetical, numerical, scientific |
mathematically | (adv) ทางคณิตศาสตร์ |
mathematician | (n) นักคณิตศาสตร์ |
mathematics | (n) คณิตศาสตร์, See also: เลข, เลขคณิต, วิชาคำนวณ, Syn. math |
maths | (n) วิชาคณิตศาสตร์ |
matrix | (n) เมตริกซ์ (ทางคณิตศาสตร์), Syn. vector, tensor |
median | (n) ค่ากลาง (ทางคณิตศาสตร์), See also: ค่ามีเดียน, ค่าเฉลี่ย, Syn. average, center |
negative | (n) เครื่องหมายลบ (ทางคณิตศาสตร์) |
notation | (n) เครื่องหมายที่ใช้แทนระบบตัวเลขหรือเสียง, See also: สัญลักษณ์ที่ใช้แทนความหมายในทางดนตรี คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ |
radical | (n) ราก (คำศัพท์, ตัวเลขทางคณิตศาสตร์) |
radix | (n) ราก (ทางคณิตศาสตร์) |
reciprocal | (n) จำนวนเลขที่กลับกัน (ทางคณิตศาสตร์), Syn. complement |
rectify | (vt) หาความยาวของเส้นโค้ง (ทางคณิตศาสตร์) |
root | (n) รากในคณิตศาสตร์, See also: กรณฑ์ |
rule | (n) วิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์ |
series | (n) ลำดับในวิชาคณิตศาสตร์, See also: อนุกรมเลขหมาย |
subset | (n) ตัวเลขที่อยู่ภายใต้ตัวเลขอื่น (คณิตศาสตร์), See also: ตัวเลขย่อย, Syn. subclass |
sum | (n) การคำนวณทางคณิตศาสตร์, Syn. calculation |
theorem | (n) ข้อพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์, Syn. thesis, assumption, doctrine, hypothesis |
Hope Dictionary
abelian | (อะบี' เลียน, อะเบล' ยัน) adj. เกี่ยวกับ Niels Henrik Abel (นักคณิตศาสตร์มีชื่อ) เปลี่ยนกลุ่มได้, กลุ่มที่เปลี่ยนได้ |
algorism | (แอล' กะริสซึม) n. ระบบเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ของอาหรับ (โดยใช้ตัวเลข 1, 2, 3.......) วิธีการคำนวณด้วเลขอาหรับ, ลำดับขึ้นตอนที่แน่นอนซึ่งใช้ในการแก้ปัญหา, ขั้นตอนวิธี, ชุดของคำสั่งที่กำหนดไว้อย่างมีขั้นตอนเพื่อใช้แก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง -algorismic adj. |
algorithm | (แอล' กะริธธึม) n. ระบบกฏเกณฑ์ในการแก้ปัญหาของจำนวนที่แน่นอนทางคณิตศาสตร์เช่นในการหาค่าของตัวหารร่วมที่สุด., Syn. algorism, -algorithmic adj. ขั้นตอนวิธีอัลกอริทึมหมายถึง การวิเคราะห์แยกแยะวิธีการทำงานให้เป็นขั้นเป็นตอนโดยกำหนดให้เรียงกันไปตามลำดับ การเขียนโปรแกรมในยุคแรก ๆ นั้น ผู้เขียนโปรแกรมจะต้องมองเห็นขั้นตอนในการแก้ปัญหาอย่างแจ่มชัดเสียก่อน จึงจะเขียนโปรแกรมได้ |
alu | (เอแอลยู) ย่อมาจาก arithmetic and logical unit เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะดู central processing unit ประกอบ |
analog computer | (แอน' นะลอกคอมพิวเตอร์) n. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่คำนวณด้วยสิ่งที่แทนตัวเลขได้ และมีการแสดงผลลัพธ์โดยทางภาพที่ปรากฏบนจอภาพ หน้าปัด หรืออ่านค่าได้จากเครื่องวัด ค่าต่าง ๆ ที่นำมาใช้กับการคำนวณด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ เป็นค่าที่ต่อเนื่อง เช่น อุณหภูมิ ความดัน อย่างไรก็ตาม การใช้คอมพิวเตอร์ชนิดนี้ จำเป็นต้องใช้สูตรทางคณิตศาสตร์ช่วย เพื่อจะนำมาเปรียบเทียบแทนค่าได้ ตัวอย่างที่เห็นง่าย ๆ ได้แก่ สไลด์รูล (slide rule) เทอร์โมแสตท (thermostat) เครื่องวัดความเร็วรถยนต์ เป็นต้น ความละเอียดถูกต้องในการคำนวณด้วยอะนาล็อกคอมพิวเตอร์มีน้อยกว่าดิจิตอลคอมพิวเตอร์มากดู digital computer เปรียบเทียบ |
archimedes | (อาร์คิมี'ดี') n. ชื่อนักคณิตศาสตร์ นักประดิษฐ์และนักฟิสิกส์ของกรีก ผู้ค้นพบกฎแห่งความถ่วงและคาน. -Archimedean adj. |
arithmetic logic unit | หน่วยคำนวณและตรรกะ <คำแปล>ใช้ตัวย่อว่า ALU เป็นส่วนหนึ่งของหน่วยประมวลผลกลางของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ และเปรียบเทียบทางตรรกะ ดู central processing unit ประกอบ |
bezier curve | รูปโค้งเบซิเอร์หมายถึง รูปเส้นโค้งทางคณิตศาสตร์รูปหนึ่ง เป็นโค้งที่ไม่มีรูปลักษณ์ที่มีกฏเกณฑ์เป็นสูตรกำหนด การสร้างเส้นโค้งในโปรแกรมบางโปรแกรม จะต้องเริ่มด้วยการลากเส้นตรงขึ้นมาเส้นหนึ่งก่อน แล้วสร้างจุดสองจุดบนเส้นตรงนั้น ใช้เมาส์ดึงแต่ละจุดขึ้นไป ในทิศทางที่ต่างกัน ก็จะได้โค้งแบบเบซีเอร์ ขึ้นมา |
computer language | ภาษาคอมพิวเตอร์หมายถึงภาษาที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือใช้เพื่อสื่อสารให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ และสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้ โดยปกติเราแบ่งภาษาที่ใช้กับคอมพิวเตอร์ออกเป็น 2 ชนิด คือ1. ภาษาเครื่อง (machine language) คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้เครื่องจะรับรู้และปฏิบัติตามได้ทันที ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์แต่ละแบบก็จะคิดแบบของภาษาที่ใช้กับเครื่องนั้น ๆ ขึ้นเป็นภาษาเฉพาะของเครื่องลักษณะของภาษาประเภทนี้จะเป็นตัวเลขฐานต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับการออกแบบ ฉะนั้นจึงเป็นการยากสำหรับผู้เขียนโปรแกรม ซึ่งต้องเรียนรู้รายละเอียดของเครื่องนั้น ๆ ก่อน จึงจะใช้ภาษาได้2. ภาษาแนวมนุษย์ (human oriented language) หมายถึงภาษาที่มนุษย์เข้าใจ (แต่เครื่องไม่เข้าใจ) เนื่องจากภาษาเครื่องยุ่งยากและสับสน จึงมีการคิดภาษาหนังสือซึ่งมนุษย์เราเคยชินกันอยู่แล้วขึ้น แล้วใช้ตัวแปล (translator) แปลเป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง เครื่องจึงจะดำเนินการได้ ภาษาแนวมนุษย์นี้แบ่งออก ได้เป็น 2 ระดับ คือ2.1 ภาษาระดับต่ำ (low - level language) เช่น ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) 2.2 ภาษาระดับสูง (high - level language) เช่นภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN) โคบอล (COBOL) ลักษณะของภาษาระดับสูงนี้ ได้มีการประดิษฐ์ขึ้นให้เหมาะสมกับงานเฉพาะอย่าง เช่น ภาษาฟอร์แทรน เหมาะกับงานทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และงานวิจัย ภาษาโคบอลและอาร์พีจี (RPG) เหมาะกับงานด้านธุรกิจ เป็นต้น นอกจากนี้ ก็ยังมีภาษาอื่นที่เป็นที่นิยมอีกมาก ภาษาเหล่านี้จะใช้ได้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนมาก เพราะในคอมพิวเตอร์ จะมีตัวแปล (translator) ซึ่งมีหน้าที่คอยแปลภาษาแนวมนุษย์ให้เป็นภาษาเครื่องอีกทีหนึ่ง การใช้ภาษาแนวมนุษย์นี้มีข้อดีคือ ใช้ง่ายกว่า มีความผิดพลาดน้อย แก้ไขตอนหนึ่งตอนใดได้ง่ายกว่า และเขียนได้สั้นกว่า เพราะบางทีคำสั่งเพียงคำสั่งเดียวก็มีผลเท่ากับหลาย ๆ คำสั่งของภาษาเครื่อง แต่ภาษาเครื่องก็มีส่วนดี ตรงที่ใช้เวลาของเครื่องน้อยกว่า เพราะไม่ต้องเสียเวลาในการแปล |
differential | (ดิฟฟะเรน'เชิน) adj., n. เกี่ยวกับความแตกต่างกัน, เกี่ยวกับหรือประกอบด้วยอนุพันธ์ (derivative-วิชาคณิตศาสตร์) |
differential calculus | n. สาขาคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับความแตกต่างและอนุพันธ์ |
discriminant | (ดิสครีม'มะเนินทฺ) n. เครื่องแสดงทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวกับ roots |
domain | (โดเมน') n. อาณาเขตการปกครอง, อาณาจักร, ที่ดินขอบเขต, กลุ่มของคำ (ในทางคณิตศาสตร์) ของตัวแปรอิสระของ function, See also: domainal, domainial adj., Syn. discipline |
extended ascii | รหัสแอสกีแบบขยายเดิมรหัสแอสกีจะมีสัญลักษณ์ 128 ตัวอักขระ แต่ต่อมาได้เพิ่มเป็น 255 ตัวอักขระ ชุดตัวอักขระ 255 ตัวนี้ที่เรียกว่ารหัสแอสกีขยาย ซึ่งจะเพิ่มรหัสสำหรับภาษาต่างประเทศ สัญลักษณ์คณิตศาสตร์ และภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ วิธีใช้ ก็เพียงแต่กดแป้น ALT พร้อมกับเลขตั้งแต่ 51-255 กำหนดแบบอักษร (font) ที่เป็นภาพ เช่น Wingdings ก็จะได้สัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น ถ้ากดแป้น ALT กับรหัส 255 จะได้สัญลักษณ์เป็นภาพสัญลักษณ์วินโดว์ |
fibonacci numbers | เลขไฟโบนาชชี่หมายถึง แบบแผนทางคณิตศาสตร์แบบหนึ่งที่กำหนดให้ จำนวนเลขลำดับที่สาม เป็นผลบวกของเลขสองตัวที่อยู่ลำดับ ก่อนหน้า เช่น 4, 8, 12, 20, 32..... (12 เป็นผลบวกของ 4 กับ 8 และ 20 เป็นผลบวกของ 8 กับ 12 เป็นดังนี้ไปเรื่อย ๆ) ใช้ได้ดีในการเขียนโปรแกรมบางโปรแกรม เพราะทำให้สามารถเข้าสู่จุดตำแหน่งที่ต้องการได้รวดเร็วขึ้น (บางทีเรียก fibonacci series หรืออนุกรมไฟโบนาชชี) |
fortran | (ฟอร์แทรน) เป็นชื่อภาษาระดับสูง (high level language) ที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง สร้างขึ้นเป็นภาษาแรก ๆ เพื่อให้นัก คณิตศาสตร์ใช้ได้สะดวก และรวดเร็ว ย่อมาจากคำว่า FORmular TRANslator ซึ่งก็แปลได้ว่า ตัวแปลสูตรคณิตศาสตร์ นั่นเอง โปรแกรมภาษาฟอร์แทรนนั้น สามารถนำไปใช้กับ เครื่อง คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ได้หลายยี่ห้อ โดยแทบจะไม่ต้อง ปรับ แก้เลย ก่อนหน้าที่จะมีการใช้ภาษานี้ นักเขียนโปรแกรม รู้จัก แต่ภาษาแอสเซมบลี (Assembly) |
function | (ฟังคฺ'เชิน) หน้าที่, การปฏิบัติงาน, ภาระกิจ, งาน, พิธี, บทบาท, ประสิทธิภาพ, การชุมนุมใหญ่, (คณิตศาสตร์) จำนวนที่ขึ้นอยู่กับจำนวนอื่น, ฟังค์ชัน. vi. ปฏิบัติหน้าที่, กระทำ, ใช้ตำแหน่งหน้าที่, Syn. perform, work, do |
generatrix | (เจนนะเร'ทริคซฺ) n. ตัวสร้างรูป (คณิตศาสตร์) -pl. generatrices |
handheld | ขนาดมือถือเป็นคำบอกขนาดของไมโครคอมพิวเตอร์ที่เล็กกว่าขนาดวางตัก (laptop) และขนาดโน้ตบุ๊ก (notebook) มีลักษณะคล้ายเครื่องคิดเลขที่มีหน่วยความจำ มีสูตรคณิตศาสตร์ต่าง ๆ เก็บไว้ |
law | (ลอ) { lawed, lawing, laws } n. กฎหมาย, กฎ, กฎข้อบังคับ, คำสั่ง, วิชากฎหมาย, ความรู้ทางกฎหมาย, อาชีพกฎหมาย, หลักความประพฤติ, กฎทางคณิตศาสตร์ -Phr (the Law บัญญัติสิบประการของโมเซส, คำสั่งสอนในพระคัมภีร์ไบเบิล) . vi., vt. ดำเนินคดี, ฟ้องร้อง |
locus | (โล'คัส) n. สถานที่, ตำแหน่ง, ตำแหน่งของ genes ในโครโมโซม, (คณิตศาสตร์) ชุดของจุดทั้งหมดเส้นทั้งหมดหรือผิวหน้าทั้งหมด ที่มีลักษณะตามที่ต้องการ pl. -loci, Syn. site, place |
logistic | (โลจิส'ทิค) adj. เกี่ยวกับตรรกวิทยา n. ตรรกสัญลักษณ์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์, วิชาคำนวณ, พลาธิการ, การส่งกำลังบำรุงทางทหาร |
math | (แมธ) n. คณิตศาสตร์, abbr. mathematics |
math coprocessor | ตัวประมวลผลร่วมคณิตศาสตร์หมายถึง แผ่นวงจรพิเศษหรืออาจเป็นชิปที่สร้างไว้เพื่อให้ทำหน้าที่เฉพาะในการคำนวณ เพื่อช่วยเสริมหน่วยประมวลผลอีกชั้นหนึ่ง ซอฟต์แวร์บางตัวจะมีคำสั่งเรียกเอาตัวประมวลคณิตนี้มาใช้โดยอัตโนมัติ ฉะนั้น ถ้านำโปรแกรมนั้นมาใช้กับคอมพิวเตอร์ที่ไม่มีตัวประมวลชนิดนี้ ก็อาจจะมีปัญหาได้ |
mathematic | (al) (แมธธะแมท'ทิเคิล) adj. เกี่ยวกับคณิตศาสตร์, แน่นอน, แม่นยำ., See also: mathematic al ly adv. |
mathematician | n. นักคณิตศาสตร์ |
mathematics | (แมธธะแมท'ทิคซฺ) n. คณิตศาสตร์ |
omar khayyam | (โอ'มาร์ ไคยาม', แยม, โอ'มาร์) n. นักกวีและนักคณิตศาสตร์ชาวเปอร์เซียสมัยโบราณ |
operation | (ออพพะเร'เชิน) n. การกระทำ, การทำงาน, ปฏิบัติการ, ศัลยกรรม, การเดินเครื่อง, การสู้รบ, วิธีการทางคณิตศาสตร์ (เช่นการบวก, การลบหรืออื่น ๆ) , กิจการ, ปฏิบัติการทางทหาร, ยุทธการ, Syn. working, act, maneuver |
operation research | n. การวิจัยปฏิบัติการโดยใช้วิธีการทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาเป้าหมายและให้ได้ประสิทธิภาพที่มากที่สุด |
operational | (ออพพะเร'เชินเนิล) adj. ทำได้, ใช้ได้, เกี่ยวกับปฏิบัติการทางทหาร, เกี่ยวกับศัลยกรรม, เกี่ยวกับการคำนวณหรือคณิตศาสตร์., Syn. working |
operator | (ออพ'พะเรเทอะ) n. ผู้คุมเครื่อง, ช่างคนงาน, ผู้ปฏิบัติการ, พนักงานต่อโทรศัพท์, พนักงานขับรถ, พ่อค้าซื้อขายที่ดินหรืออสังหาริมทรัพย์, ผู้ดำเนินกิจการทางอุตสาหกรรม, ผู้กระทำศัลยกรรม, สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์, เครื่องหมายคำนวณ, ตัวคิดคำนวณ -S... |
ordinate | (ออร์'ดะเนท) n. (คณิตศาสตร์) ระยะจากแกน"x"ที่วัดขนานกับแกน"y" |
pararell computer | คอมพิวเตอร์งานขนานหมายถึง คอมพิวเตอร์ที่ทำงานทางตรรกะ หรือทางคณิตศาสตร์หลาย ๆ อย่างในเวลาเดียวกัน ทั้งนี้เนื่องจาก คอมพิวเตอร์นั้นมีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) หลายตัว แต่ละตัวทำงานแต่ละอย่าง และสามารถทำไปพร้อม ๆ กันได้ โดยมีระบบปฏิบัติการ (operating system) ทำหน้าที่ดูแลให้ทำงานประสานกันดู serial computer เปรียบเทียบ |
partial derivative | n. (คณิตศาสตร์) derivativeของฟังก์ชันที่เกี่ยวกับตัวแปรตัวใดตัวหนึ่ง (ตัวแปรอื่นทั้งหมดคงที่) |
partial differential | n. (คณิตศาสตร์) นิพจน์ที่ได้จากตัวแปร (variables) หลายตัวโดยทำให้เกิดpartial derivative (ดู) |
ppm | (พีพีเอ็ม) ย่อมาจาก pages per minute เป็นหน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์ (ส่วนใหญ่ น่าจะเป็นเครื่องพิมพ์เลเซอร์) หมายถึง จำนวนหน้าที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ได้ใน 1 นาที อย่างไรก็ตาม การที่เครื่องพิมพ์จะพิมพ์ช้าหรือเร็วนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ ด้วย เป็นต้นว่า การพิมพ์ที่ใช้ตัวอักษรธรรมดา หรือตัวอักษรพิเศษ เป็นการพิมพ์ภาพสีเดียว หรือภาพหลายสี ฯ เครื่องพิมพ์บางชนิด วัดความเร็วในการพิมพ์เป็นบรรทัดต่อนาที (lines per minute) ก็มีดู lpm เปรียบเทียบprecedence : การทำก่อนในทางคณิตศาสตร์ หมายถึง การดำเนินการที่ทำก่อนอย่างอื่น เช่น ในนิพจน์ใดที่เครื่องหมาย + - * (คูณ) / (หาร) และวงเล็บ () ก็ต้องทำในวงเล็บก่อน แล้วมาทำ * และ / หลังจากนั้นจึงจะทำ + และ - เช่นนี้ เรียกว่า วงเล็บเป็นลำดับก่อน |
problem | (พรอบ'เลิม) n. ปัญหา, ข้อปัญหา, โจทย์เรขาคณิต, โจทย์คณิตศาสตร์, หมากกล, เรื่องที่ต้องแก้ไขหรือต้องพิจารณากัน. adj. สอนยาก, เป็นปัญหา, Syn. question, riddle |
progression | (โพรเกรส'เชิน) n. การก้าวหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, การเดินไป, จำนวนชั้นหรือชั้น, ลำดับในวิชาคณิตศาสตร์, ขบวน, ทิวเทือก, ลำดับของเสียงดนตรีที่ตามกันมา., See also: progressional adj. |
radical | (แรด'ดิเคิล) adj. มูลฐาน, รากฐาน, สมุฎฐาน, หัวรุนแรง, สุดขีด, รุนแรง, (คณิตศาสตร์) เกี่ยวกับหรือกลายเป็นroot, เกี่ยวกับรากศัพท์, See also: radically adj. n. ผู้มีหัวรุนแรง, ฝ่ายซ้าย, กลุ่มธาตุ, เครื่องหมายหรือจำนวนกรณฑ์, รากศัพท์, หมวดน้ำ |
radical sign | (คณิตศาสตร์) เครื่องหมายหรือเครื่องหมายกรณฑ์ |
rationalise | (แรช'ชะเนิลไลช) vt., vi. จัดให้เข้าหลักแห่งเหตุผล, ขจัดradical (ดู) ออกจากสมการหรือค่าของคณิตศาสตร์, See also: rationalisation n. rationaliszation n. rationaliser n. rationalizer n. |
rationalize | (แรช'ชะเนิลไลช) vt., vi. จัดให้เข้าหลักแห่งเหตุผล, ขจัดradical (ดู) ออกจากสมการหรือค่าของคณิตศาสตร์, See also: rationalisation n. rationaliszation n. rationaliser n. rationalizer n. |
resultant | (รีซัล'เทินทฺ) adj. ซึ่งเป็นผล, ซึ่งบังเกิดผล, เป็นผลมาจาก, รวมกัน, เป็นผลลัพธ์ n. (คณิตศาสตร์, ฟิสิกส์) vector (ดู) ที่แสดงผลลัพธ์, ผลลัพธ์ |
root | (รูท) n. ราก, หน่อ, หัวใต้ดิน, ฐาน, รากฐาน, แหล่งที่มา, แก่นแท้, รากของต้นตอ, (คณิตศาสตร์) กรณฑ์, ลูกหลาน, รากศัพท์, รากของคำ vi. มีกำเนิดจาก, มีบ่อเกิดจาก -Phr. (take root งอกราก เจริญเติบโต ยึดแน่น), Syn. rootlet, shoot, taproot |
rule | (รูล) n. กฎ, หลัก, ข้อบังคับ, ระเบียบ, กติกา, วินัย, วินัยศาสนา, การปกครอง, การควบคุม, การครอบครอง, การชี้ขาด, วิธีการทางคณิตศาสตร์, ไม้บรรทัด, ไม้วัด -Phr. (as a rule โดยทั่วไป, ตามปกติ) vt., vi. ควบคุม, ปกครอง, ครอบงำ, ชี้ขาด, มีอิทธิพล, ตีเส้น, ขีดเส้น -Phr. (rule out ไม่ยอมรับ) |
scratchpad memory | หน่วยความจำใช้งานชั่วคราวหมายถึง เรจิสเตอร์เอนกประสงค์ชุดหนึ่งหรือตำแหน่งซึ่งใช้เป็นที่เก็บคำสั่ง (instruction) หรือผลลัพธ์ที่เกิดในขณะนั้นจากการคำนวณเชิงคณิตศาสตร์หรือตรรกะ ข้อมูลในหน่วยความจำชุดนี้จะเข้าถึง (access) ได้เร็วกว่าในหน่วยความจำหลักมากมีความหมายเหมือน cache memoryดู register ประกอบ |
sector | (เซค'เทอะ) n. รูปตัด, รูปตัดที่อยู่ระหว่างเส้นรัศมี2เส้นกับส่วนของเส้นรอบวง, อุปกรณ์คณิตศาสตร์ที่ประกอบด้วยไม้บรรทัด2อันที่ติดกันที่ปลายหนึ่งและมีขีดแบ่งมาตราส่วน vt. แบ่งออกเป็นส่วน ๆ เซ็กเตอร์วิธีการจัดรูปแบบการบันทึกข้อมูลลงบนจานบันทึกนั้น จะต้องมีการกำหนดให้เป็นวง เรียกว่า แทร็ก (track) ซึ่งจะมีลักษณะเหมือนกับลู่วิ่งวนเป็นวงกลม แล้วแบ่งแต่ละแทร็กนี้ออกเป็นส่วน ๆ เรียกว่า "ส่วนวง" หรือที่ยังนิยมเรียกทับศัพท์กันว่า "เซ็กเตอร์" ก็มีมาก แต่ละส่วนวงนี้จะเก็บข้อมูลได้ 1 ระเบียน (record) ไม่ว่าส่วนวงจะกว้างหรือแคบ (ด้านในที่ติดกับจุดศูนย์กลางจะแคบกว่าด้านนอก), See also: sectoral adj., Syn. class, ca |
semantic | (ซีแมน'ทิค) adj. เกี่ยวกับหรือเนื่องจากความหมายแตกต่างของคำหรือสัญลักษณ์อื่น, เกี่ยวกับsemantics (ดู) -semantically adv. ความหมายหมายถึง สัมพันธภาพระหว่างคำกับสัญลักษณ์ในภาษาที่ใช้การเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่ง รวมทั้งความหมายที่กำหนดให้สำหรับคำและสัญลักษณ์นั้น ๆ ด้วย อย่างไรก็ตาม คำสั่งต่าง ๆ ในการเขียนโปรแกรมหรือชุดคำสั่งมักใช้อธิบายด้วยภาษาคณิตศาสตร์ เพราะมีความชัดเจนแน่นอน |
square root | n. (คณิตศาสตร์) จำนวนรากแห่งกำลังสองของอีกจำนวนหนึ่ง/เช่นรากแห่งกำลังสองของ49คือ7กรณฑ์ |
Nontri Dictionary
arithmetic | (n) คณิตศาสตร์ |
arithmetical | (adj) เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ |
arithmetician | (n) นักคณิตศาสตร์ |
geodesy | (n) คณิตศาสตร์ประยุกต์ว่าด้วยสัณฐานและมิติของโลก |
mathematical | (adj) เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ |
mathematician | (n) นักคณิตศาสตร์ |
mathematics | (n) คณิตศาสตร์ |
Longdo Unapproved EN-TH
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
**ระวัง คำแปลอาจมีข้อผิดพลาด**
actuary | (n) นักคณิตศาสตร์ประกันภัย |
French curve | 1. แผ่นแบบเจาะลายโค้งหลายขนาดใช้เขียนเส้นโค้ง (คำศัพท์วิศวกรรม) 2. ไม้โค้งเขียนแบบ [ คณิตศาสตร์๑๙ ก.ค. ๒๕๔๗ ] |
minus | ลบ (ทางคณิตศาสตร์) |
morphological | (adj) (adj.) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematical) morphological Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphology |
Longdo Approved JP-TH
数学 | [すうがく, suugaku] คณิตศาสตร์ |
Saikam JP-TH-EN Dictionary
形式 | [けいしき, keishiki] TH: สูตรสมการคณิตศาสตร์ EN: math expression |
Longdo Approved DE-TH
Achse | (n) |die, pl. Achsen| แกน (ทางคณิตศาสตร์) เช่น die X-Achse แกนเอ็กซ์ |
Wurzel | (n) |die, pl. Wurzeln| รากเชิงคณิตศาสตร์ เช่น Die zweite Wurzel aus sechzehn ist vier. รากที่สองของสิบหกคือสี่ |
Formel | (n) |die, pl. Formeln| สูตรทางคณิตศาสตร์ |
morphologisch | (adj) เิชิงสัณฐานวิทยา เช่น (Mathematische) morphologische Operation การปฎิบัติการเิชิงสัณฐานวิทยา(ทางคณิตศาสตร์), See also: morphologie |
ทราบความหมายของคำศัพท์นี้? กด [เพิ่มคำศัพท์] เพื่อใส่คำนี้พร้อมความหมาย เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ใช้ท่านอื่น ๆ
Time: 0.0559 seconds, cache age: 7.753 (clear)
ว่าด้วยโฆษณา
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป ดูรายละเอียดเพิ่มเติม